ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทธวัช โมฬี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงไก่เนื้อโคราช
2 ผศ.ดร.สมร พรชื่นชูวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศ
3 นายณรงค์ฤทธิ์ คงวีระวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
4 นางสาวนริศรา จริยารักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
5 อาจารย์ ดร.ฉัตรชัย พิศพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การตลาด
6 ผศ.ศิริรัตน์ เช็งเส็ง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ด้านการบัญชี การเงิน การบริหารธุรกิจ
7 อาจารย์ อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตนนทบุรี การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้วยเครื่องส่งสัญญาณ beacon
8 นางสาวนัฎฐา คเชนทร์ภักดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง กระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสกัด การทดสอบการดูดซึมอาหารด้วยการจำลองระบบย่อยและทดสดอบด้าน cell line การยืดอายุการเก็บรักษาด้วยการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
9 ดร.ยามีละ ดอแม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย การบริการวิชาการ
10 ดร.บุณณดา ภมรปฐมกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ระบบนำส่งสมุนไพร/ยา
11 ดร.สิริภัทร ชมัฒพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การแปรรูปสมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการออกแบบผลิตภัณฑ์
12 นางสาวกัญญ์ธศยา อัครศิริฐรัตนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้ประโยชน์จากพืช สมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์
13 ดร.ไฉน น้อยแสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์
14 นางธิติมา พานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: เคมีอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ชีวเคมีอาหารทะเล
15 นางขนิษฐา พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การควบคุมและการประกันคุณภาพ
16 อาจารย์ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม 1. โภชนศาสตร์สัตว์ (Animal Nutrition) 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management) 3. การพัฒนาพื้นที่ด้านการเกษตรในจังหวัดนครพนมและกลุ่มจังหวัด
17 นายปรีชา ศิริสม มหาวิทยาลัยนครพนม 1. พืชอาหารสัตว์และการจัดการทุ่งหญ้า 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management)
18 ดร. กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม อาหารและการให้อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน การใช้ประโยชน์ของผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์ และการใช้เทคนิคทางชีวโมเลกุลในการศึกษาจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมน
19 อาจารย์สมชาย วงศ์สุริยศักดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
20 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
21 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทัศน์ กำมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี - การใช้แอพพลิเคชันสำหรับการจัดการเรียนการสอน - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการทำงานสำนักงาน - การใช้เทคโนโลยีสำหรับบริหารจัดการธุรกิจ - การพัฒนาเว็บไซต์และแอพพลิเคชัน - การให้คำปรึกษาเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหา - การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการส่งเสริมงาน - การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการแก้ปัญหา
22 นางณิฐิมา เฉลิมแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อเศรษฐกิจ โดยเน้นวัสดุในท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาประยุกต์คำนวณสูตรอาหารสัตว์
23 นางสาวบุตรศรินทร์ แสงสว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
24 ธฤตาภา ปานบ้านเกร็ด มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี โปรแกรมสำเร็จรูป e-accounting การจัดการด้านบัญชี
25 อาจารย์บุษบา มะโนแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การพัฒนากลุ่มวิสาหกิจผู้ประกอบการแปรรูปอาหารท้องถิ่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืช การแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง
26 นางสาวทิศากร ดำรงพุฒิเดชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและความงาม
27 นางสาวเขมจิรา จามกม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร วิชาชีพแพทย์แผนไทย/วิทยาการด้านเภสัชภัณฑ์
28 นางสาวสุรัติวดี ทั่งมั่งมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และสมุนไพร
29 ดร.ณัฐนรี ศิริวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Cancer immunotherapy, Gene therapy, Chemical engineering ภูมิคุ้มกันโรคมะเร็ง, ยีนบำบัด, วิศวกรรมเคมี
30 ผศ.ดร.ณัฎฐ์ดนัย ไค่นุ่นภา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -เกมแอนิเมชันเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว -การท่องเที่ยวเชิงเกษตร -การท่องเที่ยวเชิงนวัตกรรม -การใช้แอปพลิเคชั่น
31 นิรุตต์ จรเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การสื่อสารการตลาดออนไลน์ผลิตภัณฑ์ชุมชน พฤติกรรมผู้บริโภคสินค้าในตลาดออนไลน์ การพัฒนาบทเรียนท้องถิ่นออนไลน์ การพัฒนาเว็บไซต์บริการข้อมูล
32 ผศ.ดร. ขวัญนรี กล้าปราบโจร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการสารสนเทศทางการบัญชี การเพิ่มศักยภาพทางบัญชี การบริหารต้นทุนการผลิต โมบายแอปพลิเคชันสำหรับการบริหารต้นทุนการผลิตเกษตรกรสมัยใหม่
33 ดร.ณรงค์เดช รัตนานนท์เสถียร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี โมบายแอปพลิเคชัน เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการระบบ
34 ฐิติพร พระโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี 1. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2. ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ด้านระบบสารสนเทศทางการบัญชีด้านอาหารของไทย 3. แอปพลิเคชันน้ำนมดิบ 4. การบริหารต้นทุนเกษตรสมัยใหม่ 4. สมุดบัญชีครัวเรือน
35 ดร.นัสทยา​ ชุ่มบุญชู มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การเขียนแผนธุรกิจ​ การจัดการเชิงกลยุทธ์​ พฤติกรรมผู้บริโภค
36 พัชรินทร์​ บุญสมธป มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -แอปพลิเคชั่นและหนังสือนำเที่ยวAR -ออกแบบหนังสือนำเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมใช้งานร่วมกับแอปพลิเคชั่น ใช้สำหรับแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวแบบดิจิทัล
37 นางสาวชนันท์ธิพัฒน์ พรหมสนธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -การเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบเหลือใช้ -โลจิสติกส์ -การพัฒนาดิน น้ำ ผลผลิตทางเกษตร -การจัดการดิน
38 ชนกฤต มิตรสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนางานเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงเกษตร โปรแกรมสำเร็จรูป
39 นางสาววราภรณ์ แพงป้อง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบสร้างคอลเลคชั่นเครื่องประดับ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับงานอุตสาหกรรม , การออกแบบเครื่องประดับ , การออกแบบบรรจุภัณฑ์
40 อ.แพรว พิมพ์โพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบตราสินค้า
41 นางชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาอาหารในรูปแบบใหม่ บรรจุภัณฑ์ที่สะดวกต่อการขนส่ง การใช้สื่อเพื่อการตลาด
42 ดร.บรรจบพร อินดี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการแผนกลยุทธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
43 ดร.อัจฉราพร ยกขุน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การบริหารโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการตลาดออนไลน์ด้วยสื่อสังคมออนไลน์
44 ดร.สัมฤทธิ์ มากสง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การเลี้ยงผึ้งและผลิตภัณฑ์จากผึ้ง
45 นางสาวอิงณภัสร์ วงษ์สิทธิชัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง
46 นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
47 นายอับดุลเลาะ บากา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) การออกแบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การตลาดออนไลน์ (Digital online) การทำเกษตรสมัยใหม่ (Smart.Farm)
48 ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เนื้อสัตว์ และการทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตอาหารต่างๆ. 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารทั่วไปและอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
49 นายอับบ๊าส พาลีเขตต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา -การจัดการข้ามวัฒนธรรม - การตลาดระหว่างประเทศ - การเป็นผู้ประกอบการ - การตลาดออนไลน์ - การออกแบบโมเดลธุรกิจ - การพัฒนานวัตกรรม
50 นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเลี้ยงปลาน้ำจืด
51 นายชลิต ตรีนิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การป้องกันกำจัดโรคแมลงในโรงเรือนเพาะเห็ด
52 นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การผลิตอาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำ
53 นายศิลชัย หล่อเลิศธรรม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน
54 นายประหยัด บุญโต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การผลิตปุ๋ยมูลสัตว์อัดแท่ง
55 ดร.รณกร สร้อยนาค มหาวิทยาลัยพะเยา ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน บริการปรึกษาแนะนำการจัดทำระบบ GMP การวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูปอาหารทุกประเภท
56 ผศ.ดร.ชมจันทร์ ดาวเดือน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบ และการพัฒนา ตราสินค้า และออกแบบบรรจุภัณฑ์ต่างๆ ทั้งด้านความสวยงามโดดเด่นและ ด้านประโยชน์การใช้งานที่หลากหลาย
57 ดร.สุกฤษตา พุ่มแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นักบัญชี วิจัยทางการบัญชีและบริหาร การประเมินโครงการ
58 นางสาวย่าร่อนะ ศรีอาหมัด มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาแบรนด์สินค้า/ ออกแบบบรรจุภัณฑ์/พัฒนานาร้างเพื่อการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
59 อาจารย์กัณญพัตส บุญล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การให้ความรู้ด้านการทำไม้กวาดทางมะพร้าว
60 อาจารย์กัณญพัตส บุญล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ให้ความรู้การทำดอกไม้จากผ้าใยบัว
61 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ให้ความรู้ในด้านการแปรรูปข้าว
62 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ให้ความรู้ในด้านการวิเคราะห์อาหาร/ทดสอบคุณภาพของอาหาร
63 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปแป้งข้าว
64 นายวีรวัตร นามานุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การป้องกันกำจัดโรคพืช พัฒนาชีวภัณฑ์ควบคุมโรคพืช เกษตรอินทรีย์ เกษตรอัจฉริยะ การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ
65 นางสาวเดือนเพ็ญ วงค์สอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา duanpen.wo@gmail.com
66 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธ์วดี พยัฆประโคน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ของใช้ (ผลิตภัณฑ์สินค้าแฟชั่น ได้แก่ หมวก กระเป๋า เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า , 2 ของที่ระลึก โดยพัฒนาต่อยอดจากอัตลักษณ์ชุมชน และ 3 ของประดับบ้าน (ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ไทย เช่น ตู้ โต๊ะ ตั่ง และของประดับบ้าน เช่น ชุดเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร หมอนอิง เสื่อกก) เป็นต้น
67 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การตลาด การตลาดชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างบรรจุภัณฑ์ และการแบรนด์
68 ผศ.ดร. น้ำทิพย์ วงษ์ประทีป มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การผลิตตามหลักเกณฑ์การผลิตอาหารที่ดีโรงงานเครื่องดื่มและอุตสาหกรรมอาหาร การแปรรูปข้าว การแปรรูปผักและผลไม้ เครื่องดื่มสมุนไพร
69 อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว
70 อาจารย์อารยา บุญศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตรเน้นผลิตภัณฑ์จากพืชผักผลไม้ การเกษตร ด้านสารชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
71 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรารถนา ศิริสานต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ออกแบบและดีไซน์สื่อประชาสัมพันธ์, ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, ออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น, graphic, ออกแบบบรรจุภัณฑ์, Design
72 อาจารย์ธนพล กิจพจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรการ แปรรูปจากผลิตผลทางเกษตรทั้งที่เป็นอาหารและไม่ใช่อาหาร การวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร การประมวลผลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ ประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
73 อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
74 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี แหยมคง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ เช่น ไข่ ไก่ ปลา หมู เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ
75 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงพรรณ สังข์ทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร
76 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลิกา โพธิ์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การโรงแรม/การท่องเที่ยว, ธุรกิจการบริการ , งานวิจัยท้องถิ่น, วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
77 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทัยวรรณ ฉัตรธง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร, Cereal technology
78 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรดรัล จุลกัลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร Agricultural product development
79 รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุการ ดาจันทา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เคมีเครื่องสำอาง Food Science Food Safety Bioactive compounds
80 อาจารย์กนกวรรณ พรมจีน มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
81 อาจารย์เปรมนภา สีโสภา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม natural product, delivery system, cosmetic science
82 อาจารย์ ดร.หทัยทิพย์ ร้องคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร
83 อาจารย์พัชราภรณ์ อินริราย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Heat transfer, Solar Energy, Renewable Energy, Properties of Agricultural and food product, Drying technology, Waste agriculture to valuable product
84 นางสาวกมลทิพย์ กรรไพเราะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปอาหาร เคมีอาหาร บรรจุภัณฑ์และอายุการเก็บรักษา
85 ผศ.ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
86 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล แปรรูปข้าว
87 นางสาวภัทรวดี เอียดเต็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัมนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตประมง
88 ผศ.รอมลี เจะดอเลาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล
89 นางสาวนุชเนตร ตาเยีะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ยกระดับสถานประกอบการ ิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มาตรฐานฮาลาล แปรรูปข้าว
90 นางสาวจิระวัลย์ โคตรศักดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การประกอบสูตรอาหารสัตว์
91 รศ.ดร.เสมอใจ บุรีนอก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การจัดการด้านพืชอาหารสัตว์เขตร้อน
92 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น้ำผึ้ง พูนวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์, ออกแบบบรรจุภัณฑ์
93 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อมลณัฐ ฉัตรตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การปลูกพืชอินทรีย์ สมุนไพร การอารักขาพืชด้วยสารชีวภัณฑ์ มาตรฐานการเกษตร GAP, PGS พืชอินทรีย์, ปุ๋ยชีวภาพ
94 นายศรันย์ คัมภีร์ภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ระบบสื่อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย ด้านออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและ Data Warehouse ด้านปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ด้าน IOT
95 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขุนแผน ตุ้มทองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบโลโก้ เครื่องหมายการค้า
96 อาจารย์จันทร์จิรา โต๊ะขวัญแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การประกอบสูตรอาหารสัตว์ปีก, การเลี้ยงไก่เนื้อ, การเลี้ยงนกกระทา การเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์
97 อาจารย์รัตนากร แสนทำพล มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร, การแปรรูปผลิตผลปศุสัตว์(เนื้อ นม ไข่) การทำมาตรฐานอาหารปลอดภัย, การทำมาตรฐานฟาร์ม
98 ดร.ณัฏฐ์ สิริวรรธนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร - การออกแบบเครื่องจักรระบบอัตโนมัติ - การพัฒนาตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ - การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร การออกแบบบรรจุภัณฑ์
99 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา เหลียวตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. การสกัดและวิเคราะห์สาระสาคัญจากผลผลิตทางการเกษตร 2. การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เทคโนโลยีแป้ง เทคโนโลยีอาหารผง มาตรฐานอาหาร 3. วิศวกรรมอาหาร โดยเฉพาะกระบวนการให้ความร้อนแก่อาหาร และการทาแห้งด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น การทาแห้งแบบพ่นฝอย การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง และการทาแห้งด้วยเตาอบลมร้อน เป็นต้น
100 ดร.วชิรญา เหลียวตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ขนมไทย ข้าวและธัญพืช วิเคราะห์คุณภาพอาหาร และมาตรฐานอาหาร 2.การพัฒนาฟิล์มบริโภคได้ (edible film) สาหรับพัฒนาเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
101 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาขวัญ ทองรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การแปรรูปสัตว์น้า การแปรรูปเนื้อสัตว์ การวางแผนและการปรับปรุงงาน
102 อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร
103 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวีวรรณ บุญเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1.การจัดการศัตรูพืช การจัดการผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว 2.การผลิตจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูของพืช การผลิตเห็ด 3.การผลิตพืชปลอดภัย
104 อาจารย์สิริวรรณ สุขนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา กฎหมายอาหาร การวิเคราะห์อาหาร
105 ดร.ยุพิน พูนดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการสิ่งแวดล้อม
106 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบ็ญจมาส นาควงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์
107 อาจารย์ศุภกร ลิ้มคุณธรรมโม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การศึกษาการทำงาน การจัดการด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน การจัดการสินค้าคงคลัง การออกแบบและสร้างนวัตกรรม การจัดการการท่องเที่ยว ออกแบบผลิตภัณฑ์และออกแบบบรรจุภัณฑ์
108 นายชัยวัฒน์ ฑีฆวาณิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์จากทุนวัฒนธรรม
109 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1. เป็นที่ปรึกษาและดำเนินงานในโครงการวิถีไทยก้าวไกลสู่แฟชั่น (Thailand Grand living) กิจกรรม การยกระดับการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและเครื่องนุ่งหมเชิงสร้างสรรค์ ให้กับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในฐานะนักออกแบบพัฒนาภาคใต้ 2. ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3. ที่ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมประเภท ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ประจำปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มภาคกลาง ชื่อกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องแต่งกายและของใช้ ชื่อกลุ่ม กลุ่มปักผ้าด้นมือ (U-THONG QUILTS) ผลิตภัณฑ์ ประเภทของใช้เคหะสิ่งทอ 4. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าOTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเภทผ้าฯ และของใช้ (6 สถานประกอบการ)พื้นที่จังหวัดนราธิวาส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 FC2 (ผ้า1) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง FC3(ผ้า2) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มขัดจักรบ้านกาวะ FC8 (ผ้า5) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเสื้อผ้ามุสลิมบ้านรานอ
110 ดร.มงคล เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญในด้านการเลี้ยงสัตว์ พร้อมปรับปรุงพันธุ์สัตว์ได้
111 ดร.กมลทิพย์ นิคมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูปอาหาร
112 ผศ.ดร นพรัตน์ วงศ์หิรัญเดชา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูปอาหาร
113 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
114 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
115 อ.ดร.สุวรนี ปานเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
116 อ.ดร.ภาวิณี เทียมดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
117 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
118 ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี การตรวจวิเคราะห์โลหะหนัก โลหะหนักเป็นพิษ ตกค้างในดิน น้ำ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหาร
119 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี -การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า -การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
120 อาจารย์กิตติวัลย์ ทองอร่าม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี องค์ความรู้ ศาสตร์พระราชา
121 ดร.ชนากานต์ เรืองณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์
122 นายรังสรรค์ บุญมาแคน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เกษตรทฤษฎีใหม่ / การปลูกผักปลอดภัยแบบครบวงจร
123 ดร.สนิทเดช จินตนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการธุรกิจชุมชน, การจัดการองค์กร, การตลาดออนไลน์, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน นักรีวิวร้านอาหารอาหารบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยใช้นามว่า “จงกินนี่” มีผู้ติดตามมากกว่า 4,000 คน
124 ผศ.อโนทัย วิงสระน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร แมลงเศรษฐกิจ, การจัดการศัตรูพืช หรือ การอารักขาพืช, การจัดการศัตรูพืช
125 ดร.สุพิศ บุญลาภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารงานส่วนท้องถิ่น, กลยุทธ์การจัดการในองค์กร, รูปแบบการปกครองและการจัดการองค์กรในสภาวะวิกฤติ
126 ผศ.ดร.ปรรฐมาศ์ พสิษฐ์ภคกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิถีชีวิตชุมชน, ศิลปวัฒนธรรม, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
127 ดร.กิตติวัณณ์ นิ่มเกิดผล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer Vision), การประมวลผลภาพ (Image Processing)
128 วีระ ยุคุณธร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี - เทคโนโลยีพืช ผัก ผลไม้ - การปลูกพืชเสริม
129 อาจารย์อุดมศักดิ์ จันทรทาโพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Embedded Programing, Mobile Programing
130 ผศ.วรุณศิริ จักรบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบบรรจุภัณฑ์พลาสติก วัสดุพอลิเมอร์ ระบบบรรจุสินค้า
131 ผศ.ศรีประไพ จุ้ยน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม
132 ดร.วัฒนา ทนงค์แผง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อุตสาหกรรมบริการ และอาหารและเครื่องดื่ม
133 นางสาววรรณยา เฉลยปราชญ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดทำฐานข้อมูล สื่อออนไลน์ นักวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์
134 ว่าที่ร้อยตรีหญิงศิริวรรณ ศรีธรรมรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิศวกรรมสิ่งทอ
135 นางวาสนา ศิลป์รุ่งธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการสร้างโมเดลทางธุรกิจ SMEs
136 นางวราภรณ์ บันเล็งลอย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบและทำแบบตัด ออกแบบสิ่งทอ
137 ผศ.อุไรวรรณ คำสิงหา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบลวดลายผ้าและการออกแบบการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี
138 นางสาวสุชาดา คันธารส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อการออกแบบ ออกแบบตราสินค้า ออกแบบฉลากสินค้า บรรจุภัณฑ์ ออกแบบสิ่งพิมพ์และสื่อประชาสัมพันธ์
139 นางสาววรัญญา หอมธูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านกลไกการตลาดและการหนุนเสริมกิจการเพื่อสังคม
140 นายเดชรัชต ใจถวิล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดทำเทคโนโลยีสารสนเทศ
141 ผศ.กรณัท สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี "1. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาและการสร้างคุณค่าเพิ่มมูลค่า 2. ขบวนการย้อมสีธรรมชาติที่เป้นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอฯ 3.การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากปาล์ม ตลอดจนนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอฯ และยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดปทุมธานี"
142 ดร.วีณา จันทร์รัชชกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาแอปพลิเคชัน
143 ดร.นงลักษณ์ พรมทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทำเหมืองข้อมูล และ Big data
144 นายปริญญา จันทร์แสงรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบเซ็นเซอร์และ IoT
145 นายคงเทพ บุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบเซ็นเซอร์และ IoT, ระบบส่งสัญญาณแบบไร้สาย
146 นายวรพันธ์ สาระสุรีย์ภรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบเซ็นเซอร์และ IoT, ระบบส่งสัญญาณแบบไร้สาย
147 ผศ.ดร.กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Natural Product development for pharmaceuticals, cosmetics and food supplements/ Thai Traditional Medicine/ Biochemistry and Biotechnology in Pharmaceuticals/ Cell culture/ Nanotechnology for drug and gene delivery systems/ Organic and Analytical Chemistry การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติสำหรับเภสัชภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารเสริม / การแพทย์แผนไทย / ชีวเคมีและเทคโนโลยีชีวภาพด้านเวชภัณฑ์ / การเพาะเลี้ยงเซลล์ / นาโนเทคโนโลยีสำหรับระบบส่งยาและยีน / เคมีอินทรีย์และการวิเคราะห์
148 ดร.ทรัพย์ อมรภิญโญ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย การบริหาร ธุรกิจระหว่างประเทศ
149 ดร.ภีมกร โดมมงคล มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย การวิจัยและพัฒนา
150 ผศ.ดร.กฤษดา ค้าเจริญ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิจัยพัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์
151 นาย สุพีระ วรแสน มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิจัยพัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์
152 ผศ.ดร.ณัฐจรีย์ จิรัคคกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เทคโนโลยีการอาหาร
153 ผศ.ดร.นงราม เหมือนฤทธิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
154 ดร.ชุมพล เหลืองชัยศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีฟิมล์บาง ระบบเครื่องมือวัด และระบบอัตโนมัติ เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์
155 นายพินิจนันท์ รุทธนานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ เช่น เมล็ดข้าวและใยสับปะรด แล้วใช้ขบวนการทาง XRD เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของวัสดุหลังจากผ่านขบวนการย่อยสลายเฉพาะด้าน เช่น รังสี
156 นายปราโมทย์ เสตสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี CO2 and Environment simulation model, Expert system, AI, Database, Dynamic optimization
157 ผศ.ดร.ดวงฤทัย ธำรงโชติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหาร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/บรรจุภัณฑ์อาหาร/ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร3.กรรมการผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
158 นงค์นุช กลิ่นพิกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ออกแบบกราฟิก ฉลาก ตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและหัตถกรรม การตลาด สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อการขาย
159 สมชาย ดิษฐาภรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.วิทยากรและพัฒนาผลิตภัณฑ์โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากหญ้าแฝกอันเนื่องในพระราชดำริ กลุ่มชาวบ้านที่เป็นเกษตรกรกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์หญ้าแฝกอันเนื่องในพระราชดำริ กลุ่มหัตถกรรมหญ้าแฝกบ้านแสงจันทร์ ตำบลบ้านแก้ง อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 2.นักพัฒนาผลิตภัณฑ์โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ด้วย วทน. ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสตรีทอผ้าไหม เลขที่ 10 หมู่ 4 บ้านหัวงัว ตำบลโพธิ์ศรีสว่าง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด สาขาความชำนาญ 1.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรม 2.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม 3.การออกแบบกราฟิก ตราฉลากสินค้า และบรรจุภัณฑ์
160 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพรัตน์ ภัยวิมุติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ IT , การพัฒนาระบบทางคอมพิวเตอร์ สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ความเชี่ยวชาญที่ขึ้นทะเบียน อนุกรรมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมประมวลผลคำ สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมนำเสนอผลงาน สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมตารางทำการ
161 ประนัดฎา พิมสี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ -อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพและความงาม -อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากถั่วดาวอินคา ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากสมุนไพรในท้องถิ่น สาขาสิ่งแวดล้อม-การวิเคราะห์สารประกอบ PAHs ในน้ำ
162 นางสาวประภาพร ร้อยพรมมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ กราฟิคดีไซน์เนอร์ ออกแบบผลิตภัณฑ์
163 นางสาวอรอนงค์ สรรเสริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ หลักสูตรกุญแจสู่ความสำเร็จของนักขาย บริษัท วีอาร์ แฮนเดิล จำกัด หลักสูตรคิดนอกกรอบการตลาด กลยุทธ์ของนักขาย บริษัทพรพรหม เมลเทิล จำกัดมหาชน ฝ่ายประสานงานรายการโทรทัศน์และฝ่ายประสานงานแฟชั่น นิตยสาร BOSS และนิตยสารทีวีพลู บริษัท โน้ตพับลิชชิ่ง ผู้อำนวยการฝ่ายการผลิตและผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัทอังกอร์ จำกัด
164 นางสาว สุภาพร ตาไข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การจัดการงานแฟชั่นและการออแบบ สิ่งทอส าหรับสินค้าแฟชั่น การวิเคราะห์แนวโน้มแฟชั่น/สิ่งทอ การท าแบบตัดเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากผ้า การผลิตต้นแบบเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากผ้า ความรู้เรื่องผ้าและเครื่องแต่งกาย และเทคนิคการแสดงแฟชั่นโชว์ ณ Bunka Fashion College, Japan บริษัท จินตนาแอพ พาเรล จ ากัด ผลิตเสื้อผ้าชุดชั้นใน ดีไซน์-แพทเทิร์น (ต่างประเทศ) ออกแบบและท าแบบตัด ชุดชั้นในเพื่อส่งออก ต่างประเทศ
165 สุนทรี ถูกจิตต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบและแฟชั่นและสถาปัตยกรรม
166 มนกานต์ อินทรกำแหง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการฟาร์มโคนมผ่านแอพลิเคชั่น
167 นวลละออง อรรถรังสรรค์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบริหารการจัดาการชุมชนท้องถิ่น และการส่งเสริมด้านการตลาดและการทำมาตรฐาน
168 สุชญา โคตรวงษ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การย้อมสีไหมด้วยธรรมชาติ การทำสีผง การย้อมคราม
169 นิ่มนวล จันทรุญ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคนิคการย้อมสีคราม ย้อมสีธรรมชาติ เทคนิคการทอผ้าไหมแกมฝ้าย
170 สุนันทา เลาวัณย์ศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก๊าซชีวภาพจากขยะมูลสัตว์และของเสียชุมชน
171 อิสราภรณ์ สมบุญวัฒนกุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีชีวภาพ ปุ๋ยพืชสด ชุดเครื่องแกงอ่อม
172 วัลยา สุทธิขำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องสำอางจากโปรตีนไหม
173 เกสร วงษ์เกษม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องตีเกลียวไหม เครื่องควบเกลียวไหม
174 พีระยศ แข็งขัน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวัดความหอมของข้าว สารกำจัดหอยเชอรี่จากประคำดีควาย การตรวจสอบพันธุ์ข้าว การพัฒนาพันธุ์ข้าวอินทรีย์
175 ปณรัตน์ ผาดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเลี้ยงกบ การเลี้ยงปลาและการเลี้ยงสัตว์น้ำทุกชนิด
176 อัจฉรี จันทมูล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการชุมชน และการจัดทำมาตรฐาน
177 สถิตย์ เจ๊กมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การจักสาน การบริหารจัดการชุมชน
178 สุภัทรญาณ เฑียรธีระสมบัติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การย้อมสีธรรมชาติ การออกแบบลายผ้า การทอผ้า
179 สายฝน จำปาทอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบแฟชั่น การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
180 ปาริชาติ ศรีสนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
181 กัญจน์ชญา จันทรังษี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
182 รัตนโชติ เทียนมงคล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์
183 ศักดิ์ชาย สิกขา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ เทคนิคการจักสานเส้นพลาสติก การจักไม้ไผ่ การออกแบบลายผ้า ผ้าไหม
184 ประทับใจ สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบลายผ้า ผ้าไหม
185 ธัญญรัตน์ อัศวนนท์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้าและแฟชั่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์
186 สุมลวรรณ ชุ่มเชื้อ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคนิคการผลิตปลาส้ม และผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ
187 ปิยภัทร บุษบาบดินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการชุมชน การตลาดในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน แปรรูปผลผลิตการเกษตร
188 ดร.ยรรยง เฉลิมแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและแมลงศัตรูพืช และการป้องกันกำจัดอย่างปลอดภัย
189 ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก การจัดทำบุญชีครัวเรือน การบริหารธุรกิจชุมชน การจัดทำบัญชีกลุ่มโอทอป
190 ผศ.เฉลิมพล ถนอมวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูป การออกแบบบรรจุภัณฑ์
191 นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อเศรษฐกิจ และการรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก
192 ดร.ทินกร ทาตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก การคำนวณสูตรอาหารสัตว์และทำอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำ สำหรับผู้เลี้ยงสัตว์เพื่อเศรษฐิจ เพื่อลดต้นทุน
193 ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชียวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลาสวยงาม และการจัดการโรคระบาดในสัตว์น้ำ
194 นายประวัติ ปรางสุรางค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจ
195 อาจารย์วรงศ์ นัยวินิจ กรมวิทยาศาสตร์บริการ การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัย
196 ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ เภสัชกรรม
197 ผศ.ดร.ปุริม จารุจำรัส กรมวิทยาศาสตร์บริการ คณิตศาสตร์และคิมพิวเตอร์
198 ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ กรมวิทยาศาสตร์บริการ คณะศาสตร์และคอมพิวเตอร์
199 นางจันทรา สโมสร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม การผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
200 นางสาวอิงณภัสร์ วงษ์สิทธิชัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การส่งเสริมการตลาดด้านการท่องเที่ยว
201 นายโซเฟียน ศรีตุลาการ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ ระบบอิเล็กทรอนิคส์ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสาระสนเทศ
202 นางสาวดวงฤทัย แก้วคำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด การสื่อสารการตลาด และการตลาดออนไลน์ การบูรณาการระหว่างการสื่อสารการตลาดกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อบอกเล่าเรื่องราว (Story telling) ของผลิตภัณฑ์ผ่านบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ สร้างคุณค่าทางจิตใจให้กับผู้บริโภค และสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับผู้ประกอบการ
203 ผศ.ดร.กฤษดา พงษ์การัณยภาส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบบเกษตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ท้องถิ่นเพื่อการเกษตร สมุนไพรพื้นบ้าน
204 ดร.สุพรรณิการ์ ศรีบัวทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี จุลชีววิทยาทางอาหาร การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร โพรไบโอติก อาหารหมัก
205 ผศ.ดร.สุภาพร อภิรัตนานุสรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี โครงสร้างคาร์โบไฮเดรตในอาหารและการนำไปใช้ประโยชน์
206 ดร.ศราวุธ มากชิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ระบบฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาวิชวล ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
207 ผศ.โสภณ บุญล้ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี สัตว์ปีก
208 อุมาวดี ศรีเกษตรสรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี สรีรวิทยาพืช การผลิตพืช
209 รองศาสตราจารย์ ดร.วาริน อินทนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การควบคุมโรคพืช เกษตรอินทรีย์ การจัดการโรคพืชในระบบเกษตรอินทรีย์
210 อาจารย์ ดร.ฉวีวรรณ คล่องศิริเวช มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
211 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิสาขะ อนันธวัช มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การแปรรูปอาหารและเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม
212 ดร.รุ่งอรุณ พรเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีการผลิตสื่อเสมือนจริง โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เช่น การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว เป็นต้น
213 ผศ.ดร.น้อมจิตต์ สุธีบุตร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปอาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร เทคโนโลยีการหมัก จุลชีววิทยาทางอาหาร
214 นายคณิต อยู่สมบูรณ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ ออกแบบและพัฒนาตราสินค้า ออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร ออกแบบบรรจุภัณฑ์งานหัตถกรรม ออกแบบบรรจุภัณฑ์งานวิสาหกิจขุมชน OTOP ออกแบบบรรจุภัณฑ์SMEs
215 นายกฤตภาส ป้อมเปี่ยม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ภาชนะจากวัสดุธรรมชาติ
216 นายสมจริง หมื่นวิเวก วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การผลิตอาหารไก่ไข่อารมณ์ดี
217 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทนง เอี่ยวศิริ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการถนอมอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร
218 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพัฒน์ นาวารัตน์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กายภาพบำบัดทางระบบประสาท การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างและพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุ
219 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลุกา เอมเอก มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบทัศนศิลป์และการออกแบบผลิตภัณฑ์
220 รองศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การสร้างแบรนด์และกลยุทธ์การตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาด
221 อาจารย์ ดร.ปิยะ ปานผู้มีทรัพย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การเงิน แผนธุรกิจ นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ
222 อาจารย์ ดร.กฤติกา กาบพลอย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โภชนศาสตร์อาหารสัตว์
223 อาจารย์ ดร.จันทิรา วงศ์เณร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ด้านสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร
224 อาจารย์ ดร.สุเมธี ส่งเสมอ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสุขาภิบาลอาหาร เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์อาหารต้านเชื้อจุลินทรีย์
225 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การวินิจฉัยโรคติดเชื้อด้วยเทคนิคทางห้องปฏิบัติการ ด้านระบบภูมิคุ้มกันในมนุษย์
226 อาจารย์ ดร.อโนมา สันติวรกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กายภาพบำบัดระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต การออกกำลังกาย กิจกรรมทางกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
227 อาจารย์ ดร.ชฎายุ อุดม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กายวิภาคศาสตร์และกายภาพบำบัด
228 อาจารย์ ดร. จารุภา เลขทิพย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กายภาพบำบัดชุมชน กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุ
229 นางสาววาสนา มู่สา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อาหารหมัก การนำของเสียไปใช้ประโยชน์
230 ดร.สุรีย์พร กังสนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา แปรรูปอาหาร อาหารเพื่อสุขภาพ
231 นายวงศ์วรุตม์ อินตะนัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การออกแบบบรรจุภัณฑ์
232 ผศ.เชาวนีพร ชีพประสพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านเอนไซม์และคุณสมบัติเอนไซม์ องค์ประกอบทางเคมีในอาหาร
233 นายยุทธนา ตอสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
234 ผศ.ศิริพร หงส์พันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ้าไหม/การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าไหม
235 อาจารย์ภิญญาพัชร์ สวัสดิ์กุลนิธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์
236 ผศ. ฐิติมาพร หนูเนียม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น ขนมไทย
237 นางวิจิตรา ตุ้งซี่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
238 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรเทพ แก้วเชื้อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ความเชี่ยวชาญ : ลดต้นทุนการผลิต ลดของเสีย : สาขาเทคโนโลยีอาหาร GMP และ HACCP : ระบบการผลิต การเพิ่มผลผลิต
239 นางสาวฌนกร หยกสหชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ฟิล์มบริโภคได้จากแป้ง, บรรจุภัณฑ์ที่แตกสลายได้ทางชีวภาพ
240 รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา •โรคพืช อารักขาพืช •การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา •การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี •การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา •การผลิตพืชปลอดภัย •ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
241 อาจารย์วรรภา วงศ์แสงธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา •เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร •เทคโนโลยีเครื่องดื่ม •เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากพืช •สุขาภิบาลและกฎหมายอาหาร
242 ผศ.ณัฎวรัตน์ ขจัดภัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
243 อาจารย์ ปราณี เท่ากลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
244 นางฐิติมา วงษ์คำ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี แปรรูปอาหาร ขนมไทย
245 นายนรินทร์ บำเพ็ญ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การสร้างเว็บไซต์ในโปรแกรม Word Press
246 นางสาวธรากุล บุญประสพ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบบรรจุภัณฑ์
247 นางสาวสายฝน แซ่จู วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การวางแผนกลยุทธิ์การตลาด
248 นางภานุรัตน์ อารีพันธ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การแปรรูปอาหาร
249 นางสาวพรรณภรณ์ บุญจฑิตย์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบผลิตภัณฑ์
250 รศ.ดร.ธนิดา ผาติเสนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำและการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอบตัว พัฒนากระโจมอบตัวสมุนไพรอบตัว การทำผลิตภัณฑ์ดระโจมอบตัวสมุนไพรให้ได้มาตรฐานตามมารตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
251 อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต
252 นายไพศาล โพธินาม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเลี้ยงสุกรขุน
253 นายไพศาล โพธินาม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเลี้ยงสุกรพันธุ์
254 ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ แนวทางพัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาไหลนา
255 ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเพาะหนอนแมลงวันเพื่อการเลี้ยงสัตว์น้ำ
256 รศ.ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเพาะกบบนพื้นที่สูง
257 ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปูนาไทย
258 นางสาวปรารถนา ปักโคทานัง วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบูรณ์ เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
259 นายเอกชัย วอสูงเนิน วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบูรณ์ คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
260 นางสาวอัญชนา ขัตติยะวงศ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสกัดสารจากธรรมชาติ และสารต้านอนุมูลอิสระ การทำผลิตภัณฑ์จากสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ครีม โลชั่น เซรั่ม เป็นต้น การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือนจากสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น น้ำยาล้างจานสมุนไพร ยาหม่องสมุนไพร สเปรย์ไล่ยุง ยาดมสมุนไพร เป็นต้น การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับร่างกาย เช่น สบู่ แชมพู คอนดิชั่นเนอร์ เป็นต้น
261 นายสัมภาษณ์ สุวรรณคีรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ การทำกระดาษจากเส้นใยธรรมชาติ
262 ผศ.อุดมเดชา พลเยี่ยม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีในครัวเรือน สารทำความสะอาด แชมพู ยาสระผม สบู่ล้างมือ น้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม ยาหม่อง น้ำยาล้างรถ พิมเสนน้ำ สบู่เหลวล้างมือ และการผลิตกระดาษ
263 นางธนาพร บุญชู สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนโดยการเติมสารที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้สารเคมี
264 ผศ.ขวัญฤทัย วงศ์กำแหงหาญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วางแผนการตลาด กลยุทธ์การตลาด การสร้างแบรนด์
265 รศ.วัฒนาภรณ์ โชครัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คหกรรม การแปรรูปอาหาร
266 รศ.สุกัญญา กล่อมจอหอ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ การนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดให้กับผู้ประกอบการด้านการแปรรูปอาหารให้กับผู้สนใจ
267 ผศ.พรพล รมย์นุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อาหาร เบเกอรี่
268 นางสาวเมทิกา พ่วงแสง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจชุมชนฐานรากกับวิถีวัฒนธรรม การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์
269 อาจารย์ธาริกา รัตนโสภานิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การวางแผนธุรกิจ การวางแผนการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ
270 อาจารย์นวัฒกร โพธิสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและมัลติมีเดีย
271 ผศ.สมพงศ์ วงษ์มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคนิคการสัตวแพทย์
272 นางสาวกรรณทิมา พันธ์ศร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม
273 ผศ.พีรกูร อนุชานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สัตว์ปีก, การทำสูตรอาหารสำหรับสัตว์ปีก, การผลิตสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
274 นางบรรเจิดโสม ขันแข็ง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร การเลี้ยงโค
275 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ปานฤทัย พุทธทองศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. เคมีอาหาร 2. ยุทธศาสตร์ 3. เคมีเครื่งสำอาง 4. สิ่งทอและสีธรรมชาติ
276 นางสาวเอื้ออารี สุสมนิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม และอาหารสัตว์น้ำมีชีวิต
277 นางพิศมัย เฉลยศักดิ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม และอาหารสัตว์น้ำมีชีวิต
278 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เตือนใจ ศิริพาหนะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร 3. อาหารปลอดภัย 4.การออกแบบบรรจุภัณฑ์
279 นายสมศักดิ์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเลี้ยงโคนม การทำเกษตรผสมผสาน
280 นางนุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะพันธุ์กรรมกุ้ง และการเลี้ยงไรแดง ไรน้ำนางฟ้า
281 อาจารย์ณัชชา สมจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ 2. การตลาดและการผลิต สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
282 ผศ.ดร.วราจิต พยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
283 ดร.ปรีชา ทุมมุ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
284 อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
285 อาจารย์นิรมล ศรีชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. เคมีสภาวะแวดล้อม 2. เคมีอนินทรีย์ 3. เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 4. การผลิตอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
286 นางสาวนัสวัล บุญวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
287 ผศ.สุธิดา วรรธนะปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การออกแบบสื่ออัตลักษณ์ สื่อกราฟิก บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์
288 อาจารย์นพอนันต์ กาญจนวัฒนาวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การปรับแผนธุรกิจ ด้านการตลาด
289 ดร.ปัชฌา ตรีมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชน ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม
290 อาจารย์ทศพล ปรีชาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบผลิตภัณฑ์และออกแบบบรรจุภัณฑ์
291 ผศ.ดร.อังคณา ชาติก้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ การย้อมเส้นไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ
292 ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีการอาหาร และการแปรรูปผลไม้
293 ดร.ตระกูล พรหมจักร มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย
294 รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญการหลายๆด้าน ทั้ง ด้านเกษตร อาหาร สารสำคัญในพืช น้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากพืช นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีผลงานวิจัยและบทความในวารสารนานาชาติ ไม่ต่ำกว่า 25 เรื่อง และวารสารในประเทศอีกจำนวนมาก
295 ดร.คุณากร ขัติศรี มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ข้าว แป้ง ไขมัน-น้ำมัน
296 ดร.รวิสรา รื่นไวย์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีการหมัก
297 นางสมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การผลิตไข่ไก่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
298 นายสันติ คำไหว วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การเลี้ยงวัว
299 นางสาวกัณชราพร ยกยิ่ง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การออกแบบบรรจุภัณฑ์
300 นางนิติรัตน์ กระหน่าย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การทำบัญชี
301 นางสาวกัณชราพร ยกยิ่ง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การคำนวณต้นทุน กำไร
302 นางอรอนงค์ ชมก้อน วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การแปรรูอาหาร การถนอมอาหาร
303 นายอรรถพร อินปินตา วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การออกแบบกราฟฟิก การซ่อมคอมพิวเตอร์
304 นายณัฐพงษ์ ไทยพาณิชย์ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การออกแบบกราฟฟิก การเขียนเว๊บไซต์
305 ดร.วัลลีย์ อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก เทคนิดการเข้าชุมชน
306 ดร.วัลลีย์ อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การแปรรูปสมุนไพร
307 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์
308 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มงคลกร ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการขยะ
309 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเติมอากาศในสัตว์น้ำ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบิ้ลทางด้านการเกษตร 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟฟ้าแรงดันสูงในการกระตุ้นการออกดอกของเห็ด 4. การประยุกต์ใช้ไอออนบีมพลังงานสูงในการถ่ายภาพทางการแพทย์
310 นายสุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) , การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน , การออกแบบนวตกรรม , สื่อสร้างสรรค์
311 อาจารย์ประธาน เรียงลาด มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การผลิตพืชอาหารสัตว์ - การใช้วัสดุเศษเหลือทางการเกษตรให้เป็นอาหารสัตว์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตสัตว์
312 อาจารย์ปิยพงศ์ บางใบ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงกบ - วิธีการเพาะพันธุ์กบ
313 อาจารย์พรทิศา ทองสนิทกาญจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเตรียมวัตถุดิบในการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย - วิธีการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย
314 ผศ.ดร.วันดี อ่อนเรียบร้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีทางด้านอุณหภูมิ ความร้อน และพลังงาน เพื่อควบคุมคุณภาพอาหาร
315 นางสาวฟาริดา เอ็ลลาฮี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านบริหารธุรกิจ สาขาการเงิน บัญชี การตลาด และการจัดการ
316 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปวีณา เจะอารง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การตลาด การตลาดดิจิทัล/การตลาดออนไลน์ การตลาดฮาลาล ผลิตภัณฑ์ชุมชน และการตลาดเพื่อสังคม
317 นายชัยวัฒนภัทร เลาสัตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ออกแบบบรรจุภัณฑ์
318 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรุณรัตน์ ปัญจะกลิ่นเกษร มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด - การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร
319 ผศ.ดร. วีระ โลหะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ออกแบบเครื่องจักรและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร การสกัดสารสำคัญจากสบู่ดำ Foam Fractionation, Design and development Chemical andFood และ Pilot Plant Scale-Up
320 อาจารย์ปรมัตถ์ โพดาพล มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การบริหารจัดการชุมชน/การพัฒนาชุมชน/การบริหารโครงการ
321 ดร.คมสัน นันทสุนทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาศาสตร์การอาหาร พันธุศาสตร์
322 อาจารย์สุธิกาญจน์ แก้วคงบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการจัดการทั้งหมด รวมไปถึงการตลาดแบบออนไลน์อย่างมืออาชีพ
323 ดร.คมสัน นันทสุนทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สารสกัดสมุนไพรทุกชนิด เพื่อนำมาใช้ใให้เกิดประโยขน์ต่อร่างกายมากที่สุด
324 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
325 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา หนูสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีเคมีวิเคราะห์
326 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้อมจิตต์ แก้วไทย อันเดร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร
327 ดร.อนุสรณ์ ยอดใจเพ็ชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ระบบคอมพิวเตอร์
328 นายกำพล จินตอมรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
329 นางสาวเกตวรรณ บุญเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านสัตวศาสตร์ โภชนศาสตร์สัตว์
330 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรวัตร ลือสัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เครื่องจักร อุตสาการ
331 นางอัปสร อีซอ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ตราสินค้า บรรจุหีบห่อ การสื่อสารการตลาด
332 รศ.ดร.พนิตสุภา ธรรมประมวล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ออกแบบบรรจุภัณฑ์
333 รศ.ดร.พนิตสุภา ธรรมประมวล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากดินสอพอง
334 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การจัดทำพวงกุญแจจิ๋วรุปแบบภาชนะดินเผาโบราณ
335 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทำภาชนะเครื่องปั้นดินเผาซับจำปา
336 ผศ.ศศิธร วิศพันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
337 นางสาวอมรรัตน์ บุญสว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ออกแบบตัดเย็บและบรรจุภัณฑ์
338 นางสาวจารุณี หนูละออง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วิเคราะห์อาหารสัตว์ / การผลิตสัตว์
339 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มลิวรรณ์ กิจชัยเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การแปรรูปผักและผลไม้ - การทำเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ ไวน์ผลไม้ บรั่นดีผลไม้ การทำสาโท
340 อาจารย์สุริยา ทองคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านอารักขาพืช(โรคพืช), การเพาะเห็ด, การปลูกเมล่อน ระบบ GAP
341 รศ.ดร. กฤติมา เสาวกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การจัดการคุณภาพน้ำ, การผลิตอาหารสัตว์น้ำ,การเพาะเลี้ยงปลาหลด
342 นางลักขณา ศิรประภาพูน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านสุขภาพ, ความงาม, ด้านเคมี
343 ดร.นุจรี สอนสะอาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปเนื้อสัตว์, ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่, แปรรูปผักและผลไม้
344 ผศ.เถลิงเกียรติ สมนึก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การเพาะพันธุ์ปลา
345 อาจารย์ชุติกร ปรุงเกียรติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการตลาด, การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน, การค้าภายในประเทศและต่างประเทศ
346 ดร.ทองมี ละครพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สื่อการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ระบบฐานข้อมูล ทักษะทางปัญญา, ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
347 ดร.อุดมศักดิ์ นพพิบูลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การปรับปรุงพันธ์สัตว์(สุกร โคนมและโคเนื้อ), การปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์
348 อาจารย์นฤทธิ์ วาดเขียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านเทคโนโลยีการอาหาร, การแปรรูปผลิตภัณฑ์, การถนอมอาหารในรูปแบบต่างๆ, การทำขนม เบเกอรี่
349 อาจารย์ทองล้วน สิงห์นันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Wireless Sensor network, Stem education, Computer Network, Internet of things, AI for Agriculture
350 นางสาวสิริอนงค์ สมัครสมาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม, การจับผ้าเป็นรูปแบบลายต่างๆ, การย้อมสีผ้าไหม, การเลี้ยงไหม
351 อาจารย์อมรรัตน์ บุญสว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตัดเย็บและออกแบบ
352 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะนุช รสเครือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน  เชี่ยวชาญทางด้านการอบแห้งผักผลไม้ ได้แก่ ลำไยอบแห้ง แก้วมังกรอบแห้ง แคนตาลูปอบแห้ง.................  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปแป้ง ได้แก่ มันม่วงผง มันเทศผง ฟักทองผง กล้วยผง เครื่องเทศผง……………...  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปน้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ สเตอริไรส์ และน้ำผลไม้ผง พิวเร่มะม่วง พิวเร่มะขาม เครื่องดื่มสุขภาพ.......  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสำเร็จรูปด้วยความร้อน อาหารภาชนะบรรจุปิดสนิท แกงบรรจุซอง รีทอร์ทเพาซ์ แกงกระป๋อง…………
353 นางสาวจิรา ปั้นรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ - การสร้างตราสินค้าและป้ายฉลาก - การพัฒนาและออกแบบสื่อการตลาด - การเขียนแผนการตลาด - การวิจัยการตลาด/การทดสอบตลาด - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
354 ผศ.ณัฐรินทร์ ศิริรัตนนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำ - วิธีการวัดคุณภาพน้ำ และการประเมินค่าคุณภาพน้ำอย่างง่ายสำหรับเกษตรกร
355 นายขจร อนุดิตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบ
356 นายณัฐพล อุ่นยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบ
357 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิอร สิริมงคลเลิศกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
358 นางชนนพร ยะใจมั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ด้านภาษีอากร 2. ด้านการสอบบัญชี 3. ด้านการทำบัญชีการเงิน
359 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultant’s Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
360 นางสุวิสา ทะยะธง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ด้านบัญชีและภาษี 2. ต้นทุนและผลตอบแทน 3.
361 นางสาวจรัสศรี โนมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ด้านการจัดทำบัญชีและภาษีอากร 2. ด้านการวางระบบบัญชีและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
362 นางสาวณฐมน ทรัพย์บุญโต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. การตลาดออนไลน์ 2.เทคนิคการถ่ายรูป การตัดต่อคลิป รูปภาพและวีดีโอ การทำสื่อ การตกแต่งรูปภาพผลิตภัณฑ์ และการสร้างโลโก้ผลิตภัณฑ์ เพื่อการขายสินค้าผ่านช่างทางออนไลน์และออฟไลน์ 3. การตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. ที่ปรึกษาทางการตลาดออนไลน์ ด้านการตลาด ด้านธุรกิจ และด้านเทคโนโลยีทางการตลาด
363 นางสุจิตตา หงษ์ทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการ โลจิสติกส์
364 นางพิทธินันท์ สมไชยวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการ โลจิสติกส์
365 นางสาวรสริน จอห์นสัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาดสินค้าชุมชน การจัดการทางการตลาดของสินค้าและบริการของชุมชน พัฒนาสินค้าของท้องถิ่น ให้มีเอกลักษณ์เป็นที่ยอมรับของตลาด ประยุกต์ส่วนประสมทางการตลาดมาช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าของท้องถิ่น และการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ของสินค้าชุมชน
366 นางกุลพรภัสร์ ภราดรภิบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาด การลงทุน
367 นางสาวศิรินาฏ จันทนะเปลิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาด การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์
368 นางสาวอวยพร ต๊ะวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
369 นางกมลลักษณ์ ชัยดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ระบบคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ
370 อาจารย์วุฒิกร สระแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน  เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตอาหารสัตว์.................  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสัตว์……………...
371 นางสาวศรินทิพย์ ทองปราง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การสร้างผู้ประการใหม่
372 นายสุนัน บุญมานัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การพัฒนาควบคุมระบบสมาร์ทฟาร์ม
373 นายภูริงพงศ์ จิตรมะโน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การเลี้ยงโคนม
374 ผศ.ดร. ประเทือง โชคประเสริฐ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การพัฒนากรรมวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีการอาร
375 ดร.พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีอาหารการพาสเจอร์ไรส์ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
376 นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
377 ผศ.ดร.กมลพร ปานง่อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีพลาสมา การใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อเพิ่มคุณภาพของเมล็ดพันธุ์พริก
378 ดร. น้ำฝน รักประยูร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปแป้ง
379 ดร.พิชิตร์ วรรณคำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดการพัฒนาพันธุกรรม ไก่ชน สตูรอาหารไก่ต้นทุนต่ำคุณภาพสูงและการคำนวณสูตรอาหารปริมาณที่เหมาะสมกับช่วงอายุไก่
380 ดร.วิลาสินี บุญธรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีในการทอและพัฒนาลายผ้า เทคโนโลยีการตัดเย็บและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ เทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ
381 ผศ.ดร. ฑีฆา โยธาภักดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การบริหารจัดการต้นทุนและผลตอบแทนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมการตลาด
382 ผศ.ดร.สุรพงษ์ ทองเรือง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ การผสมเทียมโคและสุกร การจัดการฟาร์มสุกร เช่น การจัดการสุกรเล้าคลอด การจัดการลูกสุกร
383 ดร.รรินธร ธรรมกุลกระจ่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการผลิตคอลลาเจนและเจลาตินของหนังและเกล็ดปลานิล
384 ผศ.ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เทคโนโลยีการผลิตข้าวก่ำลืมผัวปลอดภัยด้วยระบบ GAP
385 ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ Information Retrieval Artificial Intelligence (AI) Management Information Web Application Database
386 ผศ.ดร.วรศิลป์ มาลัยทอง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดการระบบปศุสัตว์อินทรีย์ การผลิตสัตว์ปีก
387 นางสาววีรนันท์ ไชยมณี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ สารสกัดจากธรรมชาติในการประยุกต์ใช้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โรคผึ้งและไรศัตรูผึ้ง
388 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การจัดทำแผนธุรกิจเกษตร
389 ผศ.ดร.พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การขอใบอนุญาตสถานที่ผลิต Primary GMP หรือ GMP/สับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค การอบแห้ง การใช้ประโยชน์วัสดุเศษเหลือจากการแปรรูปสับปะรด/การแปรรูปผักผลไม้ด้วย HPP/การออกแบบผังกระบวนการผลิต/การปรับปรุงคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผักผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค
390 อ.ดร.ณัฐวุฒิ ดอนลาว มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / ลดต้นทุนในการผลิต / ยืดอายุการเก็บรักษา / รักษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ 2. กระบวนการผลิตชา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารทางเลือก 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิต การเลือกใช้เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 4. การอบแห้งอาหาร
391 ผศ.ดร.วิรงรอง ทองดีสุนทร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การใช้ประโยชน์เส้นใยและเซลลูโลสจากพืช / การผลิตฟิล์มบริโภคได้ / สารเคลือบผิวผลไม้ที่รับประทานได้ 3.เทคโนโลยีและนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์เพื่อยืดอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์
392 อ.ดร.รัฐพล แสงระยับ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง 3.การอบแห้งอาหาร 4.การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
393 อ.ดร.สิริรุ่ง วงศ์สกุล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การพัฒนา/แปรรูปผลิตภัณฑ์ จากวัตถุดิบ แป้งข้าว ถั่ว ชา เพื่อเพิ่มมูลค่าหรือยืดอายุ
394 ผศ.ปริญญา วงษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจาก ผัก ผลไม้ ชา และสมุนไพร 2.การประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร
395 อ.ดร.สุทธิพร พินิจสุวรรณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์ขนมไทย
396 ผศ.ดร.จุฑามาศ นิวัฒน์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากผัก ผลไม้และข้าว 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวโดยเฉพาะข้าวที่มีสี สมุนไพร ชา
397 อ.ดร.ณัฐกาญจน์ รุ่งเรือง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.กระบวนการฆ่าเชื้ออาหารแปรรูป 2.ออกแบบเครื่องจักรสำหรับฆ่าเชื้ออาหารแปรรูป 3.Food additive/Flavoring agent/encapsulation 4.Hot brew and cold brew/extraction
398 รศ.ดร.สาโรจน์ รอดคืน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว แป้งข้าวและพืชอื่น ๆ ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และ อาหารเพื่อสุขภาพ
399 ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
400 ผศ.ดร.เสาวภา ไชยวงศ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวและบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตผลสด 2.การจัดการตั้งแต่เก็บเกี่ยวผลิตผลเกษตรจากสวนจนถึงการเก็บรักษาจนถึงถึงมือผู้บริโภค 3.การจัดการโซ่ความเย็นสำหรับผลิตผลสด
401 ผศ.ดร.ปิยาภรณ์ เชื่อมชัยตระกูล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งข้าว ถั่ว ชา
402 ผศ.ดร.จิรัฎฐ์ ศิริเมืองมูล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มเพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไข 2.ประเมินการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ด้วยการทดสอบทางประสาทสัมผัส รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคด้วยการเชื่อมโยงกับหลักการตลาด 3.การพัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิม และนำของเหลือใช้จากการเกษตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค หรือสามารถยืดอายุเก็บรักษาได้นานขึ้น
403 ผศ.ดร.ณัฏยา คนซื่อ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และเครื่องดื่มรแปรรูปจากผัก ผลไม้ ชา และสมุนไพร 2.การยืดอายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร
404 ผศ.ดร. มยุรี หาญสุภานุสรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ความเชี่ยวชาญการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน Product Value Chain
405 ดร.ไพศาล สนธิกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี data communication, wireless networks
406 ดร.กรกันยา ประทุมยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - Expertise on solid-phase peptide synthesis (SPPS), cell culture and siRNA transfection assay - Extensive experience in determining the encapsulation and the organization of molecules in molecular level.
407 ผศ. ดร.วีรพล จีรจริต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การประมวลผลภาพ การประมวลผลสัญญาณ และการรูปจํารูปแบบ
408 นางนิตยา มหาไชยวงศ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ย้อมฝ้าย/ด้าย/ไหมอีรี่ ด้วยเพกา ประดู่ มะเกลือ ตะโก คราม และกุฒฑา การต้มลอกกาวไหมหม่อนและไหมอีรี่ การปั่นเส้นด้ายไหมอีรี่ การทอผ้าพื้นฐาน
409 นางพิไลรัก อินธิปัญญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิศวกรรมอาหาร มาตรฐาน คุณภาพ
410 นางสาวเจิมขวัญ ศรีสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (สิ่งทอ) 3.การย้อมสีธรรมชาติ (สิ่งทอ) 4.การเลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่(สิ่งทอ)
411 ดร.จตุพร คงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช มาตรฐาน GMP ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์
412 นางจีราภรณ์ สังข์ผุด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและเครื่องสำอาง
413 ผศ ดร เขมฤทัย ถามะพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Bio-nanomaterials, Biosensors and Chemical sensors, Forensic science
414 นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
415 นางจิตตะวัน กุโบลา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร
416 นางสาวสุธีรา สุนทรารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การกำจัดขยะแต่ละประเภทให้เหมาะสม (การแปรรูป รีไซเคิล) ออกแบบและแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา
417 นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม
418 นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
419 นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
420 นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
421 นางสาวสุวรรณา จันคนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี
422 นางสาวจิตตะวัน กุโบลา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปอาหาร และการแผรรูปสมุนไพร การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี
423 นาย สุนทร ลีประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) * การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO)
424 นางสุภาพร ชื่นชูจิตร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ ตรวจสุขภาพ การนวดแผนไทย และการจัดการเกี่ยวกับสุขภาพ
425 นางทองพันธ์ สุปะมา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ การแปรรูผลิตภัณฑ์
426 ผศ.ดร.ถาวร จันทโชติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านกระบวนการแปรรูปอาหาร
427 ผศ.ดร.พรพิมล มะยะเฉียว มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การอบแห้ง, การแปรรูปอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
428 นางสาวเบ็ญจวรรณ บัวขวัญ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การบูรณาการภูมิปัญญาเพื่อเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (การนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ และการสร้างสรรค์สิ่งเหลือใช้จากงานเกษตร งานหัตถกรรม มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อม
429 อ.ดร.รัทรดา เทพประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สาขาเทคโนโลยีอาหาร (การแปรรูปและการปรับปรุงกระบวนการผลิตอาหาร)
430 รศ.ดร.สรพงค์ เบญจศรี มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สาขาวิชาพืชศาสตร์
431 รองศาสตราจารย์ ดร.สรรพสิทธิ์ กล่อมเกล้า มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง เคมีและการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร
432 นาง ปาจรีย์ เรืองคล้าย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การวิเคราะห์ทางจุลินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น
433 อ.ดร.ปิยาภรณ์ ภาษิตกุล มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การประยุกต์ใช้เอนไซม์
434 อ.ดร.นิชากร พันธ์คง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
435 อาจารย์นิดา นุ้ยเด็น มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านแพทย์แผนไทย
436 ผศ.ดร.นุกูล อินทระสังขา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านจุลชีววิทยา
437 อาจารย์อัฏฐพล เทพยา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
438 อาจารย์พจนีย์ แก้วคำแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
439 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุกฤชญา เหมะธุลิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การแปปรูปถนอมอาหาร
440 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภกาญจน์ พรหมขันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปอาหาร
441 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนกกญจน์ วิชาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การตลาด
442 นายไชยวัฒน์ ไชยสุต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เทคโนโลยีเภสัชกรรม,เภสัชวิเคราะห์,โภชนาเภสัชภัณฑ์,เวชสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร,น้ำหมักชีวภาพเพื่อการบริโภค โพรไบโอติก พรีไบโอติก
443 นายวรณ์ ดอนชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - องค์ความรู้ด้านสิ่งทอพื้นบ้าน/เส้นใยธรรมชาติ/สีย้อมธรรมชาติ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนาคุณภาพผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ(พัฒนากระบวนการย้อม-การทดสอบคณุภาพผ้า) ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนากระบวนการผลิตสิ่งทอพื้นบ้านให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - พัฒนากระบวนการฝึกอบรม พัฒนาศักยภาพและประเมินผลวิทยากรชุมชน - การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
444 นายวิญญู ศักดาทร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาเทคโนโลยีอาหาร - กระบวนการผลิตและระบบผลิต สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ - ออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม - ออกแบบบรรจุภัณฑ์ กราฟิก และโครงสร้าง branding
445 นายสมชาย วงศ์สุริยศักดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
446 นายสมชาย จอมดวง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร - ระบบคุณภาพของอุสาหกรรมอาหาร ได้แก่ GMP,HACCPและISO22000
447 นายชาติชาย โขนงนุช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - เทคโนโลยีการหมัก (เหมี้ยง) - พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับเหมี้ยง
448 นางสาวจรินรัตน์ วรวงศ์พิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวิเคราะห์สินเชื่อ การเงิน
449 ดร.ปิยมาสฐุ์ ตัณฑ์เจริญระตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีก
450 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์สวยงาม และสุกร
451 นายสมเกียรติ ตันตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก แลกบ เป็นต้น
452 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช สังข์อยุทธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา การสร้างกระบวนการกลุ่ม การสำรวจข้อมูล
453 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร และการเก็บรักษา
454 ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
455 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
456 น.ส.ชณิชา จินาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
457 ดร.พรปวีณ์ วรเศรษฐ์พงศา มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดการการเงินและการลงทุน, การวางแผนการเงินและจัดสรรกำไร, การวิจัยธุรกิจ, การพัฒนาทักษะทางการเงินส่วนบุคคล
458 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาพืชสมุนไพร ด้านสุขภาพ และความงาม
459 นางปรีดา ตัญจนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด
460 นางสาวคนึงนุช สารอินจักร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการออกแบบแบรนด์สินค้า
461 นางสาวพอหทัย ซุ่นสั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ออกแบบลวดลาย ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่ง
462 ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
463 นายสมบัติ น้อยมิ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา มีความเชียวชาญด้านการออกแบบเครื่องจักรเพื่อเพิ่มความสามารถในขั้นตอนการผลิต และขั้นตอนการทำเทคโนโลยีเครื่องจักรมาใช้ในกระบวนการผลิต
464 ผศ.ดร.เฉลิมพล เยื้องกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การเลี้ยงสัตว์ ระบบการเลี้ยงสัตว์ การจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าในการเลี้ยงสัตว์
465 นายรัฐพล พรหมวงศ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การแปรรูปเบเกอรี่
466 นางนภสร ฉัตรกาญจนากูล วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำเจลล้างมือแอลกอฮอล์
467 นางวันดี โพธิ์วัฒ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การบุผ้าในตะกร้า การเย็บจักร ตัดเย็บเสื้อผ้า
468 นางสาวธนวรรณ สอ้าง วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การตัดเย็บเสื้อผ้า การประดิษฐ์ของชำร่วย
469 นางวราภรณ์ บุตตะคาม วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การสร้างเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์
470 นางสาวแก้วพรรษา มีใจเย็น วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำน้ำผลไม้รวมผสมเม็ดบีสต์คลอโรฟิลล์
471 นางสาวกัลยา ชูติวัตร วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบบรรจุภัณฑ์
472 นายวิวรรธนชัย ฉันทะนิตย์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบแผ่นพับ การตัดต่อรูปภาพ
473 นางสาวสุวารี ยิ่งนอก วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การวางแผนการตลาด การคำนวณต้นทุนและกำหนดโปรโมชั่น
474 นางสาววณิชา วิกาเงิน วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบเสื้อผ้า
475 นางปาริชาติ ณ น่าน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
476 ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
477 ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
478 ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
479 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
480 ผศ.กัทลีวัลย์ สุขช่วย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืช 2.การเพาะเห็ด
481 รศ.ดร.จินันทนา จอมดวง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี
482 ผศ.ดร.อรุณ โสตถิกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน 2.การปรับปรุงพันธ์พืช 3.กัญชาทางการแพทย์
483 รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
484 ผศ.สุมาฬี พรหมรุกขชาติ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน
485 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
486 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
487 ผศ.ดร.เจนยุทธ ศรีหิรัญ มหาวิทยาลัยนเรศวร ออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร เครื่องอุปโภค และบริโภค
488 ดร.อนิรุทธิ์ รักสุจริต มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วัสดุนาโน -ชีววัสดุ -เซรามิก -วัสดุผสมนาโน
489 ดร.จิตรกร กรพรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร ความเชี่ยวชาญ -ด้านฟิสิกส์ประยุกต์และฟิสิกส์พื้นฐาน -การใช้เครื่องมือ X-ray diffraction, Scanning microscope, Transmission microscope, เครื่อง LCR, เครื่องวัดสมบัติ Piezo-ferro, เตาเผาอุณหภูมิสูง, Rama scattering 3 -การเตรียมเซรามิกไฟฟ้า และศึกษาสมบัติเชิงฟิสิกส์ -ความรู้การใช้งานแสงซินโครตรอน โดยเทคนิค XAS และ XPS - materials science
490 ดร.มนิต พลหลา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การเข้าถึงแนวคิดของชุมชน เพื่อร่วมกันออกแบบ สัญลักษณ์และเสนอแนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แก่นักออกแบ/ผู้รับจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์ และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน
491 นางสาวหัสลินดา บินมะแอ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคทางจุลชีววิทยา, อบรมเจลยับยั้งจุลินทรีย์, การทำโยเกิร์ตอย่างง่าย, การผลิตโยเกิร์ตเพื่อสุขภาพ, การเลี้ยงและขยายเชื้อพันธุ์วุ้นสวรรค์อย่างง่าย, อาหารปลอดภัย ห่างไกลเชื้อโรค
492 ผศ.ชื่นจิต พงษ์พูล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
493 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
494 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
495 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
496 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
497 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
498 ผศ.ชื่นจิต พงษ์พูล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
499 ผศ.ชื่นจิต พงษ์พูล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
500 อาจารย์ ดร.วิภา ประพินอักษร มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
501 อาจารย์ภานุวัฒน์ ขันจา มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศเพื่อทวนสอบคุณภาพสินค้า
502 ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ ชุมแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการจัดการเกษตรให้มีคุณภาพ การขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เชื้อราไตรโคเดอร์มาและวิธีการใช้งานกับพืชแต่ละชนิด เทคโนโลยีการ ผลิตสับปะรดทั้งในและนอกฤดู
503 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายทอง แก้วฉาย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการจัดการแมลงศัตรูพืช / เทคโนโลยีสารชีวภัณฑ์
504 นางสาวทัศนีย์ รัดไว้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการจัดการสวนไม้ผล / การผลิตพืชไร่/การผลิตไม้ผล/การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
505 ดร.สิริลักษณ์ สินธุพาชี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การศึกษาการสกัด สารสกัด วัฏจักร และการวิเคราะห์ สมุนไพร
506 ดร.อรพินท์ บุญสิน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตราสินค้า การตลาดออนไลน์
507 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยะ จันทร์แก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การเพาะพันธุ์ปลา คุณภาพน้ำ การเลี้ยงปลา
508 อาจารย์ ดร.พจนีย์ แสงมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง การตรวจวิเคราะห์ดินและการใช้ปุ๋ยอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การขอมาตรฐานทางการเกษตร
509 อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
510 อาจารย์ ดร. นันทา เป็งเนตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1.การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2.ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3.การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านจุลินทรีย์
511 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
512 ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ
513 ดร.ปัทมากร เนตยวิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เทคโนโลยีสารสนเทศ
514 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพร เรืองอ่อน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน การเขียนโปรแกรมภาษา การพัฒนาคุณภาพการให้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
515 นางสาวพาริณี โลมาอินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดเศรษฐกิจ
516 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 1. เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย 2. การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) สำหรับการผลิตแป้งข้าวและขนมจากแป้งข้าว
517 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุรีภรณ์ นวนมุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย
518 อาจารย์ ดร.นางดรุณี นาคเสวี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3 การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านเคมี
519 อาจารย์วรรณกนก เขื่อนสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร
520 อ.ดร.วิภานุช ใบศล มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
521 ผศ.ดร.วีรนุช คฤหานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
522 อ.ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การผลิตฟิล์มเคลือบผิวที่บริโภคได้ (Edible film) จากเพคทินที่สกัดจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
523 ผศ.ดร.หฤทัย ไทยสุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การตรวจสอบการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร
524 ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
525 ผศ.พูนฉวี สมบัติศริ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การวิเคราะห์อาหาร
526 อ.ฉัตรสุดา มาทา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ
527 อ.ชิสาพัชร์ ชูทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ
528 อ. ดวงจันทร์ แก้วกงพาน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาความรู้ในเนื้อผนวกวิธีสอนวิทยาศาสตร์ (PCK) ที่บูรณาการกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (TPCK) ในศตวรรษที่ 21
529 อ.ดร.เยาวเรศ ชูศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การวิเคราะห์และทดสอบคุณสมบัติขอสารชีวโมเลกุล เช่น คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ
530 อ.จตุทิพย์ ก๋ายะ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การบูรณาการการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยกิจกรรม Tinkering & Making
531 นายเฉลิมฤทธิ์ เครืออินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนจัดทำเทคนิคภายในหมู่บ้าน Smart Village
532 ผศ.ดร.ชมจันทร์ ดาวเดือน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งการออกแบบบรรจุภัณฑ์จะต้องช่วยถนอม หรือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้อยู่ได้นาน รวมถึงสร้างความโดดเด่น และเป็นอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์
533 นายธนพงศ์พันธ์ หมื่นโท่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนจัดทำโรงเรือน หมู่บ้าน Smart Village
534 นายคมสัน เรืองโกศล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งการออกแบบบรรจุภัณฑ์จะต้องช่วยถนอม หรือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้อยู่ได้นาน รวมถึงสร้างความโดดเด่น และเป็นอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์
535 อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล ดร.กัมปนาถ เภสัชชา อ.บงกชไพร มหาวิทยาลัยนครพนม นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัยครบวงจร 1.เทคโนโลยีการผลิตมันหมักยีสต์ให้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ธาตุและอาหารอัดก้อนโปรตีนสูงต้นทุนต่ำ 3.เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อคุณภาพ
536 อาจารย์ภัทรกร ออแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การออกแบบ และการผลิตบรรจุภัณฑ์
537 ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนา ออกแบบ แปรรูป กระบวนการย้อมสี การตกแต่งสำเร็จผืนผ้าและผลิตสิ่งทอ
538 อาจารย์ดวงพร อ่อนหลวาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การบริหาร การจัดการ การบัญชี เพื่อธุรกิจและการบริการ
539 อ.บงกชไพร ศรพรหม มหาวิทยาลัยนครพนม การจำแนกศํตรูพืชโรคพืช และการเลือกใช้สารชีวภัณฑ์
540 น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตปุ๋ยไส้เดือน 1. วิธีการผลิตปุ๋ยจากมูลไส้เดือน 2. วิธีการดูแลรักษา 3. การประยุกต์ใช้ปุ๋ยจากมูลไส้เดือนกับพื้นที่การเกษตร
541 ผศ.เกษตร แก้วภัคดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโลโลยีด้านการถ่ายภาพ
542 อาจารย์วรัญญา ฐานะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ
543 ดร.นวรัตน์ พรหมอุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ
544 รองศาสตราจารย์เรวัต สุขสิกาญจน์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม การสร้างอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
545 ดร. สุภาวดี สำราญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
546 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด เคมีอาหาร เคมีธัญพืช ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
547 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิทธิเดช หมอกมีชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด ปลาร้าอัดก้อน
548 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา พีรกมล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2.การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
549 อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
550 อาจารย์สุมาลี กรดกางกั้น มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - หลักการตลาด - การเป็นผู้ประกอบการ - เทคโนโลยีการจัดการธุรกิจขนาดย่อม - เทคโนโลยีการออกแบบแบรนด์สินค้า และบรรจุภัณฑ์
551 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฺ ดร.คู่ขวัญ จุลละนันทน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด สัตวศาสตร์/การพัฒนาอาหารสัตว์
552 ดร.ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ 2.เทคโนโลยีการเกษตรการผลิตอาหารสัตว์ต่างๆๆๆ
553 อาจารย์ ดร.คณิน บรรณกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การผลิตอาหารโคเนื้อ
554 อ.ดร.กนก เชาวภาษี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีเทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงและการคัดเลือกสายพันธุ์ - เทคโนโลยีการสร้างโรงเรือนที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่เบตง - เทคโนโลยีการผสมเทียม และเก็บน้ำเชื้อไก่เบตง - การสร้างตู้ฟักไข่
555 อาจารย์สุนีย์ ตรีมณี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การบริหารจัดการฟาร์มไก่เบตง - เทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงเชิงพานิชย์ - การใช้สมุนไพรเพื่อการเลี้ยงไก่เบตง
556 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัญญรินทร์ สมพร มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด สรีรวิทยาพืช เทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ การจัดการและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตข้าว
557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สว่าง กุลวงษ์ ตำแหน่ง มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การเลี้ยงสัตว์และกระบวนการผลิตสัตว์ปีก
558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาสินี ครุฑธกะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การผลิตสัตว์ปีกและกระบวนการเลี้ยงสัตว์ปีก
559 อาจารย์นายศรุติวงศ์ บุญคง มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.การผลิตก๊าซชีวภาพระดับครัวเรือน 2.การเลี้ยงโคและกระบือ
560 อาจารย์ชลกาญจน์ สถะบดี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การตลาด
561 อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน
562 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ซารีนา สือแม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - มาตรฐานฟาร์มแพะเนื้อ และแพะนม
563 อาจารย์ณัฐพัชรากานต์ แก้วพลอย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ปีก
564 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน
565 อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การผสมผสานจิตรกรรมเทคโนโลยีโลกเสมือน AR ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริง (Real) เข้ากับโลกเสมือน (Virtual) โดยผ่านอุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์รวมกับการใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ทำให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ
566 ดร.อโนชา สุขสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยบูรพา Food Extrusion, Functional Food Production, Low GI Food
567 นางสาวปณิดา ชัยปัน มหาวิทยาลัยบูรพา งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
568 นางปรารถนา ควรดี มหาวิทยาลัยบูรพา เพาะเลี้ยงหอยหวาน เพาะเลี้ยงปลาสวยงามในแนวปะการัง เพาะขยายปะการังแบบไม่อาศัยเพศ ระบบหมุนเวียนน้ำ
569 นายธนกฤต คุ้มเศรณี มหาวิทยาลัยบูรพา การดูแลสัตว์น้ำ
570 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ มหาวิทยาลัยบูรพา การเลี้ยงสัตว์น้ำในระบบน้ำหมุนเวียน (Recirculating aquaculture systems) การเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลสวยงาม (Marine ornamental organisms breeding and culture) คุณภาพน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ(Water quality and management in aquaculture)
571 ดร.วรรณภา กสิฤกษ์ มหาวิทยาลัยบูรพา ด้านโรคสัตว์น้ำ , พันธุศาสตร์เซลล์สัตว์น้ำ
572 ดร.นพ.เกษม ใช้คล่องกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา การออกกำลังกาย ศัลยกรรมกระดูกและข้อ
573 อาจารย์ฐิรารัตน์ แก้วจำนง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องแกง การทำกระหรี่ปั๊บไส้ปลา วัฒนธรรมอาหารและข้อมูลทางโภชนาการของทรัพยากรชีวภาพ
574 ดร.ธีระวัฒน์ เจริญราษฎร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย บริหารธุรกิจ
575 ดร.สิริกานต์ สุวรรณผู มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย นิเทศศาสตร์
576 นส.สมประสงค์ ปริวัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
577 ผศ.ดร.บังอร เหมัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
578 นส.พิมพ์ใจ กอแก้ว มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ชีววิทยา
579 ดร.นิศารัตน์ ทิพยดารา มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เพาะเลี้ยง
580 ดร.สุทธิลักษณ์ ขวัญไตรรัตน์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย จุลชีววิทยา
581 ผศ.ดร.ปุณณาณี สัมภวะผล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แปรรูป ข้าวพร้อมทาน แปรรูปเป็นขนม อาหาร เพื่อกินเอง เก็บถนอม และ/หรือเพื่อขา
582 รศ. ดร.โอภาส พิมพา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โคเนื้อ โคขุน อาหารโค
583 รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
584 รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
585 ดร.เทวี มณีรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้แมลงตัวห้ำตัวเบียนมากำจัดศัตรูพืช การทำเกษตรแบบประณีต เกษตรกรต้องเพิ่มทักษะในการสังเกตแมลงศัตรูพืช เพื่อกำจัดได้ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
586 ผศ.ดร.น้อมจิตต์ แก้วไทย อันเดร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการแปรรูปผักและผลไม้ เนื้อสัตว์ ปลา เครื่องดื่ม เน้นเทคโนโลยีการหมัก กระบวนารแปรรูป ด้วยความร้อนการใช้เทคนิคและวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพในการแปรรูปอาหาร
587 นายสุชาติ ศรีมาลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ การออกแบบ กราฟฟิค
588 ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles
589 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
590 ผศ.ดร.อังกาบ บุญสูง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้เทคโนโลยี Model 2 มิติ
591 ผศ.สิงหา ปรารมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีและองค์ความรู้ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์
592 อาจารย์พิทักษ์ คล้ายชม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ระบบควบคุมอัตโนมัติระบบสมองกลฝังตัวเทคโนโลยีหุ่นยนต์อากาศยานไร้คนขับ
593 นางสาวอำพร ท่าดะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา • ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา เช่น Escherichia coli โคลีฟอร์มแบคทีเรีย และการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพน้ำของกรมอนามัย • ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางจุลชีววิทยา เช่น จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด การปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. • ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพร เช่น จำนวนแบคทีเรียทั้งหมด จำนวนยีสต์และราทั้งหมด Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Enterobacteria • การทดสอบตัวอย่างและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยเทคนิกทางจุลชีววิทยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. • ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางชีววิทยาให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน
594 นางสาวนิสารัตน์ ไปตามหา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น การนำสมุนไพรท้องถิ่นไล่ยุงแทนการใช้สารเคมี
595 อาจารย์พิสุทธิ์ ศรีจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - การพัฒนาระบบฐานข้อมูล - การเรียนและการสอนออนไลน์ - อินเทอร์เน็ตและสารสนเทศออนไลน์
596 ผศ. ดร.พนินท์ นนทโคตร มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ สาขาเศรษฐศาสตร์
597 ผศ.ดร.ณิชารีย์ ใจคำวัง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การประเมินผลโครงการ การพยาบาลและสาธารณสุข การวิจัยเชิงคุณภาพ
598 นางสาวเยาลักษณ์ เชื้อเจ้าทรัพย์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ออกแบบบรรจุภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทำดอกไม้จากผ้า
599 นางสาวศศิธร แสงวาโท วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
600 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 1. การยกระดับผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร และผลผลิตทางการเกษตร 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4. การวิจัยด้านการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ให้มีความปลอดภัย
601 นายมนตรี โนนพะยอม วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น การออกแบบและพัฒนาเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงปลา ใช้สำหรับการพัฒนานวัตกรรมซอฟต์แวร์ ควบคุมด้วยระบบ Microcontroller
602 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหอยนางรม 1. น้ำพริกเผาหอยนางรม 2. ข้าวเกรียบหอยนางรม 3. ซอสหอยนางรม 4. ซอสพริกหอยนางรม
603 ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) -การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการผลิตขนมอบ
604 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การแปรรูปผลไม้ เช่น มังคุด สละ เงาะ ทุเรียน ลำไย มะพร้าว และอื่นๆ ให้เป็นสินค้าประเภท ผลไม้ลอยแก้ว กวน หยี แยม ทอฟฟี่ น้ำ 100% 80% 60% หรือขึ้นอยู่กับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูป ให้ทันต่อการแข่งขัน
605 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การออกแบบและเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับสินค้า
606 นายไพศาล โยมญาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการเกษตร
607 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม
608 รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Smart farming) - คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส
609 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม
610 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิฆเนศวร ทะกอง มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคโนโลยีการจัดการด้านการประชาสัมพันธ์ สื่อ การทำการตลาดออนไลน์ ผ่านเว็ปไซต์ เฟสบุค ไลน์ ของผู้ประกอบการ เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายในสังคมยุคดิจิตัล
611 ดร.ฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนาชุมชน การจัดทำแผนการตลาด ต้นทุนและผลตอบแทน การจัดการการเงินครัวเรือน
612 อาจารย์ปิยรัตน์ นาควิโรจน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การเลี้ยงผึ้งชันโรง - การแปรรูปน้ำผึ้งและผลผลิตจากชันโรง
613 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี ศรีราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การสกัดน้ำมันหอมระเหย รวมไปถึงการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
614 ผศ.ดร.จันทิมา พรหมเกษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ
615 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักเรศ เมตตะธำรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ
616 นายอุกฤษฎ์ นาจำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส
617 นางเกษร ประทุม มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ
618 ผศ.ดร.จิราวรรณ อุ่นเมตตาอารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Food Microbiology, Food safety, Natural antimicrobial product, Fermented food
619 ดร.สรรเพชร เพียรจัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกแบบบรรจุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบออกแบบนิเทศศิลป์ การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการตลาด การออกแบบสื่อโฆษณา
620 รศ.ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การจัดการโคนม การจัดการโรงงานอาหารสัตว์ (โคนม) การผลิตพืชอาหารสัตว์
621 รองศาสตราจารย์สุกัญญา กล่อมจอหอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การประเมินคุณภาพโดยประสาทสัมผัส
622 ผศ. ดร. รัชฎาพร อุ่นศิวิไลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
623 ดร.เพชรไพรริน อุปปิง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ การตลาด การบัญชี
624 อาจารย์ดุษฎี ศรีธาตุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
625 ดร.สมศักดิ์ บุญแจ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วัสดุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (วัสดุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วัสดุศาสตร์ -เทคโนโลยีเซรามิก -เทคโนโลยีซีเมนต์
626 ดร.พงษ์พันธุ์ ลีฬหเกรียงไกร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (จุลชีววิทยา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -ความหลากหลายทางชีวภาพสาหร่ายน้ำจืด -นิเวศวิทยาน้ำจืด -การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางน้ำ -สิ่งแวดล้อมทางน้ำ
627 ประธาน คำจินะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความเชี่ยวชาญ - IoT, Database, Information System, Web Application - เทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลกจริง(Augmented Reality)
628 พิมพ์ชนก สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยนเรศวร ความเชี่ยวชาญ -เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ -เทคโนโลยีทางการศึกษา -เทคโนโลยีสารสนเทศ -เทคโนโลยีและนวัตกรรม
629 สัญฌา พันธุ์แพง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -ระบบการจัดการฐานข้อมูล -ระบบสารสนเทศทางการเกษตร -ระบบสารสนเทศทางการศึกษา -Data Warehouse & Data Mining -Data Science & Big Data -Internet Of Things (IOT) -Predictive Analysis
630 ดร.อโนดาษ์ รัชเวทย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -Food processing -พอลิเมอร์
631 นายลิขิต ยอดยา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์
632 ผศ.ปวีณ์ริศา บุญปาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ศิลปอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 มิติ และการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ และการออกแบบกราฟฟิก
633 ศ.ดร.ปานฉัตร อินทร์คง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆฐออกแบบเครื่องประดับ,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบเฟอร์นิเจอร์,ออกแบบแฟชั่น
634 ศ.สมพร ธุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบผลิตภัณฑ์,ออกแบบแฟชั่น,ศิลปะประดิษฐ์
635 ศ.สมพร ธุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบผลิตภัณฑ์,ออกแบบแฟชั่น,ศิลปะประดิษฐ์
636 ดร.นิติศักดิ์ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ธุรกิจเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล (Business Analytics for Data-Driven Decision Making) - ระบบสนเทศและภูมิศาสตร์ และการสำรวจระยะไกล (Geographic Information System & Remote Sensing) - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
637 นางปาริชาติ อำนวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การจัดการฐานข้อมูล - การใช้เครื่องมือในการทำธุรกิจออนไลน์ - การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศ
638 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ ปวนสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข - การประยุกต์ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ - การประยุกต์ใช้ Good Agricultural Practice
639 สุรศักดิ์ นุ่มมีศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม
640 ดร.ปมณฑ์ ภูมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท. ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์มลพิษสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
641 ดร.ชาญ ยอดเละ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี B.Sc. (Chemistry) The University of New England, Australia วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.Sc. (Environmental and Ecological Science) Lancaster University, U.K. วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Environmental Science) University of East Anglia, U.K. ความเชี่ยวชาญ - การวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น การวิเคราะห์สารมลพิษทางน้ำและทางอากาศ รวมถึงสารตกค้างในสิ่งแวดล้อม
642 ดร.นครินทร์ พริบไหว มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - การผลิตสัตว์กระเพาะเดี่ยว - อาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว - วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ - Molecular Genetics
643 ดร.นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Food Science) Royal Melbourne Institute of Technology University, Australia ความเชี่ยวชาญ 1. วิทยกระแสและเนื้อสัมผัสของอาหาร (food rheology and texture) 2. การเปลี่ยนแปลงทางความร้อนและการเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้วในอาหาร (thermodynamics & glass transition in foods) 3. พอลิเมอร์อาหาร (food polymers)
644 ธิดารัตน์ หน่อสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -หลักการวิเคราะห์อาหาร เคมีอาหาร เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และสารต้านอนุมูลอิสระ
645 ดร.ณสิทธิ์ เหล่าเส็น มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ artificial intelligence, machine learning, deep learning, data analytics, image processing, natural language processing, knowledge based systems, ontologies, expert systems, recommendation systems, evolutionary computing
646 นางสาวทิพย์มณฑา ผกาแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบ
647 นางสาวชุติมา ช้างพุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบตราสินค้า ออกแบบโครงสร้าง และภาพประกอบบรรจุภัณฑ์
648 นางอุไรวรรณ ไกรนรา มูรานิชิ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, โรคติดเชื้อ, ปรสิตวิทยาทางการแพทย์, เทคนิคการแพทย์ ด้านปรสิตทางการแพทย์, โรคติดเชื้อ, ปฏิบัติการชันสูตรทางการแพทย์
649 นายพฤทธิพงศ์​ พุฒ​ขาว​ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์, การออกแบบกราฟฟิก
650 ดร.นิศากร ตันติวิบูลชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สรีรวิทยา และการประเมินสมรรถภาพ​
651 ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
652 ผศ.ดร.ทรงเกียรติ ภาวดี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีโรงเรือน, คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ, เทคโนโลยีการสื่อสาร, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things)
653 ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย​ เพชรช่วย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, การท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์​ ดาราศาสตร์​ ฟิสิกส์ศึกษา
654 ผศ.ดร.ผุสดี พรผล มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ Databade system, Data Analytics, Simulation
655 ผศ.ภูริณัฐ ปลัดสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์
656 ผศ. ศิวพงศ์ ทองเจือ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, สถาปัตยกรรม, การออกแบบภูมิทัศน์, การวางแผนและออกแบบเมือง / การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน / การออกแบบภูมิสังคมภายใต้แนวคิดศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาบรรพบุรุษ "1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญสถาปนิก เลขที่ ส-สผ. 26 สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับภาคี เลขที่ ภ-สถ. 15729 สาขาสถาปัตยกรรมหลัก (อยู่ระหว่างประกาศผลเป็นระดับสามัญ)"
657 ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
658 นางสาวภคมน กุลนุวงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ด้านอาหารว่าง อาหารประเภทของฝาก
659 นางสาวมณฑิตา พราหมณโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
660 รศ.ดร.ชญานิศ​ ลือวานิช มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีโรงเรือน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สุขภาพผู้สูงอายุ​ การพยาบาลผู้ใหญ่
661 ดร.สมพงศ์ บุญศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร
662 ดร.สุธิดา รัตนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ "- สกัดสารจากพืชเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ - การศึกษาพฤกษเคมีในพืช - การหาสารออกฤทธิ์จากพืช"
663 นางแสงระวี ณ พัทลุง มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร อาหารพื้นเมือง ขนมไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
664 ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
665 นางสาวอารยา ข้อค้า มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เภสัชวิทยา และการพยาบาล
666 ดร.อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product Chemistry)
667 นางสาวอุไรรัตน์. มากจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
668 ดร.สัญชัย ยอดมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, เทคโนโลยีกลิ่นรส (Flavour sciences) "1. การวิคราะห์รูปแบบของกลิ่น และรสชาติในอาหาร 2. การวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหาร 3. กระบวนการและเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร"
669 บุปผชาติ จันทร์สว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์ และการวิจัยทางด้านการตลาด calculus, numerical computing, computational mathematics, data analysis, marketing research
670 ธนภัทร์ ดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ฟิสิกส์ทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงสถิติ เทคโนโลยีควอนตัม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
671 ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา
672 ดร. ณัติฐพล ไข่แสงศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บรรจุภัณฑ์อาหารที่ย่อยสลายได้จากพอลิเมอร์ สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน
673 นางสาวรสริน ทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทั้งสาขาการนวดเพื่อการบำบัด การดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพแบบตะวันตก การแพทย์ทางเลือกต่าง รวมถึงการทำผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงการเป็นที่ปรึกษาการเปิดคลินิก ร้านนวด ร้านสปา เเละสามารถเรียนรู้การจัดตั้งสถานพยาบาลเพื่อสุขภาพในศาสตร์ของการแพทย์แผนไทย
674 นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบเครื่องแต่งกายสตรี บุรุษ และเสื้อผ้าเด็ก ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์สิ่งทอ พัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่สอดคล้องกับแทรนด์แฟชั่น
675 ผศ. นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ความรู้ทางด้านเวชกรรมแผนไทย ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ด้านหัตถเวชกรรมแผนไทย ทางด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic anatomy หรือ Histology) และด้านผดุงครรภ์แผนไทย เช่น การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักาทางการแพทย์แผนไทย เช่นเครื่องช่วยนวดกล้ามเนื้อ อุปกรณ์วิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสมุนไพร การทดสอบผลิตภัณฑ์
676 นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การดำเนินธุรกิจคลินิกการแพทย์แผนไทย การปลูกพืชสมุนไพรเพื่อการใช้เป็นยา ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางการแพทย์แผนไทย การนำสมุนไพรมาพัฒนา
677 ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างแบรนด์ต่อยอดตราสินค้าสิ่งทอไทย
678 ผศ.ดร.อรวัลภ์ อุปถัมภานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ การปรับปรุงคุณภาพอาหารทางโภชนาการ การพัฒนกระบวนการผลิตอาหาร
679 นางสาวโสภิดา วิศาลศักดิ์กุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ จากวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และวัสดุที่จำเป็นในการปฏิบัติงานด้านคหกรรมศาสตร์และศิลปประดิษฐ์ การพัฒนานวัตกรรมจากผลผลิตทางการเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
680 ดร.สุภา จุฬคุปต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ่งเหลือใช้เช่น กากกาแฟ กาบหมาก , พัฒนางานประดิษฐ์ และหัตถกรรมต่างๆ งานจักสานจากวัสดุทดแทนต่างๆ
681 ศาสตราจารย์ดร.ปานฉัตท์ อินทร์คง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ สร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก
682 ดร. พิมพ์สิรี สุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กระบวนการแปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
683 นางสาวเหมือนฝัน สุขมนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบบรรจุภัณฑ์ กราฟฟิคดีไซน์ การออกแบบตกแต่งภายใน
684 ดร.ชนากานต์ เรืองณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อาหาร
685 ดร.สุพิศ บุญลาภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารงานส่วนท้องถิ่น, กลยุทธ์การจัดการในองค์กร, รูปแบบการปกครองและการจัดการองค์กรในสภาวะวิกฤติ
686 ฐิญาภา เสถียรคมสรไกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการการตลาด, การท่องเที่ยวโดยชุมชน, นันทนาการการท่องเที่ยว
687 ดร.ธัญญาภรณ์ บุญยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาระบบสารสนเทศ,เทคโนโลยี infographic,เทคโนโลยี AR-Augmented Reality,ระบบเป็นต้น
688 ผศ.ดร. อัจฉรา ดลวิทยาคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก กระบวนการแปรรูปและโภชนาการ ทดลองอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และสกัดสารจากพืชสมุนไพร
689 ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย
690 นายจักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์
691 นางสุมลมาลย์ อรรถวุฒิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาด
692 ผศ.ผุสสดี วัฒนเมธา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การวางแผนการตลาด กลยุทธ์การตลาด การสร้างแบรนด์
693 ดร.ธานี สุคนธะชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การผลิต การออกแบบ และการบริหารงานด้านธุรกิจบรรจุภัณฑ์ การสร้างรูปแบบธุรกิจ วิสาหกิจเพื่อสังคม การพัฒนาธุรกิจชุมชน
694 นายวิโรจน์ ยิ้มขลิบ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจำหน่าย การออกแบบตราสินค้า
695 ดร.วรินธร บุญยะโรจน์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกิดสารตกค้าง ผลิตภัณฑ์และสารชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ (Waste Utilization) การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด กระบวนการผลิตที่สะอาด (Clean Technology) เศรษฐกิจหมุนเวียน การทดสอบสารปนเปื้อนของอาหาร น้ำดื่ม และพืชผัก การตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช - การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำดื่ม พืชผัก และสมุนไพร ตลอดจนการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช ในตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำดื่มน้ำใช้ น้ำบาดาล น้ำจากแหล่งน้ำสาธารณะ ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - อาหารปลอดภัย (Food Safety) - เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) - การวิเคราะห์สารองค์ประกอบของสมุนไพร ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - การบำบัดสารปนเปื้อนขนาดเล็ก (Micropollutants)
696 นางสาวอุทัยวรรณ ประสงค์เงิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบผลิตภัณฑ์ระบบอุตสาหกรรม งานความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน การนำวัสดุเหลือทิ้งมาแปรรูปและนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับงานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
697 นางสาวมยุรี เรืองสมบัติ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบผลิตภัณฑ์ระบบอุตสาหกรรม งานความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน, การออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับงานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมและ
698 ผศ.ดร.กิ่งกาญจน์ พิจักขณา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมรวมและการใช้วัสดุเพื่อให้สอดคล้องกับตัวผลิตภัณฑ์ การนำวัสดุใหม่มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ทันสมัย การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม งานสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน
699 นางสาวพิมพ์จุฑา พิกุลทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านวัสดุธรรมชาติ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ออกแบบกราฟิก ออกแบบบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ วัสดุเส้นใยธรรมชาติ การแปรรูปเส้นใยและวัสดุเหลือใช้ การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ด้านการตลาดเชิงพาณิชย์
700 นางสาวสุรภา วงศ์สุวรรณ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การสร้างสรรค์งานออกแบบ Graphic Design / Packaging Design /Digital Printing / Communication Design / Applied Art / Product Design เช่น บรรจุภัณฑ์ สื่อสิ่งพิมพ์ Ad โฆษณาในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร โปสเตอร์ โบร์ชัวร์ แผ่นพับ หรือในสื่อรูปแบบ E-Book และสื่อรูปแบบสื่อการเรียนการสอน E-Learning เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าการขายในเชิงพาณิชย์ได้จริง
701 นายสุรสิทธิ์ เลขมาศ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบบรรจุภัณฑ์
702 อาจารย์ปฏิวัติ ยะสะกะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก การ์ตูนอนิเมชันสองมิติ โมเดลสามมิติ ความเป็นจริงเสมือนสามมิติ และการถ่ายภาพ
703 ดร.อาณัฏ ศิริพิชญ์ตระกูล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีการพิมพ์
704 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การทำแบบตัดและการตัดเย็บ การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ การเลือกใช้วัสดุกับของตกแต่งและของที่ระลึก การเลือกใช้วัสดุกับงานสิ่งทอ การเลือกใช้วัสดุกับงานเครื่องหนัง การพัฒนานวัตกรรมด้านแฟชั่นและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
705 มัลลิกา จินดาซิงห์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 1) การใช้เครื่องหมาย โมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3) จุลินทรีย์ทางการเกษตร 4) การวิเคราะห์สารสำคัญทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร
706 นางสาวสังเวย เสวกวิหารี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สบู่ และสารทำความสะอาดในครัวเรือน การสกัดกลิ่นจากดอกไม้และสมุนไพรด้วยกระบวนการไฮโดรซอล
707 นายนุรักษ์ ไชยศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - การสร้างแอพพลิเคชั่นบน Mobile Device - การประมวลผลภาพ (Image Processing)
708 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมศักดิ์ พินธะ มหาวิทยาลัยพะเยา - Cell biology ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารเคมีจากพืช (phytochemicals) - งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและการรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันและไขมันในเลือด - การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
709 ดร.ศศิธร เพชรแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ระบบการจัดการผักปลอดภัย และการรับรองมาตรฐาน
710 ดร.วลัยลักษณ์ แก้ววงษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การผลิตกระบือแบบครบวงจร
711 อ.เพลินพิศ แจ้งโพธิ์นาค มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตพืช 2. การแปรรูปอาหาร
712 น.ส.พานทอง กุลสันติวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อ้อยอินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากอ้อยอินทรีย์
713 นางสาวกานต์ธีรา โพธิ์ปาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการและการตลาด
714 นางสวรรยา หาญวงษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการและการตลาด
715 ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์
716 ดร.กาญจนา ทวินันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
717 นายมนตรี ธรรมพัฒนากูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
718 นนท์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
719 กรรณิการ์ ประทุมโทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศสตร์และสังคมศาสตร์
720 นางสาวศิริภรณ์ บุญประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
721 รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมวิทยา
722 นางสาวนฤภร ปาลวัฒน์วิไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์
723 นางสาวอุ่นอารี ตลาดเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
724 นางสาวอมิตตา คล้ายทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
725 วิไรวรรณ แสนชะนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
726 สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ
727 นายอรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชีววิทยาและเกษตรศาสตร์
728 ดร.วิศรา ไชยสาลี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
729 อพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านชีววิทยาประมง
730 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ระบบน้ำหมุนเวียน การกำจัดของเสียZero Waste สรีรวิทยาสัตว์น้ำ ระบบคุ้มกันโรคกุ้ง การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อการประมง
731 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา สว่างอารมย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ ระบบน้ำหมุนเวียน การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อการประมง
732 นายอรรณพ ทัศนอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์และชีววิทยา กลุ่มวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
733 ดร.ณัชพัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร วิทยาศาสตร์ทางทะเล ด้านชีววิทยากุ้ง ปู และหอยทะเล เครื่องมือประมง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากทรัพยากรทางทะเล การสตาร์ฟสัตว์น้ำ
734 นายเฉลิมพล ถนอมวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์
735 สุริยาพร นิพรรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
736 ดร.จุฑามาส เพ็งโคนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การท่องเที่ยว การพัฒนาหลักสูตรเพื่อชุมชน การตลาดออนไลน์
737 นางสาวนาตาลี อาร์ ใจเย็น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สมุนไพรไทยปลาไหลเผือก
738 ดร.นงนาถ พ่อค้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี อณูชีววิทยา พันธุวิศวกรรม
739 นายมารุต พวงสุดรัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ ทดลอง วัดวิเคราะห์ ทดสอบ วิจัย ทางวิทยาศาสตร์ และจัดกิจกรรมอบรมทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน ครู และผู้ที่สนใจ
740 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงสิริ สยมภาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1.การผลิตอาหารปลอดภัย 2.การทดสอบตลาดและการทดสอบผู้บริโภค 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ๔. การประเมินคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
741 รองศาสตราจารย์ ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 2.อะโรมาเธอราพี 3.อาหารสุขภาพ
742 ผศ.ปราถนา ศิริสานต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ออกแบบและดีไซน์สื่อประชาสัมพันธ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น graphic ออกแบบบรรจุภัณฑ์ Design
743 ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
744 ดร.อรรถพล นาขวา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
745 นางวารุณี เหง่าศรี วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีส่งเสริมด้านการตลาด บัญชี การเงิน แลบริหาระธุรกิจ
746 นางสิรินทร เขียนสีอ่อน วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น พฤติกรรมผู้บริโภค การเขียนแผนธุรกิจ บัญชี การเงิน การตลาดออนไลน์
747 นางรัศมี รวีนิภาพงศ์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การเขียนแผนธุรกิจ การตลาด
748 ดร.ธนัช มหาสินทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ ปริญญาโท สาขาการสอนภาษาไทย ปริญญาตรี สาขาภาษาไทย สาขาประถมศึกษา ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านการบริหารการศึกษา - การวิจัยด้านการจัดการศึกษา
749 ผศ.ดร.ศุภฤกษ์ ธาราพิทักษ์วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านบริหารธุรกิจ
750 รศ.บุษบา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การประชาสัมพันธ์ การตลาด สร้างแผนกลยุทธ์การสื่อสาร
751 ดร.พีรพงศ์ งามนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food
752 ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โภชนาการ, อาหารเพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การประเมินการยอมรับของผู้บริโภค
753 ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ
754 ผศ.ดร.ประภาภร ดลกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
755 นายทองมี เหมาะสม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการส่งเสริมการเกษตร ด้านบริการวิชาการกลุ่มชุมชน ด้านการผลิตพืช
756 ผศ.อรสุชา อุปกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านสื่อโฆษณา ด้านการตลาด เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อทำสื่อโฆษณา ด้านการประชาสัมพันธ์
757 อาจารย์ลัดดาวัลย์ ชูทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยและการบริหารธุรกิจ
758 ผศ.ดร.กมลมาลย์ วิรัตน์เศรษฐสิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การสร้างเสริมสุขภาพ ดุลยภาพชีวิต
759 นางวาสนา ศิลป์รุ่งธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านการสร้างโมเดลธุรกิจSMEs
760 ดร.มธุรส ผ่านเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการพัฒนาเว็บไซส์ การพัฒนาแอพพลิเคชั่น
761 ดร.อัครวัฒน์ จตุพัฒน์วโรดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวางแผนการตลาด
762 ดร.ชาลิสา อภิวัฒนศร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การย้อมสีธรรมชาติ
763 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี polymer colloids, controlled/living radical polymerization in dispersed systems
764 ดร.รัตชพงษ์ เขียวพันธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
765 จุติญาณี จิตรสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร แผนพัฒนาผลิตภัณฑ์
766 ดร.อรวรรณ วนะชีวิน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัด การทดสอบฤทธิ์ต่อการทำงานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกลไกการเกิดโรคเบาหวาน (Glucosidase /Amylase) การทดสอบสารพฤษเคมีเบื้องต้น การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์
767 ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. อาหารปลอดภัย 2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 3. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 4. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
768 อาจารย์ กฤตยชล ทองธรรมสถิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๒. การตลาด ๓. การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ๔. การพัฒนาผู้ประกอบการ
769 อาจารย์ มาโนช รัตนคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การวิเคราะห์สารอินทรีย์ ๒. การสกัดสารสำคัญในพืชและสมุนไพร
770 อาจารย์ ยศภัทร เรืองไพศาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) ๒. เหมืองข้อมูล (Data mining) ๓. มัลติมีเดีย (Multimedia)
771 อาจารย์ อภิวัฒน์ จันโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และธุรกิจออนไลน์ 2. เซ็นเซอร์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ PLC และ เขียนจอสัมผัสอุตสาหกรรม
772 นางสาวเพ็ญพรรณ โกมลมิศร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางการตลาด
773 นาย ไพรัช โรงสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นผู้จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ศักยภาพชุมชนในการแก้ไขปัญหาความต้องการชุมชน
774 ดร. อนงค์นาฏ โสภณางกูร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. การแปรรูปอาหาร/เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 2. วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร 3. บรรจุภัณฑ์อาหาร 4. ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่/เบเกอรี่เพื่อสุขภาพ 5. ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
775 ดร.มีนนภา รักษ์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศออนไลน์ 3. การตลาดดิจิทัล
776 ผศ.ดร.ชนินทร์ มหัทธนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ด้าน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน การบริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้าน ระบบอินเทอร์ประสานสรรพสิ่ง (IoT)
777 ผศ.ดร. เสรี ปานซาง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ด้าน วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ด้าน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน ระบบอินเทอร์ประสานสรรพสิ่ง (IoT)
778 ดร.บุษราภรณ์ มหัทธนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบ การตลาดดิจิทัล
779 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น
780 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรารัตน์ มนต์ขลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร เชื้อราสาเหตุโรคพืช ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราสาเหตุโรคพืช การควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชโดยใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์
781 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร การผลิตสัตว์ปีก การผลิตสุกร โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง การผลิตอาหารสัตว์และโรงงานอาหารสัตว์การวิจัยด้านการผลิตสัตว์ในระบบอุตสาหกรรม
782 ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก - Ph.D. (Electrical and Information Engineering) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ - ด้านนาโนเทคโนโลยี - ด้านวัสดุศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - ด้านเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
783 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
784 ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร
785 ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
786 นายธีรพงค์ หมวดศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ การใช้เครื่องมือวิเคราะห์อาหารทางกายภาพ
787 นายอรรถพล พรหมทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การออกแบบเว็ปไซต์ การพัฒนาโปรแกรม การออกแบบกราฟ ฟิคและสื่อโฆษณาต่างๆ
788 ดร.อถิชัย จันทร์อุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การสร้างภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิก และการ ถ่ายภาพสินค้าและการตกแต่งภาพเพื่อการตลาดออนไลน์ สร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ ออกแบบและพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม
789 ผศ.ดร.อวยพร วงศ์กูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การใช้สารเคลือบเส้นใย การป้องกันเชื้อราในเส้นใย การใช้สาร ฟอกสีเส้นใย โดยมุ่งเน้นกรรมวิธีที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ครื่องสําอางค์และกระบวนใช้สมุนไพรในการผลิตเครื่องสําอางค์ การให้คําปรึกษาด้าน ส่วนผสม ขั้นตอนการผลิต การยืดอายุ และการเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
790 อาจารย์สุวิจักขณ์ ห่านศณีวิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ด้านการแปรรูปผักและผลไม้-การทําผลิตเครื่องดื่มนํ้าผักและ ผลไม้ กระบวนการแปรรูปอาหารด้วยความร้อน
791 ดร.เพียงออ ยี่สา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
792 อาจารย์พรประเสริฐ ทิพย์เสวต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีอาหาร มัลติมีเดีย การออกแบบ การตลาด
793 ผศ.ดร.สมคิด ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด และการเกษตรทุกรูปแแบบ
794 อาจารย์บุญธรรม แสงแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคพื้นบ้าน โคขุน โคเนื้อ
795 อาจารย์สุภาพร ไชยรัตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช บริหารธุรกิจ และการตลาด
796 อาจารย์เกวลี ชัยชาญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การทดสอบฤทธิทางกายภาพและชีวภาพของสมุนไพร การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพร การแยก กระบวนการผลิตเครื่อง สําอางค์ผสมสมุนไพร การผลิตสบู่แบบ cold process สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
797 ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
798 อาจารย์จักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
799 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบเนื้อดินท้องถิ่นเพื่อนำมาทำบรรจุภัณฑ์ภาชนะหุงต้ม สำหรับใช้ภายในครัวเรือน
800 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยปลาดุกปรุงสุกในบรรจุภัณฑ์พร้อมบริโภค
801 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบและยืดอายุผลิตภัณฑ์น้ำแกงส้มบรรจุขวด
802 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การควบคุมคุณภาพไข่เค็มดินสอพอง
803 สพ.ญ.ดร.พิมพ์ชนก โล่ห์ทองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การผลิตโคเนื้อปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และฟาร์มมาตรฐาน
804 นายสุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตลูกปลานิล
805 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรฤทธิ์ กอปรสิริพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเชื่อมโยงเครือข่าย การจัดการชุดความรู้ การตลาดชุมชนออนไลน์
806 นางสาวสารภี พาหา วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ การใช้โปรแกรม Office,งานฝีมือหัตถกรรม
807 นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีอาหาร การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร คุณภาพน้ำ
808 นายวินัฐ จิตรเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยา
809 นางสาวรจนา เชื้อโคกกรวด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา
810 นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร
811 อาจารย์กัลย์สุดา ดวงศรีแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี จุลชีววิทยาทางอาหารและการเกษตร
812 นายสุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจวิเคราะห์อาหารทางจุลชีววิทยา
813 นายสุชาติ เหลาหอม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจวิเคราะห์อาหารทางเคมี
814 สุกัญญา จำปาทิพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การควบคุมการผลิตไวน์ทางกายภาพ
815 นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพร
816 นายกมลพงศ์ รัตนสงวนวงศ์ มหาวิทยาลัยพะเยา การตลาดออนไลน์ การตลาดบริการ การประเมินตลาด
817 วรรทณา สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
818 นริศ สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
819 ศุภชัย สุทธิเจริญ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผักอินทรีย์ และพืชผักทุกชนิด
820 เกรียงศักดิ์ บุญเที่ยง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกมันสำปะหลังแบบปราณีต
821 ปริยาภรณ์ อิศรานุวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีด้านอาหาร การถนอมอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
822 มัณฑนา นครเรียบ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การทำนาโยนกล้า จัดการปัญหาดินเค็ม ระบบกังหันวิดน้ำเข้านา
823 มนตรี วงษ์สะพาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปข้าวฮาง ข้าวหมากข้าวฮาง
824 จิระพร ชะโน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการฟาร์มควายนม
825 สิริพิศ พิศชวนชม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์หาสารสมุนไพร
826 ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
827 ณัชชลิดา ยุคะลัง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสมุนไพร การจัดการสาธารณสุข
828 วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
829 อาคม เสงี่ยมวิบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
830 ปรีชา นวลนิ่ม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
831 สรัญญา ภักดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบลายผ้า สิ่งทอจากลายธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ
832 อภิเชษฐ์ ตีคลี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรม การออกแบบของที่ระลึก เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบบรรจุภัณฑ์
833 วิภาวี ไทเมืองพล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง การเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลี้ยงกบ การแปลงเพศปลา อุปกรณ์เลี้ยงกบสำเร็จรูป
834 ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเขียนระบบแอพพลิเคชั่น
835 ธนพล หนองบัว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านการสัตวศาสตร์ การจัดการฟาร์มโคและกระบือ การรักษาโรค การเหนี่ยวนำ ผสมเทียม
836 สุรศักดิ์ ขันคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีววิทยา ด้านพืชและสัตว์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ
837 อ.สพ.ญ.ดวงสุดา ทองจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีการผสมเทียม การปรับปรุงพันธุ์ โรคและรักษา
838 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา จำลองราษฎร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Management, Feasibility Study, Finance, Project Analysis, Managerial Accounting, Accounting and Finance for Manager
839 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ไพโรจนวุฒิพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์การตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค
840 ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอใยกัญชง
841 นายจักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง กับ ผลิตภัณฑ์
842 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงกล เพชรสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ การวางแผนการผลิต การจัดตารางการผลิต ด้านการสอน องค์การและการจัดองค์การ
843 อาจารย์กมลทิพย์ เดชะปรากรม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Incubator การให้คำปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรม Business Model Canvas Social Entrepreneur การจัดการวิสาหกิจกขนาดกลางและขนาดย่อม
844 ผู้ช่วยศาสตราจาย์วุฒิชัย สหัสเตโช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์การตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค
845 ดร. จิระภา จันทร์บัว มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ Corporate social responsibility
846 ดร. ศุภนารี พิรส มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Management Marketing Management
847 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ ซื่อประดิษฐ์กุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม News Investigative Journalism Tradition Media New Media
848 ดร. พัสกร ลี้วิศิษฏ์พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Management Marketing Management Service Marketing Feasibility Study
849 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ อุ่นปรีชาวณิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การตลาด การลงทุน โลจิสติกส์ วิธีวิทยาการวิจัย เทคโนโลยีการผลิต
850 อาจารย์ชลธิชา อยู่พ่วง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การตลาด
851 ดร. ดนชนก เบื่อน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Public Relations Human Resource Development Organization Development การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, การพัฒนาบุคลิกภาพ
852 อาจารย์ทัศนียา นิลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม, การออกแบบลวดลายและการตัดเย็บ
853 นายวันชนะ จูบรรจง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
854 ผศ.รุ่ง หมูล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
855 ผศ.น้ำฝน คงสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี
856 ดร.สริยา สุภัทรานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด
857 น.ส.รุจาภา สุกใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด
858 นางสาวขวัญเรือน ภูษาบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการบริหารกลยุทธ์และการวิจัยทางการตลาด, ด้านการสื่อสารทางการตลาด, ด้านการตลาดดิจิทัล/ตลาดออนไลน์, ด้านการสร้างคอนเทนต์, ด้านการจัดการธุรกิจเกษตร, ด้านการออกแบบ/อินโฟกราฟฟิค, การบริหารการอุดมศึกษาและการจัดการสหกิจศึกษา
859 ผศ.สมสมร พรพรรณพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
860 ดร.สุชีรา ผ่องใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะและการออกแบบบรรจุภัณฑ์
861 ดร. ณัฎวลิณคล เศรษฐปราโมทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหาร
862 ดร.นิตยา ภูงาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร และเคมีอาหาร
863 ผศ.ดร.สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ด้านอาหารและการเกษตร โปรไบโอติกและยีสต์
864 อ.ดร.โชติกา ฉิมงามเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาดและการบัญชี
865 อ.ทรงยศ กิตติชนม์ธวัช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านโภชนะศาสตร์สัตว์ การจัดการฟาร์ม
866 อ.สุภา ศรียงยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การผลิตพืชอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิดและระบบเปิด การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
867 อาจารย์สำเรียม คุมโสระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขาย การตลาดออนไลน์ การขับเคลื่อนบริบทชุมชนให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
868 นางสาวกาญจนา ชุมสงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการตลาดดิจิทัล/ตลาดออนไลน์, ด้านการสร้างคอนเทนต์,
869 ผศ.ดร.รัตนจิรา รัตนประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การปรับปรุงพันธุ์พืชไร่/พืชสมุนไพร ทักษะพื้นฐานทางการเกษตร
870 อ.รัตนเรขา อัจฉริยะพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านผ้าทอ การออกแบบลายผ้าทอ การย้อมสีผ้าจากวัสดุธรรมชาติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทออีสาน
871 อาจารย์ภัทริยา วาหมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การวางแผนธุรกิจและการตลาด
872 ผศ.ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคโนโลยีการผสมเทียมโคเนื้อแบบกำหนดเวลา
873 ผศ.ดร. ภาวิณี อารีศรีสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารจากสมุนไพร สมุนไพรวิเคราะห์พืชน้ำมันหอมระเหย
874 ดร.วงค์พันธ์ พรหมวงศ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการด้านเพาะเลี้ยงแมลง
875 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมยุทธ ไชยวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
876 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภกัญญา ขันชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมอุตสาหการ / วิศวกรรมอาหาร
877 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กานต์ จันทระ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมอุตสาหการ / บริหารอุตสาหกรรม
878 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตปลาหมอไทย
879 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ปลานิล
880 ดร.กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์
881 อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย
882 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวมวล ลดต้นทุนการผลิต อาหารสะอาด และลดระยะเวลาการตากแห้งของสินค้าทางการเกษตร
883 ผศ.ดร.ถนอม ทาทอง มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุน ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความเข้มแข็ง
884 ดร.อนิรุทธิ์ ผงคลี มหาวิทยาลัยนครพนม การต่อยอดธุรกิจแบบออนไลน์ ออฟไลน์ การจัดทำแผนการตลาด และแผนธุรกิจ
885 อาจารย์คมศักดิ์ หาญไชย มหาวิทยาลัยนครพนม ลดเวลา เพิ่มผลผลิต ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้าสิ่งทอ ผ้าคราม ผ้ามุก
886 อาจารย์อังศุมาลิน สมเทพ มหาวิทยาลัยนครพนม การออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ศูนย์ศิลปาชีพทอผ้าไหมบ้านท่าเรือเพื่อสร้างยอดขายและสร้างความน่าสนใจของสินค้า
887 นางสาวณัชชา ปาพรม มหาวิทยาลัยนครพนม การออกแบบบรรจุภัณฑ์แคปหมูเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กัยสินค้า
888 อาจารย์อังศุมาลิน สมเทพ มหาวิทยาลัยนครพนม การออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์ ให้กับผลิตภัณฑ์ของชุมชน เพื่อสร้างยอดขาย และสร้างความน่าสนใจของสินค้า
889 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม สร้างสีที่สวยงามให้กระติบข้าว ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
890 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม ผลิตวัตถุดิบสีย้อมผ้า จากคราม ลดระยะเวลาการผลิต
891 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ และผลิตภัณฑ์ไม้มงคลสำหรับผลิตสีย้อมผ้า ลดระยะเวลาการตากแห้ง ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
892 ผศ.ดร.นวพร รัตนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ออกแบบ และสร้างแบ รนด์สินค้า การเขียนแผน ธุรกิจ แผนการตลาดของ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
893 อาจารย์วรรภา วงษ์แสงธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การยกระดับมาตรฐาน สินค้า นวัตกรรมอาหาร
894 ดร.มัสธูรา ละใบเด็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วทน.Prebiotic ในการเลี้ยง กุ้ง
895 อาจารย์สุภาพร พาเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวและวัตถุดิบทางการเกษตรอื่นๆ
896 อาจารย์สุภาวดี โกยดุลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการจัดการคุณภาพนำ้ทิ้ง
897 อาจารย์วุฒิศาสตร์ คำคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ออกแบบ และสร้างแบรนด์สินค้าการเขียนแผนธุรกิจแผนการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชน
898 อาจารย์ณัฐกฤตา รักใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ออกแบบ และสร้างแบรนด์สินค้า
899 อาจารย์วิเชียร ดวงสีเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาเครื่องบรรจุผลิตภัณฑ์
900 อาจารย์อภิชยา นิเวศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
901 รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก
902 ผศ.ศรีชนา เจริญเนตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแบบจุภัณฑ์สินค้าในท้องถิ่น ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ออกแบบลวดลายผ้า
903 รองศาสตราจารย์ ดร. สุรินทร บุญอนันธนสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงสัตว์น้ำ
904 อาจารย์ศศิวัลย์ พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา มาตรฐานอาหาร, การจัดการ, วิทยากรชุมชน
905 อาจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การสร้างต้นแบบและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าที่แปรรูป การสร้างกิจกรรมทางการจัดจำหน่าย ทั้ง Online และOffline ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดในยุคปกติใหม่
906 อาจารย์ดำรงค์ศักดิ์ หัตถศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการอาหาร,การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
907 ดร.เกรียงไกร เหลืองอ าพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ แอปพลิเคชั่นบอกปริมาณฟอสฟอรัสในอาหาร
908 ผศ.ดร.บุศราภา ลีละวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแปรรูปข้าวและธัญพืช วิศวกรรมแปรรูปอาหาร สมบัติทางรีโอโลยีของอาหาร การพัฒนาผลิตภัรฑ์จากพืช
909 ผศ.ดร.กฤติยา เขื่อนเพชร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแปรรูปอาหารจากข้าว ผลิตภัณฑ์จากข้าว
910 ผศ. ลัดดาวัลย์ จำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีทางด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเครื่องจักร การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว
911 อ.พัฒน์ ทวีวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
912 รศ.ดร.สภุกร บุญยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลิตภัณพ์จากไผ่ เคมีใบไผ่ สารสกัดไผ่
913 อ.ปชาชิต ลิมวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการอาคาร การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
914 อ.เยาวลักษณ์ เกิดปั้น มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร รบบห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
915 ผศ.ดร.แสงโสม ตั้งสินพูลเพิ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบตราสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบและแปรรูปไม้ไผ่ การพัฒนาอินโฟกราฟิค
916 อ.ณัชชา สกุลงาม มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบ
917 ดร.จารุวรรณ พนมจีระสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การส่งเสริมด้านการตลาด
918 ผศ.ดร.กนกมน รุจิรกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
919 ผศ.ดร.วราวุธ ธนมูล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร
920 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรัชญา กฤษณะพันธ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Product Design & Furniture Design & Decorative
921 อาจารย์เอกวุฒิ จันทร์ส้ม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การตลาดออนไลน์/ พฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์/ การตลาดดิจิทัล (Online Marketing / Online Consumer Behavior / Digital Marketing)
922 อาจารย์ทรงพันธุ์ จันทร์ทอง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบเครื่องประดับ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์และบรรจุภัณฑ์ การออกแบบแบรนด์ การถ่ายภาพสินค้า
923 อาจารย์ศกุนิชญ์ จันทร์ทอง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ , การออกแบบกราฟิก
924 ดร.ปวีณา ดีกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม การแปรรูปข้าว
925 ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การผลิตเครื่องสำอาง
926 อาจารย์บัญชา จุลุกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
927 ผศ ดร คันธมาทน์ กาญจนภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สุขภาพ การแพทย์แผนไทย
928 อาจารย์วัชราภรณ์ พัทคัน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การแพทย์แผนไทย
929 อาจารย์ธนพร อิสระทะ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สุขภาพ การแพทย์แผนไทย
930 นายชัยวัฒนภัทร เลาสัตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฐานทุนทางวัฒนธรรม การพัฒนาแบรนด์และอัตลักษณ์องค์กร
931 อาจารย์เยาวลักษณ์ เตี้ยนวน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การแพทย์แผนไทย
932 รองศาสตราจารย์ ดร.มนัส ชัยจันทร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เทคโนโลยีอาหาร
933 รองศาสตราจารย์ ดร.วรวรรณ พันพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เทคโนโลยีอาหาร
934 อาจารย์ ดร.ปรัชญาพร เอกบุตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สัตวศาสตร์
935 อาจารย์ ดร.สลิลา เศรษฐไกรกุล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กายภาพบำบัด
936 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เวชศาสตร์เขตร้อน พยาธิวิทยาและพยาธิกำเนิดของมาลาเรีย
937 อาจารย์ ดร.วรัญญู วรชาติ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Computer Graphics
938 อาจารย์สิริชนก อินทะสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การสร้างแบรนด์ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ การเพิ่มช่องทางการตลาดออนไลน์
939 อาจารย์อภิชาติ พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านกระบวนการและการทำแผนบริหารจัดการกลุ่ม
940 นางสาวอมราวดี วงศ์เทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตลาด การสร้างแบรนด์
941 อาจารย์อนุพนธ์ พิมพ์ช่วย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทย มหาวิทยาลัยบูรพา ด้านวิศวกรรมเครื่องกล
942 ภก.ผศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร
943 รองศาสตราจารย์ ดร.อุไร จเรประพาฬ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การจัดการระบบสุขภาพชุมชน สารสนเทศทางสุขภาพ สารสนเทศทางการพยาบาล การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การดูแลมารดาก่อนและหลังคลอดในชุมชน
944 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กำไล สมรักษ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สุขภาพชุมชน
945 ศ.ดร.อาณัติ ลีมัคเดช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Block Chain การเงิน
946 อาจารย์นฤมล ชนะไพฑูรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรจุภัณฑ์ากเศษซากพืช
947 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม
948 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีกสวยงาม และสุกร
949 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีกสวยงาม และสุกร
950 นางสาวดุษฎี ศรีธาตุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การแพทย์แผนไทย และสิ่งทอ
951 นายสมเกียรติ ตันตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น
952 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร และการเก็บรักษา ด้วยการนำ วทน. มาใช้
953 ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
954 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอนอาหารและบรรจุภัณฑ์
955 น.ส.ชณิชา จินาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอมอาหาร และการเก็บรักษา ด้านการตรวจคุณภาพอาหาร
956 นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ด้านอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ด้านออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการนำ วทน. มาใช้
957 น.ส ธัญลักษณ์ บัวผัน (จบปริญาโทการแปรรูป และวิจัย) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและแปรรูปด้านอาหาร การทดสอบทางประสาทสัมผัส ทางเคมี ทางการยภาพ ด้านอาหาร
958 นางปรีดา ตัญจนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด
959 นางสาวคนึงนุช สารอินจักร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการออกแบบแบรนด์สินค้า
960 ดร.สิริกร กรมโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
961 นายศักดิ์ชัย ศรีมากรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์แอพพลิเคชัน, การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ
962 อาจารย์เจนจิรา เดชรักษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์จุลินทรีย์ในดินและน้้า การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์
963 อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
964 อ.นิพนธ์ คำแตง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาแอพพลิเคชั่น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
965 รศ.ดร.อัจฉราภรณ์ ดวงใจ มหาวิทยาลัยพะเยา การสกัดสมุนไพร การตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและทางชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพ ระบบทางเดินอาหาร เบาหวาน ลดไขมัน
966 นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ 2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology)
967 มงคล ยังทนุรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยี และคอมพิวเตอร์
968 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
969 อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัย กีฎวิทยา โรคพืช
970 พิมพ์นภา ภูฆัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
971 นางสาวรุ่งนภา ปวงอุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา หลักการออกแบบเบื้องต้น
972 นายทวีศักดิ์ แสนสง่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา คอมพิวเตอร์กราฟฟิก บรรจุภัณฑ์
973 นางสาวลัดดา ปินตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนธุรกิจ Business Model
974 นางสาวอุบลลักษณ์ กุณา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปักผ้า
975 อาจารย์นงลักษณ์ เล็กรุ่งเรืองกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การประดิษฐ์เครื่องอัดกระทงใบตอง เพื่อเป็นภาชนะสำหรับใส่อาหาร
976 นางทวีพร เรืองพริ้ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์กระบือให้มีคุณภาพและเหมาะสมกับการเลี้ยงของประเทศไทย
977 รศ.สพ.ญ.ดร.สุนทรี เพ็ชรดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นอุปดรณืที่ไว้เพื่อใช้ในการตรวจโรคกล้ามเนื้อหัวใจในแมว
978 นางสาวนุจนาถ นรินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นวัตวิถีของดีกำแพงแสน และเส้นทางท่องเที่ยวของอภเภอกำแพงแสน
979 นางสาวญาณิศา โกมลสิริโชค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การย้อมสีสิ่งทอด้วยสีสังเคราะห์
980 นายณัฐพงษ์ ปานขาว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การเพาะเลี้ยงปลานิลและการแปลงเพศปลานิล เพื่อให้ได้ผลผลิตดีกับเกษตรกรชาวประมงที่ต้องการเลี้ยง
981 ดร.สุรสวดี สมนึก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องดื่มเพื่อนำไปพัฒนาที่ส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ออกกำลังการและผู้เล่นกีฬา
982 ดร.ปิยนารถ ศรชัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ
983 นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ
984 นางทวีพร เรืองพริ้ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โคที่สามารถเลี้ยงในสภาพอากาศที่ร้อนของประเทศไทยได้ได้ดี ทนต่อโรค เห็บ และแมลง
985 ผศ.ดร.เกษตร นครเขตต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รูปแบบเมืองผู้สูงอายุต้นแบบ ถือเป็นองค์ความรู้ใหม่รองรับสังคมผู้สูงอายุ
986 ผศ.ดร.ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นมมะพร้าวอัดเม็ดที่ใช้บริโภคเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง
987 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตยานิตย์ มิตร์แปง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การออกแบบ
988 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชฎาพร ใจมั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
989 นาย พบสันต์ ติไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
990 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรนุช คำแปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีศิลป์
991 อาจารย์ ดร.ภาสินี ศิริประภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เซรามิก
992 อาจารย์ภัทรกร ออแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา บรรจุภัณฑ์
993 ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การย้อมสิ่งทอ
994 รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแพทย์แผนไทย สมุนไพร ยาสมุนไพร
995 ผศ.ดร.พิศุทธิ์สรัล ชิติโชติปัญญา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคมีสิ่งทอ
996 ผศ.ดร.ธีระยุทธ โหรานนท์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
997 รองศาสตราจารย์สุเพชร จิรขจรกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงพื้นที่ IOT
998 คืนจันทร์ ณ นคร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร,วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ, เครื่องดื่มและอาหารสุขภาพ, เทคโนโลยีแป้ง, Extrusion technology
999 อาจารย์เสรณี ศรีสุข มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีวัสดุและสิ่งทอ
1000 ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
1001 ผศ.ชุดาณัฏฐ์ สุดทองคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผลงานตีพิมพ์ The Computer Instruction Package on the Silkscreen Print Design: Content design techniques; Sudthongkhong C., Ketcham M.; 2017; เทปประชุมเงินสมทบ The study of the effectiveness of teaching contents through the computer assisted instruction in traditional Thai massage for health: Content design and media; Sudthongkhong C.; 2018; เทปประชุมเงินสมทบ
1002 อาจารย์ญาณพัฒน์ ลาภพาณิชยกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสัญลักษณ์
1003 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น
1004 อาจารย์ ดร.ภาวิณี เทียมดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
1005 ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
1006 ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
1007 ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
1008 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
1009 รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
1010 นางสาวรุ่งทิวา วงค์ไพศาลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สารพฤกษเคมีและการประยุกต์ใช้ เคมีอาหาร กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นสูง อาหารเพื่อสุขภาพ (functional food) การประยุกต์ใช้แป้งดัดแปรและไฮโดรคอลลอยด์ในผลิตภัณฑ์อาหาร
1011 นายกฤษฎิ์ พลไทย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด การประมง
1012 ดร.จักรกฤช ณ นคร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น/นิติศาสตร์
1013 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิษา สุวรรณเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การวิจัยสรรพคุณของกระชาย เพื่อการรักษาโรค
1014 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่แปรรูป
1015 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทาร์ต
1016 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สังข์สุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง
1017 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน
1018 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคโนโลยีกระบวนการผลิตสมุนไพร ประเภทแคปซูล
1019 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพร ประเภทแยม
1020 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ ผู้ช่วยศาส มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคนิคการสเปรย์ดรายผลิตภัณฑ์แปรรูป
1021 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
1022 นางสาวพชรพร ขำหรุ่น วิทยาลัยเทคนิคนครนายก การโรงแรม
1023 นางพัชรา ศรีคำ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก การโรงแรม การแปรรูป
1024 นายนรัท พูนเพิ่มสุขสมบัติ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก อิเล็กทรอนิกส์
1025 นางกฤษณา เฮ็งฉุน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก อิเล็กทรอนิกส์
1026 ดร.นฤมล มีบุญ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง
1027 ผศ.ดร.ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาดออนไลน์
1028 ผศ.ดร.วัฒนณรงค์ มากพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 1. พลังงานทดแทนจากกระบวน Fermentation 2. การจัดการขยะ 3. การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน 4. เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม
1029 ผศ.ดร.สายทอง แก้วฉาย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี ราวิทยา การเพาะเห็ด
1030 ดร.กนก เชาวภาษี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ระบบการผลิตและการจัดการสัตว์ปีก
1031 อาจารย์เปลื้อง บุญแก้ว มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก
1032 อาจารย์เกศเเก้ว ประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
1033 นายอนาวิน เปาะชู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการเลี้ยงแพะนม การแปรรูปนมแพะ
1034 อาจารย์วิจิตรา เฉิดฉิ้ม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีชีววิทยา
1035 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การผลิตไม้ผล
1036 ผศ.ดร.ซารีนา สือแม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยเฉพาะด้านสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก และการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
1037 ผศ.เมธาวัตร ภูธรภักดี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การสร้างและถอดบทเรียน การทำโมเดลธุรกิจ(BMC) การถอดบทเรียนโมเดลแบรนด์(Brand Canvas Model) การสร้างและสื่อสารแบรนด์ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารการตลาด การพัฒนาช่องทางการตลาด
1038 ดร. ทรงสิน ธีระกุลพิศุทธิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การยกระดับอุตสาหกรรมไมซ์อย่างครบวงจร - MICE Management - Customer Service Standards - Muslim-friendly Amenities - Venue Operation - Sustainable Event Practices
1039 นายศตายุ ร่มเย็น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - Transportation and Logistic System - Business Administration - Customer Service Standards - Incentive specialist
1040 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุสิดา หนูทอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๑. การแปรรูป และการควบคุมคุณภาพอาหาร ๒. เทคโนโลยีและการแปรรูปผักและผลไม้
1041 รศ.ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นวัตกรรมการเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดที่เตรียมด้วยเทคโนโลยี green extraction และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
1042 ภก.วิวิศน์ สุทธิธรรมสถิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดด้วยวิธี microwave extraction
1043 ภก.ธงธรรม สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
1044 นายณัฏฐ์ เศวตรพีพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - อุตสาหกรรมการผลิต - การบริหารจัดการ - SME-Coaching
1045 ดร.นุจิรา ทักษิณานันต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว 2. กระบวนการผลิตอาหารสัตว์
1046 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพรัช วัชรพันธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การตลาดและการเงิน
1047 ดร.ชูขวัญ เตชานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
1048 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง เล็กจริง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
1049 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารมี หนูนิ่ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - จุลชีววิทยาอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
1050 ดร.ปัทมาวดี คุณวัลลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
1051 ผศ.ดร. วิกันดา รัตนพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการแมลงศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมีอันตราย การใช้พืชกับดัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
1052 ผศ.ดร.สุรพล ฐิติธนากุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การวางแผนการผลิตและองค์ความรู้ในการผลิตผักอินทรีย์ให้ได้คุณภาพ
1053 ผศ. มานพ ธรสินธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ประโยชน์ไม้มีค่าในพื้นที่ และการผลิตถ่านและน้ำส้มควันไม้ที่ได้มาตรฐานทางการเกษตร
1054 ดร. บุญฑริกา ใจกระจ่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการระบบบัญชีการเงิน การศึกษาตลาดและวางแผนการตลาด
1055 นางสาวสุวรรณา รุ่งเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การสร้าง Mindset ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนวัฒนธรรม
1056 นางสาวนชพรรณ จั่นทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถยกระดับมาตรฐานและตอบโจทย์กลุ่มตลาดใหม่
1057 นางสาวอนัญญา ไทยบุญนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับ Trend Digital Marketing
1058 ดร. สุรวิทย์ นันทการัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การใช้วัสดุเหลือใช้ให้เกิดมูลค่าเพิ่มสร้างอาชีพ ๑) ฝึกสร้างผลิตภัณฑ์ของใช้ของตกแต่งจากวัสดุเหลือใช้ ๓) ฝึกออกแบบการนำวัสดุเหลือใช้ไปส่งเสริมและสร้างภาพลักษณ์ท้องที่ จัดสภาพแวดล้อมและก่อให้เกิดพื้นที่ท่องเที่ยวมิติใหม่
1059 ดร.สุธรรม ศิวาวุธ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิศวกรรมระบบการผลิต การรออกแบบผลิตภัณฑ์ การเลือกใช้วัสดุ
1060 ดร.วิไลลักษณ์ บินดาร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1061 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเนื้อผลิตภัณฑ์เซรามิก
1062 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
1063 สุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
1064 อ.ดร. สราวุฒิ แนบเนียร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนานักศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ
1065 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสต์และเทคโนโลยีการอาหาร การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีในเมล็ดข้าว
1066 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
1067 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปรรูปมะม่วงน้ำดอกไม้
1068 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีปฏิบัติการการแปรรูปกล้วยน้ำว้า
1069 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการเลือกใช้และทดสอบผลิตภัณฑ์น้ำพริกเผา
1070 นางสาวอังคณา ไพสิฐเฟื่องฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การใช้ประโยชน์จากเชื้อจุลินทรีย์ และการแก้ไขปัญหาในกระบวนการผลิตที่มีสาเหตุจากเชื้อจุลินทรีย์
1071 นางสาวหนึ่งฤทัย กาศสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เคมีวิเคราะห์
1072 ศิริพร นิลาศทุกข์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย งานด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ซึ่งอาหารเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิต การเก็บรักษา และเรียนรู้วิธีการยืดอายุ และรักษาคุณภาพของอาหารจึงมีความสำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวัน
1073 นางวิมล อำนาจผูก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและ โภชนาการ เทคโนโลยีอาหาร และทางด้านการทดสอบหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้พ และสิ่งแวดล้อม
1074 นางสาวสมัชญา มะลิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิเคราะห์ทดสอบตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อม
1075 นายสุทธิ มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด"
1076 นายกวินท์ จิตอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การปลูกผักอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการแปลงผักอินทรีย์และการป้องกันแมลง
1077 นายนครินทร์ แสงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ทดสอบทางด้านเคมี และมีความรู้ในด้านการป้องกันความปลอดภัยทางรังสี
1078 ดร. ชัยณรงค์ สินภู่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรคผึ้ง การวิเคราะห์คุณภาพน้ำผึ้ง สูตรอาหารเสริมสำหรับการเลี้ยงผึ้ง
1079 ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาตรฐานการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ การเเปรรูป พัฒนากระบวนการผลิต
1080 ดร. วศิน วงศ์วิไล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ทางด้านเคมี, เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อม, พัฒนาชุดทดสอบ (Test kit)
1081 นางธิดาพร โคตรพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การทดสอบทางจุลินทรีย์ในอาหาร
1082 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย้อมเส้นไหมด้วยสีสกัดจากแก่นฝาง
1083 รศ.ดร. สุพร จารุมณี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตำรับยา เครื่องสำอาง การรักษาด้วยสมุนไพร การสมานเเผล การพัฒนาเเคปซูลชนิดรับประทาน ยาภายนอก
1084 รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
1085 อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบ
1086 รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ
1087 รศ.ดร.ภญ วรรธิดา ชัยญาณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง การสกัดสารสำคัญเพื่อใช้ในเครื่องสำอาง สารต้านอนุมูลอิสระในการดูเเลผิว
1088 ผศ.ดร.พันธ์ทิพย์ ตันอร่าม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การใช้สารสกัดใบเหมียดแอ่เป็นสารช่วยย้อมติดสีไหม
1089 ผศ.ดร.แววดาว ดาทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การป้องกันแมลงศัตรูพืชในนาข้าวด้วยชีววิธี และการใช้สารเคมี ในนาข้าวหอมมะลิด าและข้าว สังข์หยดโคราช บริเวณพื้นที่อ าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
1090 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเนื้อผลิตภัณฑ์เซรามิก
1091 อาจารย์ ดร. อิษฏ์ รานอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเนื้อผลิตภัณฑ์เซรามิก
1092 อาจารย์ ดร. อิษฏ์ รานอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเนื้อผลิตภัณฑ์เซรามิก
1093 ผศ.ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ส่วนเหลื่อมตลาด การส่งผ่านราคา และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
1094 นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1095 ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่
1096 ดร.สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ
1097 นางสาวสุกัญญา ทับทิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านฟิสิกส์ทางการเกษตร ฟิสิกส์พลังงาน ชีวมวลและวิจัยในชั้นเรียนทางฟิสิกส์
1098 อาจารย์ ดร. อิษฏ์ รานอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเนื้อผลิตภัณฑ์เซรามิก
1099 นางสาวพัชญทัฬห์ กิณเรศ มหาวิทยาลัยนครพนม ไม้กวาดจากขวดลพาสติก ที่มาจากขวดพลาสติกเหลือใช้ของชุมชน
1100 ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
1101 ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านความปลอดภัยอาหาร และการวิเคราะห์การปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การประเมิน และยืดอายุการเก็บรักษาในผลิตภัณฑ์อาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าจากผลิตผลทางการเกษตร
1102 นายศุภกร วงศ์สุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านกีฏวิทยา
1103 ดร.อรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา แบคทีเรียดื้อยา และยีนดื้อยา
1104 ผศ.ดร.สุริยาพร นิพรรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเคมีอาหาร ด้านสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ข้าว และผลิตภัณฑ์จากข้าว การประยุกต์ใช้คลื่นเสียงในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ออนาคต
1105 ดร.สุจริตพรรณ บุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและแมลงศัตรูพืช
1106 นายมรกต ทองพรหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS)
1107 นายมงคล ยังทนุรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาเว็บไซต์ม การทำเหมืองข้อมูล
1108 ดร.นิจฉรา ทูลธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาผลิตภัณฑ์กราโนล่าจากข้าวอินทรีย์
1109 ดร.ศรีรุ่งรัตน์ สุดสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การถ่ายทอดองค์ความรู้ การบัญชี การจัดการ การตลาด
1110 ดร.ลือชัย บุตคุป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การถ่ายทอดเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์
1111 อ.วจนะ ภูผานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตลาด การบัญชี
1112 นางสาวกานต์สุภัค นพรัตน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและขอการรับรอง
1113 อ.ชุมศักดิ์ ศรีบุญเรือง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบและบริหารภูมิปัญญาชุมชน/การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและแผนธุรกิจการตลาด
1114 ดร.นุชสุภา สุนทมาลา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทบสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและสมุนไพร
1115 ดร.ธีรพรรณ อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการ บริหารธุรกิจ การเงิน
1116 นายศรันยู คำเมือง saranyu.k@msu.ac.th มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตรวจสอบคุณสมบัติข้าวฮางอินทรีย์ ชาข้าวฮางอินทรีย์ และ ชุดตรวจสอบคุณสมบัติข้าวสำหรับเกษตรกร
1117 นายคมศร เลาห์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนากระบวนการต้มเกลือ การผลิตดอกเกลือ และชุดตรวจสอบความเค็ม
1118 นางสาวมนชยา เจียงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
1119 ผศ.มลิจันทร์ ทองคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตลาด การบัญชี การจัดการ
1120 นายสถิติพงษ์ เอื้ออารีมิตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Multimedia, Photography, Content Marketing, Knowledge Management
1121 นางศิริรัตน์ ดีศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
1122 ดร.ทัตดาว ภาษีผล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารทุกชนิด
1123 อังคณา จันทรพลพันธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารทุกชนิด
1124 อ.วรัญญู แก้วดวงตา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกพืชทุกชนิด
1125 อ.บุษบา ธระเสนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหาร
1126 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา เดชะรัตนางกูร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. Food Processing and Product Development 2. Hydrocolloid and applications 3. Rice and rice products
1127 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ สิมะไพศาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1128 อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
1129 อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัดสุศาสตร์
1130 อาจารย์ธินันท์ธณัฐ อิทธิธาดานันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กลยุทธ์การตลาด การจัดการการตลาด
1131 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุทธิดล ปิยะเดช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สัตวศาสตร์,zoonosis,ระบาดวิทยา ชีวะสารสนเทศ,สุขภาพสัตว์ การจัดการฟาร์มและโรคสุกร
1132 ดร.ชยพล มีพร้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ โภชนศาสตร์สัตว์ การผลิตโค เทคโนโลยีอาหารสัตว์
1133 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชาญ เหลืองมณีโรจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Machine learning, Data Analysis, Artificial intelligence,Computer Science, เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์, Data Mining, AI for Agriculture
1134 อาจารย์ พูนศิริ หอมจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านเคมี
1135 นายกฤษณธร สินตะละ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน มีความเชี่ยวชาญด้าน การผลิตสัตว์ การปรับปรุงพันธ์สัตว์ การผสมพันธุ์สัตว์
1136 ผศ.กฤติน ชุมแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แปรรูปอาหาร ขนม
1137 นางปานฉัตร อินทร์คง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ สร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก ออกแบบและสร้างต้นแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
1138 ผศ.ดร.มณีภัทร์ ไทรเมฆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและรายได้ ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการตลาด
1139 ผศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การนำไมโครและนาโนแคปซูลในการปรับคุณสมบัติของผ้า เช่นการปรับสภาพความร้อน ให้มีกลิ่น ผ้ากันยุง เป็นต้น และด้านอาหารเช่นเทคนิคการกักเก็บสารสำคัญของอาหารโดยใช้พอลิเมอร์ เป็นต้น
1140 อาจารย์กมลทิพย์ ต่อทรัพย์สินชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบรูปแบบของผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมทางด้านการตลาด และออกแบบกราฟิกเพื่อใช้ในงานบรรจุภัณฑ์
1141 อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
1142 ผศ.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้เทคนิคทางทางชีววิทยาโมเลกุลในการพัฒนาชุดตรวจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร พัฒนาสารถนอมอาหารทางชีวภาพ
1143 ผศ.จุฑามาศ เจริญพงษ์มาลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
1144 ผศ.ชมภู่ ยิ้มโต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูปอาหาร ตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์
1145 ผศ.โชติมา โชติกเสถียร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การส่งเสริมการขาย. การพัฒนากลยุทธ์การตลาด ตลาดออนไลน์
1146 อาจารย์ณกันต์วลัย วิศิฎศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดสมุนไพรในระดับเซลล์และโมเลกุล การค้นหากลไกการทำงานของยา และสารสกัดสมุนไพร
1147 อาจารย์นวพร ลาภส่งผล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เคมีอาหาร เคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์กลิ่นในอาหาร โปรตีนไฮโดรไลเซท การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ไอศกรีม
1148 อาจารย์นัจภัค มีอุสาห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ออกแบบเว็บไซต์ของชุมชุน
1149 ผศ.นันท์ชนก นันทะไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การเก็บรักษาผลิตผลสดทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว 2. การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุมและสภาพบรรยากาศดัดแปลง 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
1150 อาจารย์เบญนภา พัฒนาพิภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบแบนเนอร์เพื่อโฆษณาโปรโมชั่นให้กับร้านขายอุปกรณ์ทำอาหาร เป็นต้น
1151 ผศ.ดร.พรรณราย รักษ์งาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทดสอบสมบัติสิ่งทอ สมบัติเส้นใยและผ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบสมบัติวัสดุสิ่งทอ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตสิ่งทอ
1152 ผศ.อรรคพล เชิดชูศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การแปลงภาพถ่ายให้เป็นภาพสีน้ำมัน สุนทรียภาพในศิลปะบนบรรจุภัณฑ์ ศิลปวัฒนธรรมและการสร้างสรรค์ศิลปะดิจิตอล ศิลปะดิจิตอลร่วมสมัย ภาพถ่ายและงานศิลปะ
1153 อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น
1154 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
1155 รองศาสตราจารย์ ดร.เอกอุมา อิ้มคำ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
1156 ผศ.ดร. จุไรรัตน์ กีบาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลกลุ่มเด็กปฐมวัย
1157 รศ.ดร.พานทิพย์ แสงประเสริฐ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การพยาบาลสุขภาพชุมชน
1158 ผศ.ดร. พนิดา ศิริอำพันธ์กุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1159 ดร.สวรักษ์ จันทรเทพธิมากุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีการจัดการความปลอดภัยอาหาร
1160 ดร.ฉัฐสิณี หาญกิตติชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปทางการเกษตร, การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
1161 ดร.ดิเรก บุญธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, ฟิสิกส์วิศวกรรม
1162 นางสาวกัญญ์ฐญา ทรัพย์ทวีธนกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การส่งเสริมด้านการตลาดและเข้าถึงผู้บริโภคผ่านกระบวนการออนไลน์ การเชื่อมโยงตลาดของผลิตภัณฑ์บูรณาการกับการท่องเที่ยว
1163 อาจารย์ทวีศักดิ์ คงตุก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การทำการตลาดบนสื่อออนไลน์ วิสาหกิจชุมชน
1164 อาจารย์ปฐมพงศ์ สมัครการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การวิเคราะห์อาหาร
1165 ผศ.ภัทราวดี ศิริวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำE-Book เรือนไทยภาคกลาง
1166 ผศ.ดร. มานิดา เชื้ออินสูง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การตลาดแห้วปลอดภัยตามมาตรฐานจีเอพีและแห้วอินทรีย
1167 นายคฑาวุธ ถวัลย์วิลาสวงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวการจัดการธุรกิจ /การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจ/โครงสร้างข้อมูลอัลกอริทิม
1168 ดร.ผกามาศ ไพโรจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวกับการจัดการข้อมูล / ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ / การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
1169 ผศ.ณัฏฐาพงศ์ อภิโชติเดชาสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญ : การพัฒนาชุมชน
1170 นายสยาม หนูเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การส่งเสริมการเกษตร
1171 นางอัญชาภัทร์ โพชนุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การส่งเสริมการเกษตร (ศูนย์การเรียนรู้)
1172 นางสาวจิรรัชต์ กันทะขู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การรอบแห้งผักผลไม้ , การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1173 ผศ.ดร.วราภรณ์ โกศัลวิตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม
1174 ดร.ปิยสุดา เทพนอก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้ำ
1175 นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำลูกประคบเพื่อสุขภาพ การนวดคอ บ่า ไหล่เพื่อความผ่อนคลาย
1176 นายวินัฐ จิตรเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ
1177 นางสาวรจนา พิทักษ์ธันยพร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ
1178 นายธีระ ธรรมวงศา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
1179 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชาวลิต อุปฐาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีความเชี่ยวชาญในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ อาหารไทย ขนมไทย การแกะสลักผักผลไม้ เป็นต้น
1180 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา ปาปัดถา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เทคโนโลยีดิจิทัล คอมพิวเตอร์กราฟิก และสื่อสิ่งพิมพ์
1181 อาจารย์ ดร. ศุภรัตน์ วัลกานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การจัดการ
1182 อาจารย์ ดร. โชติกา ฉิมงามเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาด,บริหารจัดการ,บริหารธุรกิจ,การจัดการบัญชี,ระบบการจัดการ
1183 อาจารย์ รังสรรค์ นามวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
1184 อาจารย์ ดร.ภรณี หลาวทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาด
1185 อาจารย์ ธีรนุช สุมขุนทด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ บริหารทรัพยากรมนุษย์
1186 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์วรรณ สรรพสัตย์ มหาวิทยาลัยพะเยา เรื่องการเลี้ยงผึ้งโพรงไทยตามวิถีภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์ จากผลิตภัณฑ์ผึ้ง http://www.science.up.ac.th/downloads/1647831490.pdf
1187 ดร.อัญชลี จันทาโภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านสุขภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพยาบาลมารดา ทารก และการจัดการเครือข่ายสุขภาพ
1188 ผศ.ดร.เบญจวรรณ ศฤงคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี บริหารธุรกิจ การจัดการ การพัฒนาธุรกิจวิสาหกิจชุมชนด้านการบริหาร
1189 ผศ.ดร.อรจิรา ธรรมไชยางกูร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว และการประเมินผลความสำเร็จการดำเนินงาน
1190 นางสาวปาริชาติ ช้วนรักธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด, การตลาดดิจิทัล, การพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการ และการขนส่ง
1191 นางพจมาน วงษ์วิบูลย์สิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินงานจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ทำหน้าที่ได้ประสานงานติดต่อกับผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินจัดกิจกรรม จัดโครงการต่างๆ รวมถึงได้ลงพื้นสำรวจความต้องการของชุมชน และหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคณะทำงานมีการจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา โครงการต่างๆ ที่คณะได้จัดขึ้นจะยึดตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าของชุมชน เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วย
1192 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
1193 นางสาวนภาพร ภู่เพ็ชร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1. คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมพื้นฐานช่วยในการพัฒนางาน การออกการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการฐานข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการวางแผน การศึกษา การวิเคราะห์ การทดสอบ การประเมินผล และการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการใช้งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 2. ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการพัฒนา และปรับปรุงสูตรอาหาร ให้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแตกต่างจากที่มีอยู่เดิม และตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
1194 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1195 ผศ.ดร. ตรี วาทกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพ การการออกแบบบรรจุภัณฑ์
1196 ผศ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม การใช้ฮอร์โมนกระตุ้นการเป็นสัดแม่โค ชนิดสังเคราะห์แบบฉีด
1197 อาจารย์นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านหัตถเวช ด้านการนวดต่างๆ นวดเพื่อการรักษาอาการต่างๆเป็นต้น
1198 พทป.สรัญญา ชะงัดรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แปรรูปสมุนไพร ดูแลให้คำปรึกษาที่คลินิกกัญชา
1199 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม
1200 ผศ.ชูชัย พิทักษ์เมืองแมน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การถ่ายภาพโฆษณาสินค้าเพื่อใช้กับการขายออนไลน์ การคำนวณต้นทุน การทำบัญชีครัวเรือน
1201 นางสาวศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดดิจิทัล การตลาดออนไลน์ การจัดการการค้าปลีกและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การบริหารธุรกิจการตลาด
1202 นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
1203 นางสาวนิตยา วันโสภา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สร้างแบบเสื้อผ้าบุรุษและเสื้อผ้าสตรี ออกแบบเครื่องแต่งกายเสื้อผ้าสตรี
1204 ผศ.จุติพร ปริญโญกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ การบริหารประเด็น การจัดการภาวะวิกฤต การใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาดเพื่อเพิ่มกระตุ้นยอดขาย ขยายกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ
1205 นางสาวฐิติมา พุทธบูชา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบและตัดเย็บ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายสําหรับสุภาพสตรี
1206 นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบลวดลายผ้า พัฒนาคุณสมบัติผ้า ด้านสิ่งทอ
1207 นางสาวกรชนก บุญทร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ - การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ - แนวโน้มแฟชั่น (Trend) การออกแบบตราสินค้า
1208 ดร. มัทธนี ปราโมทย์เมือง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งและของที่ระลึก, การออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน, การออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ ด้านการออกแบบตราสินค้า, การออกแบบบรรจุภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ และการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์
1209 นาย สุชาติ เหลาหอม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ
1210 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร
1211 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1212 อ.ดร.สุวรณี ปานเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
1213 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการเกษตร
1214 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
1215 ผศ.ประมวล แซ่โค้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การผลิตพืชผักปลอดภัย
1216 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
1217 ผศ. นเรศ ขวัญทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออกแบบ Web Application - การออกแบบระบบฐานข้อมูล - การออกแบบและวิเคราะห์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การออกแบบ Application ด้วยภาษา C , VB
1218 นายภูมินทร์ อินทร์แป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง มีความเชี่ยวชาญด้านการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1219 นางสาวศิรินันทร์ นาพอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ระบบค้นคืนสารสนเทศ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ - ระบบให้คำแนะนำ
1220 นางสาวหทัยรัตน์ บุญเนตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - คอมพิวเตอร์อาร์ต
1221 อาจารย์บุญสมหญิง พลเมืองดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ให้คำแนะนำแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะกับสินค้าสื่อเอกลักษณ์ชุมชน
1222 อาจารย์ชื่นสุมณ ยิ้มถิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยใช้สมุนไพรและพืชสวนครัว
1223 อาจารย์นนทลี บุญทัด การุณยศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้ในการตลาดแบบมืออาชีพ,การพัฒนาด้านอาหารผสมผสานกับคุณค่าของพืชสมุนไพร
1224 อาจารย์เกษสิริ ศักดานเรศว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การผลิต ต้นทุนและการจัดจำหน่าย การวิเคราะห์และการวางแผน
1225 อาจารย์บัญจรัตน์ นิรโศก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การให้ความรู้ในการเพิ่มช่องทางการขายสินค้า​ ทางออนไลน์,แนะนำผลิตภัณฑ์​ให้มีความทันสมัยน่าสนใจ​ ให้เข้ากับกลุ่มลูกค้า
1226 อาจารย์สุวรรณี หงษ์วิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา กลยุทธ์ทางการตลาด การบริหารจัดการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์
1227 ผศ.ดร.ภิญญดา รื่นสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การเพิ่มมูลค่า การผลิตด้วยเทคนิคการจัดการสมัยใหม่ การสร้างกลไกการตลาดอาหารปลอดภัยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
1228 อาจารย์ ดร.วราภรณ์ แก้วคอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพาะเห็ดโดยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่น และใช้ประโยชน์และการแยกเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า
1229 นางสาวภคพร สาทลาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
1230 ดร.ชาติรส จิตรักษ์ธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตลาดออนไลน์
1231 อาจารย์ปทุมพร หิรัญสาลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านบัญชีธุรกิจ
1232 ดร.รัฐกร มิรัตนไพร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงโคเนื้อโคนมครบวงจร/ อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
1233 นายพงษ์สิทธิ์ พิริ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การจัดโปรแกรมทัวร์ การเป็นวิทยากร มัคคุเทศน์
1234 กัญญา ภัทรกุลอมร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบลวดลายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้า
1235 อ.กัลยาภรณ์ จันตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านเคมีและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
1236 นางสาวอภิญญา กันธิยะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การพัฒนาผลิตภัณฑ์และราคา, การบรรจุภัณฑ์, ช่องทางการจัดจำหน่าย, การจัดการการขาย, เทคนิคการขาย, การจัดการการค้าปลีก
1237 นางสาวกอบแก้ว บุญกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีส่งเสริมด้านการตลาดออนไลน์
1238 นายจตุรงค์ เชือนไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ การออกแบบ
1239 อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
1240 นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำแชมพูสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การสกัดน้ำมันสมุนไพร
1241 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีการย้อมสีไหม ฝ้ายด้วยวัสดุธรรมชาติ
1242 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
1243 นิเวศ จีนะบุญเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจ, การจัดการนวัตกรรม, การจัดการโลจิสติกส์, การพัฒนาผู้ประกอบการ startup, การออกแบบและพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมสำหรับธุรกิจ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง สามารถออกแบบและพัฒนารูปแบบธุรกิจกลยุทธ์ธุรกิจที่ทำให้ผู้ประกอบการมีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถทำให้เกิดการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน
1244 ดรัณภพ อุดแน่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานเกี่ยวกับสินค้าเกษตรเพื่อศึกษาวิธีการดำเนินงานที่ควรปรับปรุงให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นพร้อมทั้งลดต้นทุนและเพิ่มช่องทางจัดจำหน่าย
1245 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตวิชญ์ สุขอึ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่
1246 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติชัย จันธิมา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปรสิตวิทยา, นิเวศวิทยาน้ำจืด ความหลากหลายและอนุกรมวิธานของพยาธิใบไม้ ระบาดวิทยาของพยาธิใบไม้ในโฮสต์กึ่งกลาง ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำกับโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้
1247 ราตรี พระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สมุนไพร
1248 ผศ.เอกลักษณ์ สุมนพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
1249 ผศ.ซินเนีย รัติภัทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การจัดการธุรกิจ การจัดการความรู้ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ แผนธุรกิจ
1250 ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การบริหารจัดการกลุ่ม - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและสิ่งทอ - การออกแบบบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายและ การตลาดออนไลน์
1251 ดร.เจนจิรา ฝั้นเต็ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การบริหารจัดการการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงชุมชน
1252 ดร.จิตรา ปั้นรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การเขียนแผนธุรกิจ - การวิเคราะห์ต้นทุน - การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการตลาด
1253 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การแปรรูปอาหาร
1254 อาจารย์ธนวรรธน์ ท้าวนอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ เซรามิกส์และการออกแบบ- งานเซรามิกส์ - ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก - งานจิตรกรรม
1255 ผศ.ทิวา แก้วเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ กราฟิกและผลิตภัณฑ์ OTOP- ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก - ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม - งานผลิตภัณฑ์ต่างๆ
1256 ผศ.ดร.สุรินทร์ พิทักษ์สิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการแผนธุรกิจ OTOP SME
1257 ปิยรัตน์ วงศ์จุมมะลิ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การค้นหาทุนชุมชน ปราชญ์ และการจัดตั้งกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
1258 อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
1259 ผศ.ดร.ธนกร สิริสุคันธา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การบริหารและการจัดการชุมชน การมีส่วนร่วม
1260 อาจารย์ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
1261 ผศ ละมาย จันทะขาว มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง วิเคราะห์คุณภาพน้ำ ทางด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ และการบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรม
1262 อาจารย์อนุกิจ​ เสาร์แก้ว​ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง iot Smart city, iot​ ควบคุม​ทางการเกษตร​,iot​ งานอุตสาหกรรม​, iot ​environment monitoring, Mobile Application Devloper
1263 ผศ. กาญจนา รัตนธีรวิเชียร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การตลาดออนไลน์
1264 ผศ.สุรพงษ์ เพ็ชร์หาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์,network,iot
1265 อาจารย์ปรมินทร์ วงษ์คำสิงห์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง สื่อ นวัตกรรรมทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
1266 ผศ.พงษ์พร พันธ์เพ๊ง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คอมพิวเตอร์กราฟิก และมัลติมีเดีย แอนิเมชัน
1267 ผศ.ว่าที่ ร.ต. ดร. โอฬาร เชี่ยวชาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง smart farm
1268 เยาวลักษณ์ งามแสนโรจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Digital Marketing การท่องเที่ยว
1269 ผศ.สมัย ศรีสวย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และโปรแกรมภาษา
1270 นายสมศักดิ์ ก๋าทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การจัดการชุมชนและภูมิปัญญา
1271 อาจารย์สุธาทิพย์ ไชยวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การเลี้ยงสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ไก่พื้นเมือง
1272 ผศ.ดร.อรอง จักกะพาก จันทร์ประสาทสุข มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีการยืดอายุผลิตภัณฑ์
1273 อ.ดร.จุฬารัตน์ หงส์วลีรัตน์ มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีการยืดอายุผลิตภัณฑ์
1274 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารและน้ำทางด้านจุลชีววิทยา
1275 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา การเพาะเลี้ยงปลานิลหมัน
1276 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา กบคอนโดและกบนอกฤดูหนทางสู่ความพอเพียงวิถีเพียงพอที่ยั่งยืนแด่พ่อหลวงไทย
1277 ผศ.ดร.ตระกูล พรหมจักร มหาวิทยาลัยพะเยา ความปลอดภัยทางอาหาร
1278 ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล มหาวิทยาลัยพะเยา การใช้สภาพบรรยากาศดัดแปลงในระยะสั้นหลังเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพและการเกิดสี่น้ำตาลของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย (อพ.สธ.)
1279 ดร. ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาอาหารหมักจากเมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เสริมด้วยผลไม้เศรษฐกิจตามฤดูกาลเพื่อเลี้ยงโคขุน
1280 รศ.ดร.โชค โสรัจกุล (มิเกล็ด) มหาวิทยาลัยพะเยา อาหารสัตว์หมักจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
1281 รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ ปิ่นมงคลกุล มหาวิทยาลัยพะเยา การประยุกต์ใช้นวัตกรรมบริหารจัดการน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินยกระดับขีดความสามารถ ชุมชนเพื่อรับมือภัยแล้ง ตำบลฝ่ายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
1282 ดร.สุทธิดา ปัญญาอินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1283 นางสาวขนิษฐา หอมจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การจัดการระบบฐานข้อมูล การพัฒนาเว็บไซต์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1284 ดร.ฐาณิญา อิสสระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การตลาดออนไลน์ ออฟไลน์ การวางแผนกลยุทธ์การตลาด แผนธุรกิจ
1285 นายบรรจง อูปแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
1286 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Road Safety Engineering วิศวกรรมโยธา
1287 อาจารย์หทัยธนก พวงแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนการผลิต วิศวกรรมอุตสาหการ การจัดตารางการผลิต
1288 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณิดา โขนงนุช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม โลจิสติกส์ การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
1289 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วชิระ วิจิตรพงษา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Transportation and Logistics Management
1290 อาจารย์ศุจินธร ทรงสิทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Transportation and Logistics Management
1291 อาจารย์เพชรายุทธ แซ่หลี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนและควบคุมการผลิต การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
1292 อาจารย์ชิตณรงค์ เพ็งแตง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Internet of Things (IoT) Software Engineering Automation
1293 อาจารย์วชิระ ลิ้มศรีประพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Application and Web Programming in C/C++ PHP C# Java JavaScript JQuery Database Design in MySQL MS SQL Server Automation and PLC Programming in Omron/Mitsubishi/Siemens PLC SCADA and HMI in Mitsubishi PLC Industrial and Mobile Robotics Embedded and IoT Development Measurements and Instrumentation Development in LabVIEW
1294 อาจารย์พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Web Application Development Information system development
1295 อาจารย์ ดร. วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
1296 อาจารย์ ดร. สุรเชษฐ์ วรรณา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Technology Concrete
1297 ผศ.ดร.อุราภรณ์ เรืองวัชรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการ การพัฒนาและแปรรูปอาหาร
1298 ผศ.ดร.พราวตา จันทโร มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี อันตรกิริยาของสตาร์ซและไฮโดรคอลลอยด์ การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์
1299 เชาวลีย์ ใจสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน พันธุศาสตร์สัตว์น้ำ การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาแบบแช่เย็น
1300 นายปุริม หนุนนัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การจัดกิจกรรมการตลาด (Event) การตลาดออนไลน์
1301 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เมตไตรพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การประมวลผลและการรับรูปภาพ (Digital Image Processing) - การออกแบบและพัฒนาระบบการควบคุมอัตโนมัติ PLC
1302 ผศ.ดร.เมธ์วดี นามสกุล พยัฆประโคน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสากรรม
1303 นายอภิเดช บุญเจือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร
1304 ผศ.ขนิษฐา กีรตีภัทรกาญจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบการจัดการตลาดแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1305 อาจารย์ธนิสรา กัณฑวงศ์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก อาหาร และการแปรรูปอาหาร
1306 นายชานนท์ ชื่นนิรันดร์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก การออกแบบผลิตภัณฑ์
1307 ดร.ศิริพรรณ จีนะบุญเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุุมชน การจัดการด้านบรรจุภัณฑ์ การสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การตลาดในรูปแบบดิจิทัล
1308 ผศ.วาสนา แก้วโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย แปรรูปข้าว แปรรูปปลานิล แปรรูปผักและผลไม้ การยืดอายุการเก็บพริกแกง ผลิตภัณท์ขนมอบ
1309 ว่าที่ ร.ต.สมควร อุ่นเรือน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ออกแบบ
1310 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิดา จุมปา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน การพัฒนากลุ่ม
1311 นางสาวกฤติณา นิวรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน
1312 ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ มครเพศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการผลิตมังคุดและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมังคุด
1313 .ดร.ธิติ ทองคำงาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การควบคุมศัตรูพืชในทุเรียนด้วยวิธีทางชีวภาพ
1314 สุกฤตา อนุตระกูลชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การควบคุมศัตรูพืชในทุเรียนด้วยวิธีทางชีวภาพ
1315 ผศ.วรรณศิริ หิรัญเกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การอบรมหลักสูตรระยะสั้น เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์
1316 นายรุ่งโรจน์ ตับกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ผลิตภัณฑ์อาหารว่าง
1317 ผศ. ดร. นฤมล มงคลธนวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ด้านผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์
1318 ผศ.อมรรัตน์ สุวรรณโพธิ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ การผลิตแบคทีเรียลเซลลูโลสหรือไบโอเซลลูโลส
1319 นางสาววิชริณี สวัสดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1320 ผศ.นฤมล เวชกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การจัดการเลี้ยงดูสุกร
1321 คุณณัฐวุฒิ วังกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี - ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
1322 อ.รัญชิดา ดาวเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบฉลากและบรรจุภัณฑ์ การสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์และออฟไลน์ การตลาดสมัยใหม่ การตลาดโดยใช้มัลติมีเดีย
1323 อ.ฒวีพร โตวนิช มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบฉลากและตราสินค้า เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
1324 ดร. ณรงค์ พันธุ์คง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีสารสนเทส ระบบธุรกิจออนไลน์สำหรับผู้ประกอบการ การพัฒนาซอฟแวร์และแอฟพลิเคชั่น การใช้คิวอาร์โค้ดเพื่อธุรกิจ
1325 ผศ. ธีรเดช เทวาภินันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาคิวอาร์โค้ด
1326 ผศ.ดร.นิตยา วานิกร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีการเกษตร การบริการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การกำจัดศัตรูพืช
1327 ดร.ปกรณ์ ประจวบวัน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับพืชผัก
1328 อ.พันธ์ทิพย์ เลิศบุรุษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ การเฝ้าระวังระบบน้ำทางการเกษตร การประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางน้ำ
1329 อ.มนต์สวรรค์ พลอยมุกดา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1330 อ.จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ การพํฒนาอาหารพื้นบ้านชาติพัธุ์ วัฒนธรรมไทยทรงดำ
1331 ดร.จุฑาภรณ์ ลิ่มสุวรรณมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การจัดทำตำรับอาหาร เพื่อสุขภาพ
1332 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม
1333 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม
1334 ดร.ปิยมาสฐุ์ ตัณฑ์เจริญระตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล การรักษา สัตว์ปีก
1335 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล การรักษา สัตว์สวยงาม และสุกร
1336 นายสมเกียรติ ตันตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น
1337 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร และการเก็บรักษา การถนอมอาหารเพื่อยืดอายุ ด้วยการนำ วทน. มาใช้
1338 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
1339 นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
1340 นางปรีดา ตัญจนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด การส่งเสริมด้านการตลาด และการวางแผน
1341 นางสาวคนึงนุช สารอินจักร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีด้านการออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์ และการออกแบบแบรนด์สินค้า
1342 นายจตุพร โปธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง มีความเชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพ การตัดต่อวิดีโอ การทำวิดีทัศน์
1343 นายสุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
1344 ดร.รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักการวัดผล ประเมินผล การวิจัย และสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
1345 ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเงินและธนาคารอิสลาม
1346 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและเนื้อสัตว์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล และอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
1347 ผศ.ดร.ดุษฎี นาคเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวางแผนกลยุทธ์องค์กร การวางแผนและกำหนดทิศทางการพัฒนางานวิจัยขององค์กร
1348 นางนินุสรา มินทราศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเกษตรและการพัฒนาชนบท การบริหารและการพัฒนาองค์กร
1349 ดร.รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักการวัดผล ประเมินผล การวิจัย และสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
1350 รองศาสตราจารย์นันทรัตน์ นามบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา แนวคิด เพื่อการพัฒนา การบริหารจัดการการท่องเที่ยว
1351 อาจารย์จิรายุทธ ปิตานนท์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรึกษาธุรกิจอิสระ และอาจารย์พิเศษด้านการตลาดและการเงิน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และมหาวิทยาลัยสแตมฟอร์ด
1352 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
1353 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
1354 นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วิทยาลัยชุมชนพังงา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน / คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ /การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
1355 ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้
1356 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เครื่องเมเดลรี่จักรา
1357 นางปราณี สถิตบรรจง วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ด้านการตลาดและการคํานวนต้นทุน กําไร ในการผลิต และออกแบบลายผ้า
1358 นางเวฬุกานต์ ขานวงศ์ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบและดัดแปลงโครงขึ้นหัวม้วน
1359 นางเวฬุกานต์ ขานวงศ์ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ด้านเทคโนโลยีและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบลายผ้า
1360 นางสาวภาวิณี จังพล วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบบรรจุภัณฑ์
1361 นางสาวภาวิณี จังพล วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การจัดการการตลาด
1362 นายอัครชัย บุญประเสริฐ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ผ้าทอ
1363 นางสาวภาวิณี จังพล วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบบรรจุภัณฑ์
1364 นายอัครชัย บุญประเสริฐ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การทำบัญชีครัวเรือน
1365 นาย อนิรุต สุทธินันท์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย infographic VDO ออกแบบ ตัดต่อ
1366 นาย ทวีศักดิ์ พุทธิสันติกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย Web application Java Data base IOT
1367 ผู้ช่วยศาสตราจราย์ธันวา ไวยบท มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ความเชี่ยวชาญ:
1368 นายมนตรี ทองเชื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ความเชี่ยวชาญ:การผลิตสัตว์, การจัดการฟาร์ม
1369 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เกษตรทฤษฎีใหม่ สารชีวภัณฑ์ต่างๆ
1370 ผู้ช่วยศาสตราจราย์เพ็ญนภา มณีอุด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การถ่ายทอดองค์ความรู้ วางแผนธุรกิจ การตลาด
1371 รศ. ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร ความปลอดภัยในอาหารเเละจุลชีววิทยา
1372 อาจารย์ธีรดา คัตตพันธ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Online Customer Behaviour, Digital Marketing, Search Engine Optimisation
1373 อาจารย์จักริน วีแก้ว มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาระบบสารสนเทศ/ ระบบฐานข้อมูล Web programming/ Decision Support System (DSS)
1374 นางสาวสุกัญญา คำหล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ทรัพยากรการประมง
1375 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ – การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ –Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
1376 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ – การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ –Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
1377 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ – การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ –Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
1378 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ เหลาลาภะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการความรู้และการพัฒนาแนวทางส่งเสริม การจัดการความรู้ของเกษตรกร
1379 รศ.ดร.รุ่งนภา สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบอัตลักษณ์,การวาดภาพประกอบ,การออกแบบกราฟิก,การออกแบบหนังสือ
1380 ผศ.ดร.ณีรนุช ควรเชิดชู มหาวิทยาลัยรามคำแหง บูรณาการเส้นใยนาโนและสมุนไพรเพื่อใช้รักษาบาดแผล และความงามของผิวพรรณ
1381 ผศ.ดร.วชิราภรณ์ อาชวาคม มหาวิทยาลัยรามคำแหง -
1382 รศ.ดร.บุญเอก ยิ่งยงณรงค์กุล มหาวิทยาลัยรามคำแหง การสกัด การแยก และการวิเคราะห์สารสำคัญในสมุนไพร
1383 ผศ.ดร.ลินดา บุหงาเรือง มหาวิทยาลัยรามคำแหง การใช้ประโยชน์จากพืชและสมุนไพร
1384 ผศ.ดร.หฤษฎ​์ นิ่มรักษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง การประยุกต์ใช้เชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในด้านการเกษตร
1385 อาจารย์ ชาตรี นิลน้ำเพชร มหาวิทยาลัยรามคำแหง IoT, Smart Farm, AI, Robotics
1386 ผศ.ดร.อัจฉรา มหาวีรวัฒน์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning)
1387 รศ.ดร.มงคล วรรณประภา มหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์, ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
1388 อ.ดร.ภากร จูเหล็ง มหาวิทยาลัยรามคำแหง Optical Computing, Robotic และ Smart Farm
1389 ผศ.ดร.ชิดชนก มีใจซื่อ มหาวิทยาลัยรามคำแหง -
1390 อาจารย์ ณรงค์ ผลดก มหาวิทยาลัยรามคำแหง สารสนเทศสถิติ
1391 ผศ.ดร.ธรณ์ธันย์ สว่างวรรณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง Biosynthesis pf prebiotic compound from agricultural residue
1392 ดร.วรีวรรณ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบัญชี - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
1393 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แววดาว พรมเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - งานวิจัยเชิงปริมาณ - ผู้ช่วยจัดกระบวนกร (Facilitator) - การบัญชี
1394 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การบัญชี - การเงินธุรกิจ - การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ - การประเมินโครงการลงทุน
1395 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจคัดแยกเชื้อจุลินทรีย์
1396 นางสาวกอบแก้ว บุญกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ส่งเสริมด้านการตลาดออนไลน์ทุกแฟลตฟอร์ม เช่น ไลน์ tiktok เฟสบุค และอื่นๆ
1397 ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
1398 นางปาริชาติ ณ น่าน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
1399 ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
1400 ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
1401 ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
1402 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
1403 รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
1404 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
1405 กาญจนา ธนนพคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Biology, พฤกษศาสตร์ อนุกรมวิธานพืช , Plant taxonomy (Bryophytes), Plant taxonomy
1406 สราวุฒิ สิทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การย้อมคราม การทอผ้าพื้นเมือง การใช้สีจากธรรมชาติในการย้อมผ้า การออกแบบผ้าไหม
1407 ผศ.ดุริวัฒน์ ตาไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
1408 นางสาวปิยะนารถ อรรคไกรสีห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ - การออกแบบ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การตลาดแบบผสมผสาน
1409 นางสาวนภท์ชนก ขวัญสง่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
1410 นายนวัตกร อุมาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
1411 นางสาวณัฐชนา นวลยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
1412 นาง​กรร​ณิกา บัวทองเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การ​พัฒนา​รูป​แบบ​บรรจุ​ภัณฑ์ - การ​พัฒนา​รูป​แบบ​ทางการ​ตล​าด
1413 นางสาวศิรินันทร์ นาพอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การพัฒนาช่องทางตลาดออนไลน
1414 นางกฤติยา ดวงมณี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง - การพัฒนาผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล
1415 นางสาวสิริรักษ์ ขันฒานุรักษ์​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - Software Design - Information Technology
1416 นายกฤตวัฏ บุญชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - Geoinformation - 3D Animation (3D Max) - Web design and programming - Computer Network
1417 นายกฤดิกร แก้ววงศ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer Vision)​
1418 นายศุภวัฒน์ อินทร์เกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ระบบฐานข้อมูล - ระบบสารสนเทศ
1419 ดร.อรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา แบคทีเรียดื้อยา และยีนดื้อยา
1420 ผศ.ดร.สุริยาพร นิพรรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเคมีอาหาร ด้านสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ข้าว และผลิตภัณฑ์จากข้าว การประยุกต์ใช้คลื่นเสียงในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ออนาคต
1421 ดร.สุจริตพรรณ บุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและแมลงศัตรูพืช
1422 นายมรกต ทองพรหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS)
1423 ผศ.ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ส่วนเหลื่อมตลาด การส่งผ่านราคา และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
1424 นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1425 ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่
1426 ดร.อัษฎาวุธ สนั่นนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการผลิตและการจัดการฟาร์มสุกร
1427 ดร.สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ
1428 นางสาวปฏิกมล โพธิครามบำรุง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
1429 นายศุภกร วงศ์สุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านกีฏวิทยา
1430 ดร.เนตรนภางค์ ทองศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการตลาด การลงทุน กลยุทธ์
1431 ดร.ปวีรัฐ ภักดีณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านแนวทางการจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพ การลำดับความสำคัญ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
1432 ผศ.จรีพร เพชรเจ็ดตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีแปรรูปเนื้อสัตว์
1433 นายธีระวัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ด้านห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับอาหารทั้งหมด
1434 อ สุธิกาญจน์ แก้วคงบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เชี่ยวชาญด้านการตลาด
1435 อ.บุญธรรม แสงแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ใหญ่
1436 ชำนาญ รัตนมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช คอมพิวเตอร์ สาระสนเทศ ต่างๆ
1437 ธีระพงค์ หมวดศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร พร้อมทั้งวิเคราะห์จุลินทรีย์ และแลปการทำลองต่าง
1438 ผศ.ดร.ธนิกา ธรสินธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จุลินทรีลำไส้มนุษย์
1439 ดร.ชนะดล สุภาพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
1440 นวลนพมล ศรีอุทัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
1441 เสกศักดิ์ น้ำรอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
1442 ผศ.ชาญณรงค์ ศรีทรงเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดระบบปลูกผักพื้นบ้านเพื่อเศรษฐกิจชุมชน การจัดระบบการปลูกถั่วฝักยาวที่มีผลต่อปริมาณของเพลี้ยอ่อนถั่ว (Aphis glycans Matsumura) และศัตรูธรรมชาติที่สำคัญของเพลี้ยอ่อน
1443 ดร.พิชญ์ ตั้งสมบัติวิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การทำระบบตลาดมันเทศ
1444 ดร.อุทาน บูรณศักดิ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การทำระบบตลาดมันเทศ
1445 นางสาวกาญจนา พิศาภาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการเกษตร -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การเตรียมและศึกษาสมบัติของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตขึ้น จากวัสดุทางธรรมชาติ
1446 นางสาวกัญญา กอแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -จุลชีววิทยา -พันธุศาสตร์จุลินทรีย์
1447 ผศ.ดร.วิชนี มัธยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การศึกษาสมบัติทางโครงสร้างและสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ของวัสดุหรือโครงสร้างอื่นๆด้วยระเบียบวิธีทางเคมีคอมพิวเตอร์
1448 อาจารย์สุนทรา เฟื่องฟุ้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา - เคมีอินทรีย์ - เคมีสิ่งแวดล้อม - เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
1449 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พินทุสร ปัสนะจะโน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
1450 อาจารย์พงศ์กรณ์ ปุบผาโสมตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบฐานข้อมูล การพัฒนา Web Application
1451 อาจารย์ปวีณา สุขสอาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา อนุกรมวิธานแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีท การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
1452 อาจารย์รสสุคนธ์ แย้มทองคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การท่องเที่ยวชุมชน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ - พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น - บรรจุภัณฑ์ - การตลาด
1453 ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเคมี
1454 รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ 4.วัสดุเก็บความร้อน
1455 วราภรณ์ ผาลี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Molecular genetics, Parasitology, Biology
1456 อรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Food Science
1457 สิทธิชัย อุดก่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Molecular genetics, Shrimp molecular genetics
1458 นพรัตน์ วรรณเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม อนุกรมวิธานเห็ด, Fungal Systematics
1459 นฤมล เถื่อนกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Biology, จุลชีววิทยา ด้าน แบคทีเรีย สีย้อมจากแอคติโนมัยซีส จุลชีววิทยาทางอาหาร
1460 สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม fungal taxonomy, fungal diversity, การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา, Agriculture
1461 วิสูตร จันทร์อิฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Diarrheal viruses ไวรัสก่อโรคท้องร่วง Rotavirus ไวรัสโรตา
1462 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ 4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์
1463 ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ 2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง 3.สีย้อมอินทรีย์
1464 Ms.Sitthichai Saeho มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้เชี่ยวชาญการเลี้ยงกุ้งในต่างประเทศ
1465 นายสมยศ แสงจันทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบโลโก้ บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์
1466 นางสาววิไล สุทธิจิตรทิวา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านคหกรรมศาสตร์
1467 นางสาวสมใจ แซ่ภู่ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ
1468 ผศ.ดร.อภิญญ์พัทร์ กุสิยารังสิทธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประชาสัมพันธ์ โฆษณา สื่อสารการตลาด งานชุมชน
1469 นางสาวไอรดา สุดสังข์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
1470 นางสาวเสาวนีย์ รัฐนิธิคุณานนท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทผ้า การสร้างแบบ ตัดเย็บ
1471 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
1472 นางสาวอัมภาภรณ์ พีรวณิชกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สื่อประชาสัมพันธ์ แชทบอท เว็บ แอปพลิเคชั่น
1473 อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเตรียมบ่อเพาะพันธุ์ปลาไหลนา
1474 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
1475 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา วัฒนนภาเกษม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ “เครื่องสำอางและอาหารสุขภาพ” จากสารสกัดข้าวสี เสริมโปรไบโอติก
1476 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
1477 นางสาววารินี วีระสินธุ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การทำสื่อ ประชาสัมพันธ์
1478 ดร.นพดล เดชประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร บริหารธุรกิจ และการพัฒนาธุรกิจสาขาวิชาการจัดการ การตลาดดิจิทัล และการวิจัย
1479 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สุขภาพคน จากสุขภาพสัตว์
1480 นาย ธวิช ตันฑนะเทวินทร์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ด้านคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ
1481 นาย อภิชาติ พงษา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น แอปพลิเคชันบัญชีคำนวนต้นทุน
1482 ผศ.ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1483 ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้ แอนแทรคโนสในพืช การควบคุมโรคแคงเกอร์ รากโคนเน่า(เชื้อรา)ในพืช
1484 รองศาสตราจารย์ ดร.ฟ้ารุ่ง สุรินา บุญทิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ดาราศาสตร์ การดูดาว ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ อบรมมัคคุเทศก์ชุมชนให้เป็นนักเล่าเรื่องดาวดาว การประยุกต์ใช้ดาราศาสตร์ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การตลาด ผลิตภัณฑ์ ฯลฯ
1485 ผู้ช่วยศาสตราจารย์. ดร.นภาพร วรรณาพรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การวิเคราะห์ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทางเคมี
1486 อาจารย์ ดร. อัจฉราวดี เครือภัคดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรพืช เทคโนโลยีการเกษตร ปฐพีวิทยา สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
1487 อาจารย์ ดร. วิภาวดี พันธ์หนองหว้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีการอาหาร
1488 นางสาวธันยกานต์ คูณสิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง การเลี้ยงปลา
1489 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติกร จินดาพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ประมง ทรัพยากรประมง
1490 อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา
1491 นางสาวพิชชานันท์ ศรีหมื่นไวย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1492 ดร.ศานตมน ล้วนวุฑฒิ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี Electrochemical properties
1493 นางสาวจันทร์แรม ด่อนดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี ออกแบบสติ๊กเกอร์ บรรจุภัณฑ์
1494 อาจารย์ปริณุต ไชยนิชย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา นิเทศศาสตร์สารสนเทศ ประชาสัมพันธ์และการพูด
1495 อ.ดร.สุกาญจนา กำลังมาก มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.สาขาการแพทย์แผนไทย -องค์ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การนวดไทย เภสัชกรรมไทย ผดุงครรภ์ไทย และเวชกรรมไทย 2. สาขาเภสัชศาสตร์ -การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการนำส่งยา โดยใช้องค์ความรู้ ภูมิปัญญา มาประยุกต์ใช้ร่วมกับเทคโนโลยีเภสัชกรรม และการแพทย์แผนไทย
1496 นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.การผลิตพืช -การขยายพันธุ์พืช -การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน -การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ -การวิเคราะห์ตลาดและแผนธุรกิจ -การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3.การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน -การจัดเวทีการประชุมโดยการมีส่วนร่วม -การดำเนินการโครงการด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม -การจัดกระบวนการถอดบทเรียน
1497 อาจารย์ ดร.พรวิชัย เต็มบุตร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.การแปรรูปสินค้าเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง แปรรูปสินค้าเกษตร สู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ทางด้านอาหารและเครื่องสำอาง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตั้งแต่ การแปรรูป คิดค้นสูตร ออกแบบสูตร ทดลองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น 3.การทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทดสอบคุณสมบัติทางเคมี-กายภาพ คุณสมบัติความคงตัว ทดสอบคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย 4.ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ระบบนำส่งยา การศึกษา ค้นคว้า ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลไกการออกฤทธิ์ของสารสำคัญ ตัวยา
1498 อาจารย์ชลธิดา เกษเพชร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.ศิลปะการออกแบบ -การออกแบบผลิตภัณฑ์ 2.ทัศนศิลป์ -ทัศนศิลป์
1499 ดร.พท.พิรุณรัตน์ แซ่ลิ้ม มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การควบคุมคุณภาพ การศึกษาความคงตัวของสารและผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การศึกษาการต้านเซลล์มะเร็ง การศึกษาฤทธิ์แก้ปวดแก้อักเสบ
1500 ดร.พท.ศรสวรรค์ คงภักดี มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมและเภสัชวิทยา การพัฒนาระบบนำส่งสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ต้านอักเสบและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสมุนไพร
1501 ดร.พท.ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร
1502 วิไลวรรณ สิมเชื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ด้านผ้า การออกแบบและการตัดเย็บ 2.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 3.เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
1503 รศ.ดร.คมวิทย์ ศิริธร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตลาดและเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
1504 ผศ.อภิชาติ พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการการเลี้ยงจระเข้
1505 ผศ.อภิชาติ พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการการเลี้ยงโคเนื้อและการแปรรูป
1506 ดร.พีรพงษ์ พันธะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
1507 ดร.วันฉัตร ศิริสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านจุลินทรีย์และเชื้อก่อโรคในอาหาร
1508 ผศ.ดร.สายฝน ไชยศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์
1509 ดร.อดิศรา ตันตสุทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการแปรรูป
1510 นางสุภัทรตรา สุขะ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
1511 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา จำปาทอง มหาวิทยาลัยพะเยา Natural Products,Electrocoagulation Applications,Natural Dyeing Process
1512 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา จำปาทอง มหาวิทยาลัยพะเยา Natural Products,Electrocoagulation Applications,Natural Dyeing Process
1513 ดร.เริงฤทัย ศิริรักษ์ มหาวิทยาลัยพะเยา Carbon Porous Graphene Catalysts for Fuel Cells, Capacitors, Packaging Materials from Natural Materials.
1514 ดร.อลิสา โชตินนท์ภิชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีด้านการออกแบบนิเทศน์ศิลป์
1515 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธิดา วรรธนะปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ออกแบบบรรจุภัณฑ์
1516 อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัมนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
1517 รศ.ดร.นิวุฒิ หวังชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเลี้ยงปลากะพงขาวน้ำจืดในระบบน้ำหมุนเวียน
1518 รศ.เสมอขวัญ ตันติกุล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ
1519 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสรา กิจเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระบบการจับคู่ผสมพันธุ์ปลานิล
1520 อาจารย์ ดร. สายัณห์ อุ่นนันกาศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฟาร์มต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาว
1521 ดร.มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการชุมชน การบริหารการตลาด ต่อยอดสินค้าชุมชน
1522 ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
1523 อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น
1524 นางบุปผา ศรีเสถียร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบผ้าพิมพ์ลาย
1525 ผู้ช่วยศาตราจารย์ศิริพร หมื่นหัสถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การส่งเสริมการตลาด บัญชีครัวเรือน
1526 นางธัญญาลักษณ์ ศรแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ออกแบบ ลวดลายผ้า การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
1527 นายสันติ เตือประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การเลี้ยงจิ้งหรีดในโรงเรือนแบบปิด
1528 ผศ.ร่วมฤดี พานจันทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
1529 ผศ.ดร.เมธาวี รอตมงคลดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
1530 รศ.ดร.เอกพล วังคะฮาต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
1531 ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ พลังงานทดแทน ผ้าไหมเคลือบพลาสม่าป้องกันแบคทีเรีย
1532 นายพัฒนา ภาสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกพืชผักสวนครัว การปรับแต่งพันธุกรรมพืช
1533 ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
1534 ดร.สุรเชต น้อยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบหลักสูตรเพื่อการจัดการชุมชนที่ดี และการใช้เทคโนโลยีในการจัดการ
1535 ผศ.ชัญญา ทองสวัสดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น
1536 ผศ.ปาริชาติ ศรีสนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น
1537 นางชฎาพร เสนาคุณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
1538 ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช
1539 นางพนิดา เหล่าทองสาร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์
1540 ดร.กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตอาหารหนูอัดเม็ดใช่เอง ต้นทุนต่ำ
1541 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน
1542 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้งชันโรง
1543 ดร.ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน
1544 ผศ.ธันวา ไวยบท มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์(สัตว์ปีก)
1545 ผศ.ดร.ธีระ ธรรมวงศา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การอารักขาพืช
1546 นางสาวธนาภรณ์ เชาว์สุวรรณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำลูกชิ้นอกไก่มันม่วงและลูกชิ้นอกไก่ฟักทอง
1547 ผศ.ดร.อุทุมพร หลอดโค มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมชุมชน การจัดการทุนวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
1548 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพิน สมคำพี่ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ส่งเสริมการเกษตร, เทคโนโลยีการอาหาร
1549 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะจินต์ ปัทมดิลก มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การบริหารทรัพยากรมนุษย์, การจัดการทั่วไป
1550 ผศ.เรืองฤทธิ์ หาญมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การคัดพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โคขุน ,การประกอบสูตรอาหารต้นทุนต่ า จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น, การจัดการฟาร์ม
1551 ผศ.ทาริกา ผาใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การเลี้ยงลูกอ๊อก การคัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์
1552 ผศ.ทรงทรัพย์ อรุณกมล มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ทคโนโลยีการเลี้ยงปลา การปลูกพืชไร้ดิน
1553 อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตสารสกัดจากพืช
1554 นำยเทพกร ลีลำแต้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร นวัตกรรมอาหารหมักจุลินทรีย์ เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์โค-กระบือ การออกแบบและสร้างเตาพลังงานชีวมวล การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุภายในชุมชน การอบแห้งด้วยลมร้อน
1555 ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
1556 นายสันติ ผิวผ่อง มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 1. พลังงานทดแทนชีวมวล 2. การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
1557 นางสาวนิรันตรี ทวีโคตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ชีววิทยา และจุลชีววิทยา การทำงานของจุลินทรีย์
1558 อาจารย์ลฎาภา ศรีพสุดา มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์, นิเทศศาสตร์, communation art, journalism, creative media, new media research, Mass Communication
1559 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ หัวเชื้อจุรินทรีย์หน่อกล้วย
1560 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ฮอร์โมน- น้ำหมักชีวภาพ
1561 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ออร์โมนไข่
1562 นางสาวอัญมณี แสงสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
1563 ดร.อดิศรา ตันตสุทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์
1564 ดร.กมลทิพย์ นิคมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เทคโนโลยีขนมอบ
1565 นางสาวอมราวดี วงศ์เทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การบ่มเพาะธุรกิจ เทคโนโลยี
1566 รศ. ดร. พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร และกระบวนการบรรจุภัณฑ์ ระบบ retort Food safety
1567 ดร.วิรุณ โมนะตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
1568 รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ คำผา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม อาหารสัตว์ และการตลาดปศุสัตว์เกษตร ค้าขายออนไลน์และส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ แปรรูปวัตถุดิบอาหารสัตว์ลดต้นทุนใช้เลี้ยงสัตว์ แปรรูปกากมันสำปะหลังมาหมักยีสต์ใช้เลี้ยงสัตว์ วิทยากรอบรมถ่ายทอดความรู้เกษตรกรทำอาหารลดต้นทุนเลี้ยงสัตว์ และเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เลี้ยงสัตว์ทั่วประเทศ
1569 อาจารย์พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม มัลติมีเดียและแอนิเมชั่น การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR)
1570 ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากระบวนการผลิต อาหารเฉพาะทาง การนำของเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิต
1571 ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
1572 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ชีววิทยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แปรรูปสมุนไพร เวชสำอาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร
1573 อาจารย์อังศุมา ก้านจักร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ,คุณภาพน้ำ,การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในท้องถิ่น,กระบวนการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน
1574 นางสาวเสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์ วิทยาลัยชุมชนพังงา ความเชี่ยวชาญ การจัดการการตลาด การทำขนมและอาหารพื้นบ้าน
1575 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลทิพย์ กรรไพเราะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา สอน วิจัย และบริการวิชาการทางด้านการแปรรูปอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เคมีอาหารและศึกษาอายุการเก็บอาหาร รวมทั้งการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร
1576 ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
1577 ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเงินและธนาคารอิสลาม
1578 นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาต
1579 นางนินุสรา มินทราศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเกษตรและการพัฒนาชนบท การบริหารและการพัฒนาองค์กร
1580 ดร.ยุทธนา กาเด็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การบริหารและการพัฒนาองค์กร
1581 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการวิเคราะห์อาหาร
1582 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการออกแบบแนวทางป้องกันการเน่าเสีย
1583 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการเคลือบสารไคโตซาน
1584 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการนึ่งแทนการต้ม
1585 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา
1586 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสง
1587 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ
1588 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปวุ้นมะพร้าวในน้ำสมุนไพร
1589 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการทอผ้าไหมมัดหมี่
1590 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผงข้าวแดงปรุงแต่งอาหาร
1591 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าเพิ่ม
1592 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปปลาให้เป็นผลิตภัณฑ์
1593 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์เทมเป้โปรตีนธัญพืช
1594 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
1595 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า
1596 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทำปุ๋ยอินทรีย์
1597 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายฟางข้าว
1598 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายเซลลูโลสในฟางข้าว
1599 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ดินสอพอง
1600 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปดินสอพอง
1601 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปดินสอพอง
1602 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปดินสอพอง
1603 มิยอง ซอ มหาวิทยาลัยบูรพา การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบระบบสี ออกแบบบรรจุภัณฑ์เชิงนิเวศ วัสดุธรรมชาติเพื่่อใช้ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์
1604 ผศ.ดร.ณัฎ​ฐ​กานต์​ ​พฤกษ์& มหาวิทยาลัยบูรพา การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ, การท่องเที่ยวยั่งยืน, การท่องเที่ยวเกษตร
1605 ธินิกานต์ สังข์สุวรรณ มหาวิทยาลัยบูรพา การท่องเที่ยวและบริการ
1606 ผศ.ดร.ไพทูล แก้วหอม มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
1607 ดร.เยาวลักษณ์ จันทร์บาง สำนักงานปลัดกระทรวง Stored product insects, Insect pests of fruit crops, Urban Entomology
1608 อาจารย์ศานต์ พานิชสิติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ + โมดูลสื่อสารไร้สาย ทำงานร่วมกันเป็น Internet of Things
1609 อาจารย์ ดร. พิมพ์พรรณ ทิพยแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ บอร์ด Raspberry pi
1610 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ
1611 วิสุทธิ์ กิจชัยนุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การออกแบบลายผ้า
1612 อาจารย์ ธีรภัทร์ อนุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีท้างด้านอาหาร เทคโนโลยีทางด้านเกษตร เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน
1613 นางนิตยา เอกบาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การส่งเสริมงานด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดการขยะชุมชน
1614 ดร. ภัทรานุช ผงสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย กระบวนการยอม
1615 นางพรพิมล อริยะวงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การจัดการขยะชุมชน การจัดการบุคคลภาพส่วนบุคคล เศรษฐกิจพอเพียง
1616 อ.ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
1617 ดร.อรทัย บุญทวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
1618 ดร.ปัศนีย์ กองวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
1619 ผศ.นภาพร ดีสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
1620 ผศ.นภาพร ดีสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
1621 ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
1622 รศ.ดร.ปุริม จารุจำรัส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · Patterned Paper and Alternative Materials as Substrates for Low-Cost Microfluidics& Sensors · The development of functional nanocomposites on fiber-based microfluidics analytical device for novel chemical and biosensing · Functional Nanocomposites-Based Methodologies · Development of Field Test Kits · Analytical Chemistry Education · Spectroanalytical Chemistry
1623 ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ระบบนำส่งทางผิวหนัง ลิโพโซม นาโนเทคโนโลยี การออกแบบการทดลอง การหาสูตรที่เหมาะสมที่สุด พื้นผิวตอบสนอง นาโนเทคโนโลยีสำหรับเครื่องสำอาง
1624 ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การย้อมผ้าแบบ Eco print การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ ทำให้เกิดสีและลวดลาย เป็นการพิมพ์ผ้า ด้วยใบไม้ ดอกไม้จากธรรมชาติ
1625 นางสาวชุดาภรณ์ ทองจุน วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเศรษศาสตร์และการจัดการ บริหารธุรกิจ
1626 ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
1627 นายศิวพงศ์ พรมวัฒนะ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เครื่องปั่นหลอดด้ายไฟฟ้า
1628 นางสาวอรุณวรรณ มุขแก้ว วิทยาลัยชุมชนพังงา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการชุมชน การท่องเที่ยว
1629 อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
1630 ดร.มาริษา เดอเบลส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ทางด้าเกษตร 2.ทางด้านผ้า
1631 นายทนงศักดิ์ ธาตุชัย มหาวิทยาลัยนครพนม -เทคนิคการผลิตสุกรในระบบฟาร์มแบบปิด (EVEP) และระบบเปิด - เทคนิกการผลิตโคเนื้อ
1632 อาจารย์ กุลสตรี ปริญญา มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ
1633 ดร.วาสนา ศรีนวลใย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การพัฒนาชุมชน การสื่อสารชุมชน
1634 นายนิกร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน
1635 นายสมพร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน การบันทึกข้อมูลผลิตภัณพ์ อ.ย. ขลู่ สครับจากเปลือกหอย
1636 อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
1637 อาจารย์ธนภัทร วรปัสสุ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเลี้ยงปลาหมอ และการเพาะพันธุ์ปลาหมอ การเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย
1638 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ปุ๋ยคอก
1639 รศ.ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การนวดด้วยลูกประคบ
1640 ผศ.ธันวา ไวยบท มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์
1641 ผศ.ดร.เพียงพิศ ชะโกทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรม
1642 ผศ.เพ็ญนภา มณีอุด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ออกแบบผลิตภัณฑ์และกราฟิก
1643 นางณัฏฐา โกวาช วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย แปรรูอาหาร ถนอมอาหาร ตรวจสอบคุณภาพอาหาร
1644 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีร์ โคตรถา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนากลุ่มสินค้าหัตถกรรมสิ่งทอชุมชน, การบริหารจัดการตราสินค้าแฟชั่น, การสร้างสรรค์สินค้าแฟชั่นสาเร็จรูป, การออกแบบตกแต่งภายใน, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
1645 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ พันตรีดร.สมชาย อุดร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เทียบและผสมสีพิมพ์และสีย้อมผ้า, ทดสอบสีและสารเคมีที่ใช้ในโรงงาน ควบคุมกระบวนการผลิตสีและสารเคมี
1646 ดร.โสภา หนูแดง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
1647 ผศ.ชูพรรค แพงไธสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การวางแผนธุรกิจและการตลาด
1648 อ.วาสนา ด้วงเหมือน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สารสนเทศและการตลาดดิจิทัล
1649 อ.วรชัช บู่สามสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ออกแบบกราฟิกและบรรจุภัณฑ์
1650 ผศ.ดร.ฤทัยรัตน์ สุทธิสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพรไทย
1651 อ.วรรณนิสา แก้วบ้านกรูด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิทยาศาสตร์สุขภาพและความงาม
1652 นางสาวปวีณา จารุศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร - รัฐประศาสนศาสตร์ - เศรษฐกิจพอเพียง - การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน - การบริหารจัดการชุมชน
1653 นางสาวทิพวรรณ คำพานิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร - การจัดการธุรกิจบริการ - งานบริการต่าง ๆ ในส่วนของการติดต่อประสานงานหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก
1654 นางสาวสุมนา ปานสมุทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ 2.วัสดุนาโน 3.การเคลือบผิวนาโนคอมโพสิต ใช้ในการเคลือบเนื้อทุเรียนในการแช่แข็งเพื่อยืดอายุของเนื้อทุเรียน และสารชีวภาพ ในการทดแทนสารเคมี
1655 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตไข่ของเป็ดไข่สาวทีเลี้ยงด้วยหอยเชอรี่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารโดยเก็บข้อมูลน้ำหนักและจำนวนไข่ของเป็ดสาว
1656 นางจันทร์เพ็ญ อินทอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการหมักดอง
1657 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ตู้ฟักไข่จากกล่องพลาสติกแบบกลับไข่อัตโนมัติออกแบบและสร้างพัฒนาหาประสิทธิภาพการทำงาน และประเมินความพึงพอใจที่มีต่อตู้ฟักไข่จากกล่องพลาสติกแบบกลับไข่อัตโนมัติ
1658 นางสาวศุฐิษา เผ่าจันทวงค์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี โครงการปลูกกระชายตามมาตรฐานGAP(มกอช.)
1659 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ธนาคารไข่พัก
1660 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีอนุรักษ์พันธุกรรมไรน้ำกาบหอย
1661 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีอนุรักษ์พันธุกรรมกุ้งน้ำจืด
1662 นางสาวหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี สิ่งประดิด่านเทคโนโลยีชีวภาพ
1663 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การใช้ไรน้ำนางฟ้าอนุบาลลูกปลาบู่ทราย
1664 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี กุ้งน้ำจืดไทยและศักยภาพการใช้ประโยชน์
1665 นางสาวศศิรภัทร์ เกาะแก้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเมล็ดถั่วงอกด้วยระบบรกน้ำอัตโนมัติ
1666 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเลี้ยงและผลิตไข่ไรแดงสยาม (Moina siamensis n. sp.).
1667 นางรักชนก กิมสงวน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผสมเทียมปลา
1668 นางสาวฐิรวดี โพธิ์บัว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผลิตสารชีวภัณฑ์
1669 ผศ.ดร. กฤษณะ ชินสาร มหาวิทยาลัยบูรพา Data Structure and Algorithms Design
1670 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กมลชนก เศรษฐบุตร มหาวิทยาลัยบูรพา การโฆษณาและการสื่อสารการตลาด
1671 ดร.นิสานารถ กระแสร์ชล มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีทางอาหาร
1672 นายฉัตรชนก เพ็งคง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การเขียนแผนธุรกิจ บัญชีครัวเรือน การตลาด
1673 นางสาวธิภารัตน์ สำลีเติมสิริ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การผลิตปุ๋ยหมัก สารชีวภัณฑ์
1674 ผศ.น.สพ.ประยุทธ กุศลรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การจัดการสุขภาพสัตว์ ปรสิตวิทยา
1675 ผศ.ดร.ปิยะธิดา กุศล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชีววิทยาสิ่งมีชีวิต ปรสิตวิทยา
1676 ผศ.ดร.กุลยา สารชีวิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารจัดการโครงการ วางแผนและควบคุมดูแลโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย งานทางด้านสิ่งแวดล้อม วิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรม
1677 ดร.ศิริพร มิขำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กราฟิกดีไซน์ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการท่องเที่ยว
1678 อาจารย์มีนา ระเด่นอาหมัด มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ในงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์หัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
1679 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC - นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine)
1680 อาจารย์กัญญ์ณพัชญ์ พลเยี่ยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม, การออกแบบผังการผลิต
1681 ดร. ณัฐพันธ์ ปัญญโรจน์ ผู้ร่วมโครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การขอรับรองมาตรฐาน GMP
1682 อาจารย์อรัณพงศ์ ทนันไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การบัญชี การเงิน และภาษีอากร
1683 อาจารย์พัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสารสนเทศ ระบบจัดการฐานข้อมูล การตลาดออนไลน์
1684 อาจารย์วรรณิดา ชินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การตลาด การบรรจุภัณฑ์ การตลาดสินค้าชุมชน
1685 ดร.เสกสรร วงศ์ศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เคมีอาหาร นํ้านมและผลิตภัณฑ์ ผักผลไม้และ ผลิตภัณฑ์ สีใน อาหารและการ เปลี่ยนแปลง เอนไซม์ในอาหารฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นในอาหาร
1686 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติสร เรืองนาราบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์การลงทุนจากผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม
1687 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คทาวุธ แก้วบรรจง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสารสนเทศ /อินเทอร์เนต มาเกตติ้ง
1688 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี บัวระภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน พืชอาหารสัตว์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
1689 รองศาสตราจารย์ ดร.เกชา คูหา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การวางแผนการทดลอง
1690 นายสันติกร เขมาภิรมย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย สารชีวภาพ / ส่งเสริมการเกษตร
1691 นายบดินทร์ ยอดประดิษฐ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอา
1692 นางสาวชวันรัตน์ มีคล้าย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1693 นางสาวเมทินี ปัญญาฟู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย สื่อสิ่งพิมพ์
1694 นางวรรณิศา ทิพย์ปัญญาไชย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การแปรรูปอาหาร การวิเคราะห์ทดสอบผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ที่ปรึกษาการยื่นขอการรับรองมาตรฐานอาหารและยา (อย.) ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
1695 อาจารย์จันทิมา ปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกด้วยวัสดุท้องถิ่น
1696 นางสาวนารีนารถ ภารังกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การวิเคราะห์ทดสอบอาหารและเครื่องดื่ม
1697 นางสาวมีนา กรมมี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การวิเคราะห์ทดสอบอาหารและเครื่องดื่ม
1698 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินีเพ้ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
1699 ดร.ยาสมี เลาหสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีชีวภาพ (ฺBiotechnology) กระบวนการชีวภาพ (Bioprocess) กระบวนการหมัก (Fermentation) การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือ (Waste Utilization)
1700 อาจารย์ ดร. กัลยรัตน์ พินิจจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การจัดการ การค้า การตลาด
1701 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยา สุขจันทรา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา - การพัฒนายกระดับสถานที่ผลิตอาหารให้เป็นไปตามมาตรฐาน - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์
1702 ผศ.วิลาวัลย์ บุณย์ศุภา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร
1703 ว่าที่ร้อยตรีวุธเมธี วรเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การเพาะพันธุ์กบนานอกฤดู การสร้างระบบควบคุมอุณหภูมิสำหรับพ่อแม่พันธุ์บนาเพื่อเพาะในฤดูหนาว เพาะขยายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจได้หลายชนิด เพาะขยายพันธุ์ปลาสวยงามได้หลายชนิด
1704 ผศ.ปิยะวดี สราภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม พลังงานทดแทน การส่งเสริมพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพ
1705 ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน สำนักงานปลัดกระทรวง Pollen development
1706 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตจุลินทรีย์จาวปลวก
1707 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การเลี้ยงใส้เดือน
1708 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
1709 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการน้ำ
1710 อาจารย์ปิยพันธุ์ แสงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
1711 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการเครือข่ายชุมชน
1712 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ผ้าทอพื้นเมืองที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่น และผ้าสไบลายขิด
1713 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้มีความทันสมัยและสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้หลากหลายช่องทาง เช่น ผ้าพื้นเมือง ผ้าสไบลายขิด
1714 ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สเปรย์ที่สกัดมาจากมิ้นต์ มีสรรพคุณช่วยในการบรรเทาอาการปวดศรีษะ ลดอาการหวัด ลมหายใจสดชื่น
1715 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน
1716 ผศ.หทัยกาญจน์ ทองศรีสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาพัฒนาและแปรรูปอาหารให้มีความหลากหลายและเก็บไว้กินได้นาน
1717 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
1718 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเลี้ยงไก่ไข่โดยการเปรียบเทียบสูตรอาหารโดยใช้เปลือกไข่ป่นแทนเปลือกหอยป่นในอัตราส่วนที่ต่างกัน
1719 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบารี่โดยใช้ใบกระถินป่นแห้งทดแทนมันสำปะหลังป่นแทนแห้งในอาหารสูตร
1720 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิต และต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบาบารี่โดยใช้ใบกระถินแห้งแทนกากเมล็ดนุ่นในสูตรอาหาร
1721 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการผลิตการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้มันสำปะหลังป่นทดแทนใบกระถินป่นในสูตรอาหาร
1722 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการปลูกหญ้าเนเปียร์โดยใช่มูลสุกรในระดับที่ต่างกัน
1723 อาจารย์เกศระวี ปานทับ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์
1724 ดร.อริสรา อิสสะรีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การสกัดสารจากธรรมชาติ การสกัดสารเพื่อใช้ทางด้านเวชสำอางค์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์
1725 นางสาวทิพยาดา ธีรฐานกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อความงาม
1726 นายณรงค์เดช ณ พิโรจน์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การบำรุงรักษาลัตว์เบื้องต้น การเลี้ยงสุกร
1727 นายสมเกียรติ นิตพงศ์สุวรรณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การผลิตอาหารสัตว์ การเลี้ยงสุกร
1728 นางสาวนิรัชรา ลำภู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การแปรรูปอาหาร
1729 นางศยามล นิติพงศ์สุวรรณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การผลิตอาหารสัตว์
1730 นางนุกูล ประเสริฐดี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การจัดการฟาร์มการเลี้ยงโคนม โคเนื้อการ
1731 นางสาวจินตนา จำนงค์ศรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การขยายพันธุ์พืช การขยายจุลินทรีย์ EM การทำปุ๋ยหมัก
1732 นางสาวรุจิราภรณ์ สิทธิโชติ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสื่อออนไลน์
1733 อาจารย์ ดร.ธนา จักษ์เมธา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร, Anti-inflammatory, Antimicrobial and Anti-cancer activities, Antioxidant activity
1734 อาจารย์พิริยา ชนสุต มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร, Anti-estrogenic activities, Anti-cancer activities, Cytotoxic activity, Galactogogue activities, Antioxidant activity
1735 นายสิทานนท์ อมตเวทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิศวกรรมอุตสาหการ ทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา
1736 ผศ. ดร.จุฑา ทาคาฮาชิ ยูปันคิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Gastronomy
1737 อาจารย์สมพร นิลมณี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร
1738 ดร. พท. เสถียรพงษ์ ภูผา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การแพทย์แผนไทย และสมุนไพร
1739 ดร.ธัญจิรา เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริหารจัดการและขับเคลื่อนธุรกิจไก่เบขลาจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ
1740 ผศ. ดร.ธีรศักดิ์ จินดาบถ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การตลาด
1741 ดร.ศุภนนท์ ตู้นิ่ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
1742 ผศ.ดร.ประพจน์ มะลิวัลย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
1743 ดร. สุภัทรา พงศ์ภราดร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สาหร่ายทะเล
1744 สพ. ญ. ชญานิศ ดาวฉาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในทะเลไทย
1745 รศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก การจัดการฟาร์ม และการแปรรูปแพะ
1746 นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การสกัดสมุนไพร
1747 ดร.จารุวรรณ พนมจีระสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การส่งเสริมด้านการตลาด
1748 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
1749 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ผลการเสริมขมิ้นชันผงในอาหารไก่ไข่อินทรีย์เพื่อเพิ่มสีไข่แดง
1750 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงโดยใช้ผักตบชวาป่นแห้งแทนใบมันสำปะหลังป่นแห้งในสูตรอาหารเป็ดปักกิ่ง
1751 นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดชนิดต่างๆภายใต้แสงเทียมในระบบโรงเรือน
1752 รศ.ดร.เทียมหทัย ชูพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยา พืช
1753 ผศ.ดร.ขวัญประเสริฐ พันธุ์ชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชีววิทยา จุลชีววิทยา
1754 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาอัตราการงอกของพริกซุปเปอร์ฮ็อตที่ใช้สารSPEED B1 EXTRA PLUS ต่างอัตราส่วน
1755 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาฮอร์โมนต่างชนิดที่มีผลต่อผลผลิตดาวเรืองตัดดอก
1756 นางสาวสุชนีย์ ทรัพย์สมบูรญ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี งานทดลองเปรียบเทียบผลผลิตของมะเขือเทศพันธุ์โซลาลิโน่ที่ใช้เมล็ดและปักชำยอด
1757 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาอัตราการงอกของคื่นฉ่ายโดยใช้วัสดุเพาะต่างกัน
1758 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท
1759 นายสมบูรณ์ มัจฉา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน
1760 นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การนวดด้วยลูกประคบสมุนไพร
1761 ดร.พิชญา พูลลาภ สำนักงานปลัดกระทรวง Pichaya.aey@hotmail.com
1762 ดร.ปาริชาติ เทียนจุมพล สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Technology Application of Near Infrared Spectroscopy
1763 ดร.อรอุมา เรืองวงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Plant Pathology (bacteria and fungi), Plant Disease: Biological Control, Molecular Biology
1764 ดร.พิมพ์ใจ สีหะนาม สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Physiology, Plant Physiology
1765 ดร.ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest handling, Drying technology and Non-destructive
1766 ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Post-Production Engineering
1767 ดร.ดามร บัณฑุรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Thermal Fluid
1768 ดร.ณัฐวุฒิ เนียมสอน สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Non-destructive Testing
1769 ดร.วชิรญา อิ่มสบาย สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Biology and Technology (fuits and flowers)
1770 ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย สำนักงานปลัดกระทรวง 1.ชีววิทยา สรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลทางพืชสวนหลังการเก็บเกี่ยว 2.การควบคุมคาร์เมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรตในพืช เช่น เมตาบอลึซึมของแป้งและน้ำตาล 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุ และรักษาคุณภาพของผลผลิตพืชสวน เน้น ผัก ผลไม้ และไม้ดอก ที่ปลูกในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical)
1771 ดร.เนตรนภิส เขียวขำ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
1772 ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล สำนักงานปลัดกระทรวง 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
1773 ดร.วาณี ชนเห็นชอบ สำนักงานปลัดกระทรวง 1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร 2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ) 3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
1774 ดร.วราภา มหากาญจนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง 1. ศึกษาการปรับตัวของแบคทีเรีย (Bacillus cereus, Escherichia coli , Salmonella และ Listeria monocytogenes) ต่อสภาพเครียดของกรด เกลือ และความร้อนในอาหาร 2. ประสิทธิภาพของสารฆ่าเชื้อ Ozone Chlorine dioxide และ สารประกอบคลอรีนต่อการยับยั้ง Salmonella spp., E. coli และ Listeria monocytogenes ในผักสด
1775 ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา สำนักงานปลัดกระทรวง เป็นทีมวิจัยที่พบสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนและรายงานว่าเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani พบในประเทศไทย โดยตีพิมพ์ผลงาน ในวารสาร Plants Pongpisutta, R., Keawmanee, P., Sanguansub, S., Dokchan, P., Bincader, S., Phuntumart, V. and Rattanakreetakul, C. 2023. Comprehensive investigation of die-back disease caused by Fusarium in durian. Plants 12, 3045. https://doi.org/10.3390/plants12173045 นอกจากนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยซึ่งได้รับทุนจากศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวารสารนานาชาติ 2 ฉบับ ได้แก่ 1) Rattanakreetakul, C., Keawmanee, P., Bincader, S., Mongkolporn, O., Phuntumart, V., Chiba, S. and Pongpisutta, R. 2023. Two newly identified Colletotrichum species associated with mango anthracnose in central Thailand. Plants 12, 1130. https://doi.org/10.3390/plants12051130 และ 2) Bincader, S., Pongpisutta, R. and Rattanakreetakul, C. 2022. Diversity of Colletotrichum species causing anthracnose disease from mango cv. Nam Dork Mai See Tong based on ISSR-PCR. Indian Journal of Agricultural Research 56 (1): 81-90. https://doi.org/10.18805/IJARe.AF-691.
1776 ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก, เครื่องสับเหง้ามันสำปะหลัง, งานวิจัยด้านการนวัตกรรมทางการเกษตร
1777 อาจารย์สิทธิศักดิ์ เตียงงา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การเลี้ยงปลาดุกและการแปรรูป
1778 ดร.ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ สำนักงานปลัดกระทรวง Micro-nano bubbles Technology, การปลูกพืชในระบบ Plant factory, เทคโนโลยีการผลิตต้นอ่อนพืชในระบบปิด
1779 ดร.มัณฑนา บัวหนอง สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Technology of Ornamentals
1780 ดร.พนิดา บุญฤทธิ์ธงไชย สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology, Fresh cut Technology
1781 ดร.วาริช ศรีละออง สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Physiology and Biochemistry, Postharvest Logistics and supply chain management
1782 ดร.ผ่องเพ็ญ จิตอารีย์รัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest pathology and physiology; Food safety of minimally processed fruit and vegetables
1783 ดร.ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย สำนักงานปลัดกระทรวง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์พืช และเมล็ดพืชอาหาร
1784 ดร.อภิรดี อุทัยรัตนกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง การลดความเสียหายของผักและผลไม้, การใช้เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้, ผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค, การใช้ LEDs กระตุ้นสารสำคัญในผัก
1785 ดร.เฉลิมชัย วงษ์อารี สำนักงานปลัดกระทรวง Storage System and Logistics of Fresh Produce, Colour and Flavour Analysis in Fresh Produce
1786 ดร.จารุพล สุริยวนากุล สำนักงานปลัดกระทรวง Heat Treatment, Quality control of temperature measuring instrument, การวิเคราะห์แบบจำลองทางพลศาสตร์
1787 ดร.สมพร เกษแก้ว สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 การศึกษาคุณลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน เอนไซม์ เปปไทด์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านพลังงานและเวชสำอางจากพืช อันดับ 2 พลังงานชีวมวล
1788 ดร.กิตติพงษ์ ลาลุน สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) , อันดับ 2 เทคโนโลยีชีวมวล (Bio mass Technology) , อันดับ 3 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology)
1789 ดร.คำนึง วาทโยธา สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) , อันดับ 2 ด้านกระบวนการอบแห้ง (Drying Process)
1790 ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) , อันดับ 2 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) , อันดับ 3 วิศวกรรมเกษตรและอาหาร (Agricultural and Food Engineering) อันดับ 4 การจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม (Farm Technology Management) , อันดับ 5 เทคโนโลยีชีวมวล (Bio mass Technology)
1791 ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology /technology and handling of tropical fruit and vegetable/fruit growth and development
1792 ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology of horticultural crops, Plant Biotechnology
1793 ดร.วราภา มหากาญจนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Safety of minimally processed produce Microbial stress response GMP/HACCP system Mycotoxin detection in food products ความปลอดภัยของการผลิตด้วยการแปรรูปน้อยวิธี, การตอบสนองต่อความเครียดของจุลินทรีย์, ระบบ GMP/HACCP, การตรวจสารพิษจากเชื้อราในผลิตภัณฑ์อาหาร
1794 ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา สำนักงานปลัดกระทรวง 1. อนุกรมวิธานของเชื้อราและชีวโมเลกุล , 2. ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 3. เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว
1795 ดร.อนุพันธ์ เทอดวงศ์วรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Non-destructive evaluation of fruit quality; Near infrared spectroscopy; Hyperspectral imaging technique; Electrical impedance spectroscopy
1796 ดร.วาณี ชนเห็นชอบ สำนักงานปลัดกระทรวง Food Packaging, Active Packaging of Fresh Produce, Distribution Packaging
1797 ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล สำนักงานปลัดกระทรวง 1. ความสัมพันธ์ของพืชและเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 2. การจัดการโรค และการใช้สารเคมี
1798 ดร.เนตรนภิส เขียวขำ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
1799 ดร.สมศิริ แสงโชติ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Pathology
1800 ดร.วชิรญา อิ่มสบาย สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Biology and Technology (fuits and flowers)
1801 ดร.จริงแท้ ศิริพานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology of fruit and vegetable
1802 ดร.ณัฐวุฒิ เนียมสอน สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Non-destructive Testing
1803 ดร.ดามร บัณฑุรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Thermal Fluid
1804 ดร.ดามร บัณฑุรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Thermal Fluid
1805 ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Post-Production Engineering
1806 ดร.ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest handling, Drying technology and Non-destructive
1807 ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน สำนักงานปลัดกระทรวง Pollen development
1808 ดร.อรอุมา เรืองวงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Plant Pathology (bacteria and fungi), Plant Disease: Biological Control, Molecular Biology
1809 ดร.พิมพ์ใจ สีหะนาม สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Physiology, Plant Physiology
1810 ดร.พิชญา พูลลาภ สำนักงานปลัดกระทรวง Bioresouce Engineering
1811 ธรรมศาสตร์ จันทรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมข้าวศัตรูพืช, Zero Waste, การสร้างมูลค่า
1812 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
1813 ดร.สุวิทย์ สมสุภาพรุ่งยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา Internet of things, Electrical
1814 ดร.ภัทรมาศ เทียมเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การบำบัดน้้าเสีย น้้าชะมูลฝอย การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการ การนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์
1815 อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
1816 ดร.อดุลย์ หาญวังม่วง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา "Thermoelectric Materials, Materials Application, Solar Cell, Thin Films"
1817 ดร.นฎาภัสส์ คุ้มกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา แปรรูปอาหาร, การผลิตเอทานอลจากกระบวนการ fermentation และการทำให้บริสุทธิ์ สารสกัดการต้านอนุมูลอิสระ การต้านการอักเสบ
1818 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โภชนาการอาหารม้า
1819 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
1820 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
1821 รศ.ดร. พรชัย ราชตนะพันธุ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์
1822 ดร. วรินพร กลั่นกลิ่น อาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1823 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ทองท้วม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พลังงานทดแทน,
1824 ดารินทร์ ล้วนวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
1825 กาญจนวรรณ สีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การวิเคราะห์ดิน การวิเคราะห์น้ำ การใช้พืชบำบัดน้ำเสีย
1826 ผศ.ไพศาล ดาแร่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คอมพิวเตอร์ ด้านการจัดการสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ โปรแกรมสำเร็จรูปด้านสารสนเทศ
1827 ศิริภรณ์ โคตะมี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิเคราะห์คุณภาพสัตว์น้ำ
1828 อาจารย์ยสินทินี เอมหยวก มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การประเมินคาร์บอนเครดิตขององค์กร CFO
1829 ดร.พีรรัตน์ ดวงติ๊บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การใช้โปรแกรมทางสถิติ และการทดสอบทางประสาทสัมผัส
1830 อาจารย์อพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1831 ผศ.ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชียวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ และปลาสวยงาม
1832 ผศ.ดร.จารวี เลิกสายเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1833 ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์
1834 อาจารย์ณวรรณพร จิรารัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตสัตว์
1835 อาจารย์จันทรา สโมสร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม และการผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
1836 อาจารย์วรรณภา สระพินครบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1837 อาจารย์เมธาวี อนะวัชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1838 ผศ.ดร.เฉลิมพล ถนอมวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1839 ผศ.ดร.กฤษดา กาวีวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1840 ดร.พรศิลป์ แก่นท้าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงโค-กระบือ
1841 ผศ.ดร.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
1842 อาจารย์รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการความรู้ และการวิเคราะห์ผลกระทบ
1843 อาจารย์ศิริภรณ์ บุญประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสื่อการเรียนรู้
1844 ดร.นนท์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านระบบฐานข้อมูล คลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล และระบบเครือข่าย
1845 อาจารย์ลัดดาวัลย์ หวังเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
1846 อาจารย์ฤทธิ์เดชา ตาบุญใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์
1847 อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงแมลงโปรตีนเพื่อเป็นอาหารสัตว์
1848 อาจารย์ ดร.สิรินทัศน์ เลี่ยมแหลม มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีพลาสมา เทคโนโลยีแป้ง ขนมขบเคี้ยว
1849 จิระศักดิ์ ธาระจักร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีวัสดุ
1850 นายอุเทน พรหมมิ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การถ่ายภาพสินค้า การตกแต่งภาพสินค้าด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
1851 นายศักดิ์เทพ จำนงค์ลาภ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ภาพสินค้าในเพจ FB สินค้าชุมชนเมืองชะอำ ถ่ายภาพสินค้า แต่งภาพสินค้า
1852 นายวีรวัฒน์ เชี่ยวปัญญานันท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ระบบคอมพิวเตอร์
1853 ดร.จรัสพิมพ์ วังเย็น สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ และของที่ระลึก
1854 อ.ศักดิ์ชัย อินจู มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการพัฒนากระบวนการผลิต และออกแบบผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า
1855 อ.กิตติวัลย์ ทองอร่าม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาศักยภาพการผลิต
1856 ผศ.ดร.ภัทวรา ปฐมรังษิยังกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การอบแห้งแบบพ่นฝอย
1857 ผศ.ดร.ไชยวัฒน์ ไชยสุต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เทคโนโลยีการสกัดสมุนไพรทำเครื่งสำอาง อาหารเสริมจากสมุนไพร
1858 อาจารย์อรทัย บุญทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
1859 รศ. ดร. ยุทธนา พิมลศิริผล  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์
1860 รศ.พิศมัย​ อาวะกุลพาณิชย์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบสิ่งทอ และการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้า
1861 ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร, มาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1862 พท.ป.รัฐพรรณ สันติอโนทัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนเทคโนโลยีทางเครื่องสำอาง ยา และเวชสำอาง
1863 ผศ.ดร.สมชาย จอมดวง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
1864 รศ.ดร.ยุทธนา พิมลศิริผล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์
1865 อ.ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบสิ่งทอ ,ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
1866 กิตติ ไชยพาน  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบและพัฒนาเครื่องแต่งกาย
1867 นายนำโชค ชมกระโทก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
1868 อ.ดร.สุวรนี ปานเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1869 ผศ.ดร.สุกัญญา พยุงสิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ด้านการตลาด
1870 อ.ดร.สุธิษา เชญชาญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ
1871 อ.ชวลิต ศุภศักดิ์ธำรง มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ด้านบริหารธุรกิจ
1872 อ.ดร. สุดารัตน์ ขัดสาย มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ด้านวิทยาศาสตร์
1873 ผศ.สุไหลหมาน หมาดโหยด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ การปรับปรุงพันธุ์ การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ สารสกัดยับยั้งเชื้อก่อโรคในสัตว์น้ำ
1874 อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ศรีหงษ์ทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ชีวเคมี เคมี
1875 พิชญ์ชาญ ศรีเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เคมี เคมีมีวิเคราะห์ เคมีเครื่องสำอาง วัสดุศาสตร์ การสังเคราะห์ทางเคมี
1876 รศ.ดร.ภญ. วรินธร รักษ์ศิริวณิช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปรับปรุงสูตรเบสสบู่ และกระบวนการผลิต
1877 อาจารย์ ดร.สุเมธ เพียยุระ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ โพรไบโอติก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การผลิตขนมขบเคี้ยวอัดพองโดยกระบวนการเอกซ์ทรูชัน
1878 อาจารย์ธนะดา ก้อนกั้น มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ส่งเสริมการตลาด พัฒนาธุรกิจเกษตรชุมชน
1879 อ.ปัญญ์ชลี เต่าทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนารูปแบบและบรรจุภัณฑ์
1880 ผศ.นฤมลวรรณ สุขไมตร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
1881 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจสอบวัตถุดิบ
1882 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์
1883 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจสอบวัตถุดิบและการตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์
1884 ผศ.สุชาดา สวัสดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การสร้างมูลค่าเพิ่มและการใช้ประโยชน์
1885 รศ.ดร.ศศิธร วชิรปัญญาพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนามูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์
1886 อ.เจนจิรา เดชรักษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์
1887 รศ.ดร.อรวรรณ นิ่มตลุง มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์
1888 ผศ.ดร.สุนทรีย์ วิพัฒครุฑ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์
1889 ดร.พิชณ์สิณี สุวรรณแพทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Graphene-based materials and related nanomaterials, Nanocomposites, graphene oxide solution, calcium lactate solution, and a mixture of graphene oxide and calcium lactate solution.
1890 ผศ.ดร.กุลธิดา สายพรหม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด Crowdsourcing/แพลตฟอร์ม Crowdsourcing/การสร้างสรรค์งานสื่อดิจิทัล
1891 นายธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การถ่ายภาพสินค้าเพื่อการตลาด/การผลิตสื่อด้านการโฆษณา
1892 นายธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การถ่ายภาพสินค้าเพื่อการตลาด/การผลิตสื่อด้านการโฆษณา
1893 นางสาวเมทินี ปัญญาฟู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย การออกแบบบรรจุภัณฑ์
1894 นางสาวพรรณรพี ธนรพิพรรณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย การส่งเสริมการตลาด/ประชาสัมพันธ์
1895 นางสาวภัทรพร วงค์ชัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย ดินและปุ๋ย
1896 ดร.ภารวี ศรีกาญจน์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
1897 ดร.ณัฏฐิรา ก๋าวินจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านโครงสร้างหน้าตัดของดิน (Soil Profile) และวัดปริมาณคาร์บอนที่สะสมในดิน
1898 อาจารย์สุภภณ พลอยอิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1899 อาจารย์ปุณณะวุทฒ์ ยะมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านสรีรวิทยาทางการสืบพันธุ์
1900 ธรรมรัตน์ บุญสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความเขี่ยวชาญ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมกราฟฟิค การสร้างแบบด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้เครื่องมือเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมเครื่องหนัง
1901 นางสาว จรินทร โคตพรม มหาวิทยาลัยนครพนม 1.การนำองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมนุนไพร มาประยุกต์ใช้การดูแลสุขภาพอาทิเช่น การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ หรือการแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้น 2.การนำองค์ความรู้ทางการพยาบาลในด้านการป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟู และส่เงสริมสุขภาพ
1902 นางสาววนิดา ถาปันแก้ว มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนกรค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้า ลายผ้า บรรจุภัณฑ์ผ้าทอ และจักสาน,กระบวนกรวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชนและผู้ประกอบการ, การทำการตลาดออนไลน์, งานด้านการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
1903 นางสาวภาวนา ทิมผ่องใส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การทำAffiliate ในApp shopee,Tiktok การตกแต่งภาพเพื่อโปรโมทสินค้า
1904 ผศ.ดวงกมล ตั้งสถิตพร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช วิทยาศาสตร์การอาหาร
1905 อาจารย์ดวงรัตน์ แซ่ตั้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1906 ผศ.ดร.พรทิพพา พิญญาพงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลกติก
1907 ผศ.ฐิติพร เทียรฆนิธิกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหารเพื่อให้ได้มาตรฐาน
1908 อาจารย์ จงรัก ดวงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การผลิตและการใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ
1909 อาจารย์ โอปอลล์ รังสิมันตุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการจัดการชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
1910 ดร.ณัฏวลิณคล เศรษฐปราโมทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร - การแปรรูปอาหาร - การทดสอบทางด้าน ประสาทสัมผัส - การศึกษาอายุการเก็บรักษาอาหาร
1911 ดร.ดลพร ว่องไวเวช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปอาหาร - การสกัดและวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ (Functional food) - การสกัดสารมูลค่าสูงจาก waste อุตสาหกรรมอาหาร
1912 รศ.ดร.สิริวดี พรหมน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนปศุสัตว์
1913 รศ.ดร.สิริวดี พรหมน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนปศุสัตว์
1914 นางสาวธันย์นรี พรไพรเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก -การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ -การตลาดออนไลน์ -การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
1915 อ.ดร.สุทธิดา วิทนาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1916 ดร.สุณิษา คงทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สารเสริมสุขภาพและอาหารเพื่อสุขภาพ เภสัชวิทยา (pharmacology)
1917 ดร.สุณิษา คงทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบสารเสริมอาหารจากพืชกระท่อมชนิดผงไมโครแกรนูลต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและสุขภาพลำไส้ในไก่เนื้อ
1918 อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช อายุรศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
1919 อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช พืชอาหารสัตว์ คุณค่าทางโภชนะ
1920 น.สพ.จตุรพัฒน์ คำแป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การตัดแต่งชิ้นเนื้อ
1921 นายธีระวัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ทางด้านจุลชีววิทยา
1922 ผศ.ดร.กฤตยา หนูสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช กลุ่มสาขา Natural Sciences เทคโนโลยีการสกัดสีจากธรรมชาติสำหรับใส่ในอาหาร การใช้สีจากธรรมชาติในการทำผ้ามัดย้อม
1923 นางสาวนวลนพมล ศรีอุทัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช กลุ่มสาขา Natural Science โภชนะศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง,การผลิตโคนม,การผลิตสุกร
1924 ผศ.ดร.ศิรินาถ ศรีอ่อนนวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีจุลชีววิทยาทางอาหาร
1925 ผศ.ดร. ธีร์ โคตรถา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การออกแบบสินค้าแฟชั่นและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ การตลาดสินค้าแฟชั่น การโฆษณาสินค้าแฟชั่น การออกแบบตกแต่งภายใน
1926 ผศ.หทัยกาญจน์ ทองศรีสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ด้านบัญชีและการเงิน การจัดการธุรกิจชุมชน
1927 นายกฤตเมธ นิติวัฒนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารการตลาดผลิตภัณฑ์
1928 ศ.ดร.ศิริธร ศิริอมรพรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การทำผงแจ่วฮ้อน ข้าวลดเบาหวาน ผงแกงอ่อม ข้าวชงดื่มลดเบาหวานรสกาแฟและรสโกโก้ ชาใบอ่อนข้าว
1929 ศ.ดร.อนุชิตา มุ่งงาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการอาหารและโภชนศาสตร์
1930 ผศ.ดร.มนัชญา สังข์ศรีอินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหารและโภชนศาสตร์
1931 อาจารย์ ดร.วาสนา แสงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การพัฒนารูปแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
1932 นายธนาวิทย์ กางการ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ด้านแผนพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ด้านนวัตรกรรมแนวคิดทางศาสนาพุทธ นวัตววิถี
1933 อาจารย์ ดร. สุพัตรา บุตรเสรีชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เครื่องกลั่นสมุนไพรด้วยระบบไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน
1934 อาจารย์ ดร.สามารถ สินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เทคโนโลยี Internet Of Things ด้านการเกษตร (Smart Farm)
1935 นายภัครพล อาจอาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ iot , เครือข่ายคอมพิวเตอร์ , การวิเคราะห์ข้อมูล
1936 รศ.ดร.วสันต์ ด้วงคำจันทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิศวกรรมการอาหาร
1937 ผศ.ดร.นพคุณ ภักดีณรงค์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ ชีววิทยา วิเคราะห์สารอาหาร
1938 ผศ.ดร. ปิยนุช คะเณมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ ชีววิทยา วิเคราะห์สารในพืช
1939 รศ.ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ ชีววิทยา
1940 ผศ.ดร.จินดาพร จำรัสเลิศลักษณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิศวกรรมอุณหภาพ และขีวภาพ
1941 ผศ.ดร.สิริพัค สุระพร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ การวิจัยด้านหม่อนและไหม วิจัยครั่งที่ใช้ย้อมสี
1942 รศ.ดร.จิตรลดา วิชาผง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตรวจวิเคราะห์สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เคมีวิเคราะห์
1943 ผศ.ดร.อิศราวุธ ประเสริฐสังข์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร ออกแบบผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
1944 ดร.ธิติวุทธิ วงค์คำแปง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1945 ผศ.ดร.เกศสุคนธ์ มณีวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีการอาหาร
1946 ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพ
1947 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย เจริญสิน มหาวิทยาลัยพะเยา โภชนาการและการกำหนดอาหาร
1948 ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ มหาวิทยาลัยพะเยา โภชนาการและการกำหนดอาหาร
1949 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมศักดิ์ พินธะ มหาวิทยาลัยพะเยา ชีวเคมี
1950 รองศาสตราจารย์ ดร.ไพบูลย์ ปะนาเส มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง
1951 รศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร.ฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง
1952 ดร.กรทิพย์ กันนิการ์ มหาวิทยาลัยพะเยา เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1953 รศ.ดร.ดุจฤดี ปานพรหมมินทร์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพด้านการประมง
1954 ผศ.ดร.กัญญาณัฐ สุนทรประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพด้านการประมง
1955 ผศ.ดร.ยุพารัตน์ โพธิเศษ มหาวิทยาลัยพะเยา ความปลอดภัยทางอาหาร
1956 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง
1957 สุวิจักขณ์ ห่านศรีวิจิตร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การแปรรูปอาหาร เครื่องดื่ม การทำอบแห้ง อาหารแห้ง การแปรรูปโดยใช้ความร้อนสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1958 ว่าที่ร้อยตรีฉัตรชัย ศรีเพิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์/การผลิตอาหารข้นสำหรับโคขุน/การเลี้ยงโคขุน
1959 ดร.อุไรวรรณ เพ็ชรกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ เคมีอินทรีย์
1960 นายเสกศักดิ์ น้ำรอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคนิคการเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสุกรขุน
1961 ผศ.ดร.สายใจ แก้วอ่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีชีวภาพ,ชีววิทยา
1962 อาจารย์สุทธิกาญจน์ แก้วคงบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สื่อออนไลน์,การตลาดออนไลน์
1963 อาจารย์สุภิญญา ชูใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
1964 ดร.สุณิษา คงทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เภสัชวิทยา (pharmacology)
1965 ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเชือดแพะตามมาตรฐานม การเตรียมซาก และการตัดแต่งชิ้นส่วน
1966 นาย ธวิช ตันฑนะเทวินทร์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ต่าง ๆ เพื่อให้ทันสมัย
1967 นายวทัญญู ศรีไสว วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ยาหม่อง เพื่อบรรเทาอาการแมลงสัตย์กัดต่อย หน้ามือดวิงเวียน คัดจมูกเนื่องจากหวัด
1968 นายเกียรติศักดิ์ ศรีแก้ว วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ด้านการประดิษฐ์เครื่องอำนวยความสะดวกในการทำรังผึ้ง
1969 นางสิรินทร เขียนสีอ่อน วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ด้านการผลิต และพัฒนาอาหาร เพื่อบำรุงสุขภาพ
1970 อาจารย์ โฆษิต ไชยประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศบ. พัฒนาชุมชน ม.สงขลานครินทร์ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศม. ชนบทศึกษาและการพัฒนา ม.ธรรมศาสตร์ ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาชุมชน การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
1971 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวาพร มหาทำนุโชค มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ส.บ. (สาธารณสุขชุมชน), วท.บ. (กิจกรรมบำบัด) วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (การส่งเสริมสุขภาพ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์) ความเชี่ยวชาญ การสร้างเสริมสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ ปัญหาการฆ่าตัวตาย สาขาความเชียวชาญ สุขภาพ [181]
1972 ดร.ชนินทร์ แก้วมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1973 ดร.ณัฐกร ไชยแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์
1974 ดร.ปัทมา จันทร์เรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์
1975 นางสาวกัลยา พงสะพัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า
1976 นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์) ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140]
1977 รองศาสตราจารย์ ดร.สราวุฒิ สมนาม มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมี) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ การวิเคราะห์ทางเคมี, การพัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์แบบประหยัด สาขาความเชี่ยวชาญ การวิเคราะห์ทางเคมี
1978 นางภัทรมน พันธุ์แพง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเอกคณิตศาสตร์ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ความเชี่ยวชาญ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ IOT ออกแบบนวัตกรรม สาขาความเชียวชาญ คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
1979 นางสาวนภาพร ตุ้มทองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ iะบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ เว็บไซต์
1980 นายกฤษธิ์พนธ์ พรรณรัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ai iot electron
1981 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธารีรัตน์ ขูลีลัง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง : การจัดการ, การตลาด, บริหารธุรกิจ
1982 อาจารย์สราวุฒิ ดาแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ: - เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) - เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Agricultural Machinery Technology
1983 อาจารย์สุรัติ สังข์แก้ว มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Anti-inflammatory, Anti-inflammatory activities, Antioxidant activity, Phytochemical screening, Natural products, Bioactivities, Phytochemistry
1984 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรวิชญ์ เควด มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Multiparadigm Data Science, Artificial Intelligence and Machine Learning, Smart Systems and Internet of Things
1985 ผศ. ดร.นภาพร วรรณาพรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การวิเคราะห์ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทางเคมี
1986 เยาวลักษณ์ ขันหัวโทน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ด้านเคมีวิเคราะห์ เกี่ยวกับการหาปริมาณสารที่สนใจในตัวอย่างต่างๆ ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
1987 ชุติภัสร์​ เรืองวุฒิ​ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การปฏิบัติ​การพัฒนาอาหารและผลิตภัณฑ์​ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ​อาหาร การปรุงผลิตอาหาร และคุณภาพทางประสาทสัมผัส"
1988 ดร. ธนายุทธ ช่างเรือนงาม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การทำฐานข้อมูลเเละวิเคราะห์ข้อมูลทางธุกิจ
1989 ผศ.ดร.พุทธิวัต สิงห์ดง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการส่งออก และ ภายในประเทศ
1990 อาจารย์ รัฐพรรณ สันติอโนทัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการเภสัชภัณฑ์) ความเชี่ยวชาญ การแพทย์แผนไทย / เครื่องสำอาง / เวชภัณฑ์เภสัชภัณฑ์/ การพัฒนา สารสกัดจากสมุนไพรเพื่อพัฒตาเป็นผลิตภัณฑ์ / Cosmetic nano technology สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181]
1991 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร พังสุบรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, ชีววิทยาประยุกต์, เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์, เทคโนโลยีการเกษตร
1992 อาจารย์สุวรรณา ทองดอนคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การผลิตสัตว์, การจัดการการเลี้ยง/การจัดการฟาร์ม, โภชนศาสตร์สัตว์/อาหารลดต้นทุน, คุณภาพเนื้อสัตว์
1993 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
1994 ผศ.ดร.อิศรา ศิรมณีรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านสุขภาพประชากร
1995 อาจารย์ปัญกิจ แก้วเหล็ก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการขยะ วัสดุคาร์บอนต่ำ
1996 ผศ.ดร.สุรชัย ขันแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วัสดุบรรจุภัณฑ์ การรักษาคุณภาพด้วยบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การประยุกต์ใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์เพื่อการควบคุมคุณภาพ ยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางการพิมพ์ในการผลิตสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาวัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
1997 ปุณยนุช อมรดลใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านสมุนไพร แปรรูปสมุนไพร
1998 อาจารย์สมพร วาสะศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
1999 ผศ.ประดิษฐ์ คำหนองไผ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การแปรรูปอาหารจากภาคเกษตร ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
2000 อาจารย์ยุพา คงพริก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์
2001 ผศ.ดร.วัชระ ดำจุติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การแปรรูปสมุนไพร พัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
2002 อาจารย์แสงนภา ทองสา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเภสัช การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง พัฒนาผลิตภัณฑ์และยาจากสมุนไพร
2003 อาจารย์ปาริชาติ แปลงไธสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
2004 ภญ.ดร.ภัทรานุช เอกวโรภาส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การผลิตยา, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
2005 ผศ. ดร.พรรณนภา หาญมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การประเมินทางประสาทสัมผัส/การพัฒนาผลิตภัณฑ์
2006 อาจารย์จิราพร ชุมชิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งทอ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการสินค้าสิ่งทอ ความเชี่ยวชาญ การฟอก ย้อม พิมพ์ ตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ การย้อมสีธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยสีพิมพ์ธรรมชาติเพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สาขาความเชียวชาญ เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ [118] และเทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ [37]
2007 อาจารย์ทวีศักดิ์ ทองไฝ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์
2008 ผศ.ดร.อิทธิพร แก้วเพ็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เทคโนโลยีการแปรรูปแป้งและข้าว เทคโนโลยีบรรจุ ภัณฑ์อาหาร
2009 ผศ.ดร.ธิติมา พานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร การวิเคราะห์คุณค่าทาง โภชนาการอาหาร
2010 นายอาทิตย์ จูฑามาตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยากรกระบวนการ และกระบวนการพัฒนากลุ่ม ผู้ใช้น้ำ
2011 อาจารย์รัญจวน อิสรรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การเลี้ยงกระบือและความสมบูรณ์พันธ์ในสภาพการเลี้ยงแบบปล่อยแปลง
2012 อาจารย์ ดร.นฤมล รักไชย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การผลิตไซรัปจากข้าวช่อขิง ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ
2013 ผศ.ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การเต​รี​ยม​สาร​สกัด​จาก​สมุน​ไพร​ การ​ทดสอบ​ฤทธิ์​ทางชีวภาพ​ต่าง​ ๆ ของ​สาร​สกัด​
2014 อาจารย์ ดร.กษิเดช ฉันทกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การ​พัฒนา​ผลิตภัณฑ์​และ​การ​แปรรูป​อาหาร
2015 อาจารย์ ดร.กมลทิพย์ นิคมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
2016 ผศ.ดร.วนิดา เพ็ชร์ลมุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี
2017 รศ.ดร.ไสว บัวแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2018 รศ.ดร.ไสว บัวแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
2019 อาจารย์ชัญญาภัค ไชยพรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการขนส่งเเละบรรจุภัณฑ์ (บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง)
2020 อาจารย์ธัญญรัตน์ ศุภการนรเศรษฐ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ด้านสาธารณสุข ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร การทำสปา
2021 นายธง คำเกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การท่องเที่ยว, การพัฒนาผลิตภัณฑ์, การตลาด
2022 นางสาววิภาดา วงศ์สุริยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา นวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์, เทคโนโลยีการผลิต, วิศวกรรมศาสตร์
2023 รศ.ดร.จิตรา สิงห์ทอง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เทคโนโลยีการอาหาร
2024 อาจารย์ฐิตินันท์ เหมะธุลิน มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การพัฒนาและแปรรูป ผลิตภัณฑ์อาหาร/การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
2025 ผศ.สิทธินันท์ วิวัฒนาพรชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การวิเคราะห์ความคุ้มมค่าของ โครงการ/การประเมิน มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ/การตลาดธุรกิจการเกษตร/ การจัดการธุรกิจเกษตร
2026 อาจารย์ลัดดาวัลย์ เลิศจันทึก มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การวางแผนธุรกิจ/การเพิ่ม ช่องทางการตลาด/ตลาด ออนไลน์
2027 ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาชาอัสสัม
2028 นายขวัญพงษ์ สมมิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย การออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์
2029 อาจารย์สอางเนตร ทินนาม มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การบริหารจัดการ การบริหารการเงินและบัญชี การบริหารจัดการด้านระบบงานของกิจการ
2030 ดร.วชิรชัย พบูประภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้ทางยาและเครื่องสำอางค์
2031 ผศ.ศศิธร ตัณฑวรรธนะ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์หรือยาใช้ภายนอก
2032 มยุรา ทองช่วง มหาวิทยาลัยรามคำแหง ชีวเคมี
2033 ดร.ปฐมพงษ์ ฉับพลัน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การถ่ายทอดเทคโนโลยี ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสำหรับสรรพสิ่ง (IoT)
2034 อาจารย์พิสุทธิลักษณ์ บุญโต มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกภาษาเยอรมัน วิชาโทสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมและการพัฒนา) มหาวิทยาลัยมหิดล วุฒิการศึกษาปริญญาเอก (กำลังศึกษา) Philosophy of Doctor (Architectural Heritage Management) มหาวิทยาลัยศิลปากร ความเชี่ยวชาญ พิพิธภัณฑ์ / มรดกวัฒนธรรม / การจัดการวัฒนธรรม สาขาความเชียวชาญ การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
2035 อาจารย์คมสัน โกเสนตอ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขา การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก อยู่ในระหว่างศึกษาต่อ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาระบบสารสนเทศ การประมวลผลรูปภาพ (Images Processing) เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Science)
2036 1. อาจารย์วุฒิพล ฉัตรจรัสกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ โฆษณา การสื่อสารการตลาด สื่อสารมวลชน สื่อสารระหว่างประเทศ การเงินและการบัญชี การตลาดดิจิทัล
2037 1. อาจารย์กฤษดา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ ระบบสมองกลฝังตัว ระบบเครือข่าย การจัดการนวัตกรรม
2038 1. อาจารย์กาญจนา ดงสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย การจัดการนวัตกรรม
2039 ผศ.ทนงศักดิ์ ปัดสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การเลี้ยงไหมพื้นบ้านให้ได้เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย “ตรานกยูงพระราชทาน”
2040 อาจารย์นัชชา อู่เงิน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ : การทำสื่อออนไลน์ และการประชาสัมพันธ์การตลาด
2041 1. ผศ. ดร. เหล็กไหล จันทะบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ ด้ารการเกษตร ประมง กบ ระบบอัตโนมัติด้านการเกษตร สมาร์ทฟาร์ม
2042 ผศ.ดร.วิกรม บุญนุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร การเป็นที่ปรึกษาด้าน PMQA การบริหารจัดการองค์กร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
2043 ดร.ภูวนารถ ศรีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีประสบการณ์ด้านการจัดกการท่องเที่ยวทั้งภาคทฤษฏีและการปฏิบัติงานในสาขาการท่องเที่ยว การโรงแรม และบริการ