ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปภากร พิทชวาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เครื่องจักรและระบบการผลิต
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คธา วาทกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เครื่องจักรและระบบการผลิต
3 นางธิติมา พานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: เคมีอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ชีวเคมีอาหารทะเล
4 นางขนิษฐา พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การควบคุมและการประกันคุณภาพ
5 ผศ.ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เทคโนโลยีแปรรูปผลผลิตเกษตรหลังการผลิต เฃ่น ออกแบบ สร้าง เครื่องจักรและพัฒนากระบวนการ
6 นายกานต์ วิรุณพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้างเครื่องจักร ปรับปรุงพัฒนากระบวนการผลิต
7 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
8 อาจารย์บุษบา มะโนแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การพัฒนากลุ่มวิสาหกิจผู้ประกอบการแปรรูปอาหารท้องถิ่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืช การแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง
9 นางสาวชนันท์ธิพัฒน์ พรหมสนธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -การเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบเหลือใช้ -โลจิสติกส์ -การพัฒนาดิน น้ำ ผลผลิตทางเกษตร -การจัดการดิน
10 นายณรงค์ศักดิ์ เถื่อนใย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบบำบัดน้ำเสีย
11 ผศ.วิเชษฐ ยิ้มละมัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาเครื่องมือและเครื่องจักรทางการเกษตรและอื่นๆ ห้องอบผลิตภัณฑ์ Temperature Control ห้องอบผลิตภัณฑ์ใช้วัสดุฉนวนความร้อนและเมทัลชีสแบบเรียบขนาด 2 เมตร x 2 เมตร x 2 เมตร และใช้การระบายความร้อนด้วยลูกหมุนระบายความร้อน ควบคุมอุณหภูมิผ่าน Temperature Control วัดอุณหภูมิด้วย เทอร์โมคัปเปิล 2 จุด แหล่งกำเนิดความร้อนอยู่ภายนอก
12 ดร.เอกบุตร อยู่สุข มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี กระบวนทัศน์การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรทฤษฎีใหม่ในด้านเครื่องยนต์การเกษตร การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเครื่องยนต์การเกษตร
13 ดร.นพพร เทนอิสสระ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การทำความเย็นด้วยลมอัด
14 ดร.สมเกียรติ สุขุมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
15 นายนัฐพงษ์ ทองปาน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี งานด้านเทคโนโลยีงานเชื่อม งานซ่อมบำรุงเครื่องยนต์ งานเครื่องมือวัดละเอียด
16 ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เนื้อสัตว์ และการทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตอาหารต่างๆ. 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารทั่วไปและอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
17 ดร.รณกร สร้อยนาค มหาวิทยาลัยพะเยา ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน บริการปรึกษาแนะนำการจัดทำระบบ GMP การวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูปอาหารทุกประเภท
18 อาจารย์มานพ แย้มฟง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบและสร้างเครื่องจักรแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร, ระบบอบแห้ง, ระบบเก็บรักษาและยืดอายุผลิตผลการเกษตร, วิศวกรรมเครื่องกล, เทคโนโลยีพลังงาน
19 ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบและวิเคราะห์เครื่องจักรกลโดยใช้โปรแกรมด้านCADและCAE,การวิเคราะห์เครื่องจักรกลโดยใช้ระเบียบทางด้านไฟไนท์อิลิเมนท์,Simulation,CFD,การจัดการและบริหารขยะ,หุ่นยนต์อัตฉริยะ,ระบบอบแห้ง,ระบบรักษาผลิตผลการเกษตร,The application of Mechatronics & Manufacturing Systems,พลังงานทดแทน
20 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ให้ความรู้ในด้านการแปรรูปข้าว
21 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ให้ความรู้ในด้านการวิเคราะห์อาหาร/ทดสอบคุณภาพของอาหาร
22 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปแป้งข้าว
23 ผศ.ดร. น้ำทิพย์ วงษ์ประทีป มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การผลิตตามหลักเกณฑ์การผลิตอาหารที่ดีโรงงานเครื่องดื่มและอุตสาหกรรมอาหาร การแปรรูปข้าว การแปรรูปผักและผลไม้ เครื่องดื่มสมุนไพร
24 อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว
25 อาจารย์อารยา บุญศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตรเน้นผลิตภัณฑ์จากพืชผักผลไม้ การเกษตร ด้านสารชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
26 อาจารย์ธนพล กิจพจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรการ แปรรูปจากผลิตผลทางเกษตรทั้งที่เป็นอาหารและไม่ใช่อาหาร การวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร การประมวลผลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ ประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
27 อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
28 อาจารย์ ดร.สรวิศ สอนสารี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิจัยและพัฒนา, วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ, วิศวกรรมเครื่องกล, พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ (Solar Thermal) , การเปลี่ยนรูปพลังงาน (Energy Conversion), System Analysis and Design, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
29 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงพรรณ สังข์ทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร
30 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทัยวรรณ ฉัตรธง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร, Cereal technology
31 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรดรัล จุลกัลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร Agricultural product development
32 รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุการ ดาจันทา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เคมีเครื่องสำอาง Food Science Food Safety Bioactive compounds
33 อาจารย์กนกวรรณ พรมจีน มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
34 อาจารย์เปรมนภา สีโสภา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม natural product, delivery system, cosmetic science
35 อาจารย์ ดร.หทัยทิพย์ ร้องคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร
36 อาจารย์พัชราภรณ์ อินริราย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Heat transfer, Solar Energy, Renewable Energy, Properties of Agricultural and food product, Drying technology, Waste agriculture to valuable product
37 อาจารย์สุรินทราพร ชั่งไชย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิศวกรรมอาหาร การออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การออกแบบโรงงานอาหาร การวางแผนกระบวนการผลิตอาหาร มาตรฐานความปลอกภัยของอาหารในระดับสากล การประเมินคุณภาพอาหารและผลผลิตทางการเกษตรทางคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
38 นางสาวกมลทิพย์ กรรไพเราะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปอาหาร เคมีอาหาร บรรจุภัณฑ์และอายุการเก็บรักษา
39 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล แปรรูปข้าว
40 นางสาวภัทรวดี เอียดเต็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัมนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตประมง
41 ผศ.รอมลี เจะดอเลาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล
42 นางสาวนุชเนตร ตาเยีะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ยกระดับสถานประกอบการ ิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มาตรฐานฮาลาล แปรรูปข้าว
43 นายภาณุศักดิ์ มูลศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ออกแบบระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
44 นายอภิเดช บุญเจือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา 1. เครื่องทำน้ำร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ 2. ระบบระบายอากาศ
45 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัญญา เทียนนาวา มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การออกแบบและสร้างเครื่องร่อนดินทำความสะอาดหัวกระชายดำ สำหรับระบบการผลิตกระชายดำของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพร
46 ดร.ณัฏฐ์ สิริวรรธนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร - การออกแบบเครื่องจักรระบบอัตโนมัติ - การพัฒนาตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ - การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร การออกแบบบรรจุภัณฑ์
47 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา เหลียวตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. การสกัดและวิเคราะห์สาระสาคัญจากผลผลิตทางการเกษตร 2. การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เทคโนโลยีแป้ง เทคโนโลยีอาหารผง มาตรฐานอาหาร 3. วิศวกรรมอาหาร โดยเฉพาะกระบวนการให้ความร้อนแก่อาหาร และการทาแห้งด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น การทาแห้งแบบพ่นฝอย การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง และการทาแห้งด้วยเตาอบลมร้อน เป็นต้น
48 ดร.วชิรญา เหลียวตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ขนมไทย ข้าวและธัญพืช วิเคราะห์คุณภาพอาหาร และมาตรฐานอาหาร 2.การพัฒนาฟิล์มบริโภคได้ (edible film) สาหรับพัฒนาเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
49 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาขวัญ ทองรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การแปรรูปสัตว์น้า การแปรรูปเนื้อสัตว์ การวางแผนและการปรับปรุงงาน
50 อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร
51 อาจารย์สิริวรรณ สุขนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา กฎหมายอาหาร การวิเคราะห์อาหาร
52 ดร.กมลทิพย์ นิคมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูปอาหาร
53 ผศ.ดร นพรัตน์ วงศ์หิรัญเดชา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูปอาหาร
54 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
55 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
56 อ.ดร.สุวรนี ปานเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
57 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า
58 ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี การตรวจวิเคราะห์โลหะหนัก โลหะหนักเป็นพิษ ตกค้างในดิน น้ำ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหาร
59 อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี -การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า -การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
60 อาจารย์สมพร วงษ์เพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Industrial Engineering
61 ผศ.ธนัช ศรีพนม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีเครื่องจักรกล
62 ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ โรจน์วิรุฬห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบเตาเผาถ่านคุณภาพสูง และเครื่องจักรสำหรับอัดแท่งถ่าน รวมทั้งการแปรรูปถ่านเป็นถ่านกัมมันต์และการกระตุ้นถ่าน (Activate) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดกลิ่น
63 ดร.วัฒนา ทนงค์แผง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อุตสาหกรรมบริการ และอาหารและเครื่องดื่ม
64 ผศ.ดร.กฤษดา ค้าเจริญ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิจัยพัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์
65 นาย สุพีระ วรแสน มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิจัยพัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์
66 ผศ.ดร.ณัฐจรีย์ จิรัคคกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เทคโนโลยีการอาหาร
67 ดร.ชุมพล เหลืองชัยศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีฟิมล์บาง ระบบเครื่องมือวัด และระบบอัตโนมัติ เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์
68 นายพินิจนันท์ รุทธนานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ เช่น เมล็ดข้าวและใยสับปะรด แล้วใช้ขบวนการทาง XRD เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของวัสดุหลังจากผ่านขบวนการย่อยสลายเฉพาะด้าน เช่น รังสี
69 ผศ.ดร.ดวงฤทัย ธำรงโชติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหาร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/บรรจุภัณฑ์อาหาร/ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร3.กรรมการผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
70 ชนิดา ป้อมเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10 การประชุมวิชาการระดับชาติเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2 ให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงานแก่โครงการต่างๆ และวิทยากรอบรมในการให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงาน
71 สุพรรณ ยั่งยืน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องอบข้าวแบบถังทรงกระบอกหมุนด้วยระบบรังสีอินฟราเรดร่วมกับลมร้อนปล่อยทิ้ง/ชุดอุปกรณ์เพาะข้าวฮางงอก
72 ทนงศักดิ์ มูลตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องบดเปลือกหอยเชอรี่ เครื่องตัดอ้อย
73 อิสราภรณ์ สมบุญวัฒนกุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีชีวภาพ ปุ๋ยพืชสด ชุดเครื่องแกงอ่อม
74 จักรมาส เลาหวณิช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องอบข้าวแบบถังทรงกระบอกหมุนด้วยระบบรังสีอินฟราเรดร่วมกับลมร้อนปล่อยทิ้ง
75 เกสร วงษ์เกษม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องตีเกลียวไหม เครื่องควบเกลียวไหม
76 สุมลวรรณ ชุ่มเชื้อ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคนิคการผลิตปลาส้ม และผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ
77 นายสมบัติย์ มงคลชัยชนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตเครื่องมือและเครื่องจักรกลทางการเกษตร
78 นายอนุพงษ์ รัฐิรมย์ กรมวิทยาศาสตร์บริการ การยาง
79 ดร.ประเทียบ พรมสีนอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกลเครื่องจักรกล การติดตั้งแอร์
80 นายชาติชาย เกียรติศักดิ์โสภณ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกลไกและการออกแบบเครื่องจักรกล
81 นายไกรสร วงษ์ปู่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้าง เครื่องจักร
82 อรุณ พรหมศักดิ์ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกลไก การออกแบบเครื่องจักรกลและการทำเรือ
83 นายอำนาจ หวุ่นจันทร์ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกลไกและการออกแบบเครื่องจักรกล
84 ประกาย พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกลไกและการออกแบบเครื่องจักรกล รวมถึงระบบอิเล็กทรอนิกส์
85 นายกิตติคุณ ปิตุพรหมพันธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การพัฒนาเครื่องสับพืชและผสมอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิตโคเนื้อ
86 อาจารย์สุทธิ์พงษ์ ฟุ้งเดช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เครื่องต้นแบบการผลิตปุ๋ยหมักอัติโนมัติจากผักตบชวาด้วยระบบถังปิดเติมอากาศแบบถังหมุน
87 อาจารย์บรรลุ เพียชิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบและพัฒนาเครื่องแปรรูปอาหารสำเร็จรุปสำหรับโคเนื้อแบบควบคุมอัตราส่วนการผสมอัตโนมัติ
88 ยอด สุขแก้ว วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกลไกและการออกแบบเครื่องจักรกล รวมถึงเทคโนโลยีเครื่องจักรกล
89 อาจารย์สุรชัย นามพรมมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การพัฒนาหม้อต้มและเครื่องล้างเส้นขนมจีนอัติโนมัติ
90 อิสมาแอ มามะ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกลไกและการออกแบบเครื่องจักรกล รวมถึงเทคโนโลยีเครื่องจักรกล
91 ดร.สุพรรณิการ์ ศรีบัวทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี จุลชีววิทยาทางอาหาร การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร โพรไบโอติก อาหารหมัก
92 ผศ.ดร.สุภาพร อภิรัตนานุสรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี โครงสร้างคาร์โบไฮเดรตในอาหารและการนำไปใช้ประโยชน์
93 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรศักดิ์ สวัสดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การศึกษาชีววิทยาประมง พลวัตประชากรสัตว์น้ำ การฟื้นฟูทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง
94 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิสาขะ อนันธวัช มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การแปรรูปอาหารและเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม
95 ดร.ประกอบ ชาติภุกต์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล เช่น การสร้างเครื่องจักรเกี่ยวกับการผลิตกับชุมชน เช่น เครื่องทำปุ๋ย เครื่องปลอกมะพร้าว เครื่องตัดสับหญ้าเนเปีย โรงอบอาหารแปรรูปทางทะเล เตาเผาขยะไร้มลพิษ เครื่องผลิตขนมต่าง ๆ เป็นต้น
96 ดร.ชลากร อุดมรักษาสกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร System Dynamics, Quality control, Production Planning and Control, การออกแบบและสร้างเครื่องจักรกล, Production and Operation Management, Process improvement
97 ผศ.ดร.น้อมจิตต์ สุธีบุตร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปอาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร เทคโนโลยีการหมัก จุลชีววิทยาทางอาหาร
98 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทนง เอี่ยวศิริ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการถนอมอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร
99 อาจารย์ ดร.สุเมธี ส่งเสมอ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสุขาภิบาลอาหาร เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์อาหารต้านเชื้อจุลินทรีย์
100 นางสาววาสนา มู่สา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อาหารหมัก การนำของเสียไปใช้ประโยชน์
101 ดร.สุรีย์พร กังสนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา แปรรูปอาหาร อาหารเพื่อสุขภาพ
102 ผศ.เชาวนีพร ชีพประสพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านเอนไซม์และคุณสมบัติเอนไซม์ องค์ประกอบทางเคมีในอาหาร
103 ผศ. ฐิติมาพร หนูเนียม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น ขนมไทย
104 นางสาวฌนกร หยกสหชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ฟิล์มบริโภคได้จากแป้ง, บรรจุภัณฑ์ที่แตกสลายได้ทางชีวภาพ
105 นายวิชัย นระมาตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ -เทคโนโลยีการสื่อสาร -เทคโนโลยีไฟฟ้า -เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร์ -เทคโนโลยีพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ -เทคโนโลยีระบบการให้น้ำ
106 อาจารย์สาโรจน์ ยิ้มถิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบ การผลิตเครื่องจักรช่วยในการผลิต การออกแบบเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร
107 อาจารย์วิษณุ แฟงเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบ การผลิตเครื่องจักรช่วยในการผลิต
108 อาจารย์วรรภา วงศ์แสงธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา •เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร •เทคโนโลยีเครื่องดื่ม •เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากพืช •สุขาภิบาลและกฎหมายอาหาร
109 นางฐิติมา วงษ์คำ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี แปรรูปอาหาร ขนมไทย
110 นางภานุรัตน์ อารีพันธ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การแปรรูปอาหาร
111 นายธวัชชัย ชาติตำนาญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัฑณ์ การออกแบบ และสร้างต้นแบบเครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักร
112 รศ.วัฒนาภรณ์ โชครัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คหกรรม การแปรรูปอาหาร
113 รศ.สุกัญญา กล่อมจอหอ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ การนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดให้กับผู้ประกอบการด้านการแปรรูปอาหารให้กับผู้สนใจ
114 ผศ.พรพล รมย์นุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อาหาร เบเกอรี่
115 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ปานฤทัย พุทธทองศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. เคมีอาหาร 2. ยุทธศาสตร์ 3. เคมีเครื่งสำอาง 4. สิ่งทอและสีธรรมชาติ
116 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เตือนใจ ศิริพาหนะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร 3. อาหารปลอดภัย 4.การออกแบบบรรจุภัณฑ์
117 ดร.ปรีชา ทุมมุ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
118 ดร.ชมพูนุท ชัยรัตนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี เทคโนโลยีชีวภาพของสาหร่าย - เทคโนโลยีชีวภาพของสาหร่าย,คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
119 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฐ์ บำรุงคีรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบ การผลิตเครื่องจักรช่วยในการผลิต การออกแบบระบบควบคุมในโรงเรือน
120 ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีการอาหาร และการแปรรูปผลไม้
121 ดร.ตระกูล พรหมจักร มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย
122 รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญการหลายๆด้าน ทั้ง ด้านเกษตร อาหาร สารสำคัญในพืช น้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากพืช นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีผลงานวิจัยและบทความในวารสารนานาชาติ ไม่ต่ำกว่า 25 เรื่อง และวารสารในประเทศอีกจำนวนมาก
123 ดร.คุณากร ขัติศรี มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ข้าว แป้ง ไขมัน-น้ำมัน
124 ดร.รวิสรา รื่นไวย์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีการหมัก
125 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เครื่องจักรกลทางการเกษตร
126 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เครื่องจักรกลทางการเกษตรและแปรรูปอาหาร
127 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เครื่องจักรกลทางการเกษตรและแปรรูปอาหาร
128 นายสันติ คำไหว วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก ซ่อมเครื่องยต์เล็ก และเครื่องยนต์การเกษตร
129 นายเอกชัย เปี้ยวเม่น วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก ซ่อมเครื่องยนเล็ก และเครื่องยนต์การเกษตร
130 นายสุรัตน์ สุขใจ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การสร้างโรงเรือน และระบบน้ำ
131 นางอรอนงค์ ชมก้อน วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การแปรรูอาหาร การถนอมอาหาร
132 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เครื่องจักรกลทางการเกษตร
133 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ถิรายุ ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เครื่องจักรกลและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน
134 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤษณะ ร่มชัยพฤกษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเครื่องจักรกล
135 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิโรขน์ ปงลังกา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์
136 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤษณะ ร่มชัยพฤกษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเครื่องจักรกล
137 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤษณะ ร่มชัยพฤกษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเครื่องจักรกล
138 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เครื่องจักรกลทางการเกษตร
139 ผศ.ดร.วันดี อ่อนเรียบร้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีทางด้านอุณหภูมิ ความร้อน และพลังงาน เพื่อควบคุมคุณภาพอาหาร
140 ผศ.ดร. วีระ โลหะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ออกแบบเครื่องจักรและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร การสกัดสารสำคัญจากสบู่ดำ Foam Fractionation, Design and development Chemical andFood และ Pilot Plant Scale-Up
141 ดร.คมสัน นันทสุนทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาศาสตร์การอาหาร พันธุศาสตร์
142 อ.ดร.ศุภชัย หลักคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต
143 นายนิวัฒน์ชัย ใจคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เทคโนโลยีเครื่องจักร
144 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้อมจิตต์ แก้วไทย อันเดร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร
145 ดร.อนุสรณ์ ยอดใจเพ็ชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ระบบคอมพิวเตอร์
146 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรวัตร ลือสัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เครื่องจักร อุตสาการ
147 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรพจน์ ศิริรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เครื่องจักร อุตสาการ
148 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มลิวรรณ์ กิจชัยเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การแปรรูปผักและผลไม้ - การทำเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ ไวน์ผลไม้ บรั่นดีผลไม้ การทำสาโท
149 ดร.นุจรี สอนสะอาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปเนื้อสัตว์, ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่, แปรรูปผักและผลไม้
150 ผศ.ดร.วิรัช อนุชานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร, เทคโนโลยีการเกษตร
151 ดร.เรวัฒน์ เติมกล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลเกษตร
152 อาจารย์นฤทธิ์ วาดเขียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านเทคโนโลยีการอาหาร, การแปรรูปผลิตภัณฑ์, การถนอมอาหารในรูปแบบต่างๆ, การทำขนม เบเกอรี่
153 ดร.ณัฎฐ์ธนัน กีรติญาดาธนภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกล, ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร
154 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะนุช รสเครือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน  เชี่ยวชาญทางด้านการอบแห้งผักผลไม้ ได้แก่ ลำไยอบแห้ง แก้วมังกรอบแห้ง แคนตาลูปอบแห้ง.................  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปแป้ง ได้แก่ มันม่วงผง มันเทศผง ฟักทองผง กล้วยผง เครื่องเทศผง……………...  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปน้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ สเตอริไรส์ และน้ำผลไม้ผง พิวเร่มะม่วง พิวเร่มะขาม เครื่องดื่มสุขภาพ.......  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสำเร็จรูปด้วยความร้อน อาหารภาชนะบรรจุปิดสนิท แกงบรรจุซอง รีทอร์ทเพาซ์ แกงกระป๋อง…………
155 นายวงษ์สวัสดิ์ จำปาทอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การพัฒนาเครื่องจักรใช้ในงานเกษตร
156 ผศ.ดร. ประเทือง โชคประเสริฐ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การพัฒนากรรมวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีการอาร
157 ดร.พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีอาหารการพาสเจอร์ไรส์ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
158 ดร. น้ำฝน รักประยูร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปแป้ง
159 ดร.รรินธร ธรรมกุลกระจ่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการผลิตคอลลาเจนและเจลาตินของหนังและเกล็ดปลานิล
160 ผศ.ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เทคโนโลยีการผลิตข้าวก่ำลืมผัวปลอดภัยด้วยระบบ GAP
161 นางสาววีรนันท์ ไชยมณี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ สารสกัดจากธรรมชาติในการประยุกต์ใช้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โรคผึ้งและไรศัตรูผึ้ง
162 อามีรูดีน เจ๊ะแว วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี การออกแบบเครื่องจักรกล
163 นูรุดดีน สะดี วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบเครื่องจักรกล
164 สุรัต กล่ำเพ็ชร วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบเครื่องจักรกล
165 สุทธิศักดิ์ อิกะศิริ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญด้านเครื่องกล
166 นาย ยงยุทธ อินชอบ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญทางด้านเครื่องกล
167 นาย สมพร จวบบุญ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญด้านเครื่องจักรกล
168 ผศ.ดร.พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การขอใบอนุญาตสถานที่ผลิต Primary GMP หรือ GMP/สับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค การอบแห้ง การใช้ประโยชน์วัสดุเศษเหลือจากการแปรรูปสับปะรด/การแปรรูปผักผลไม้ด้วย HPP/การออกแบบผังกระบวนการผลิต/การปรับปรุงคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผักผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค
169 อ.ดร.ณัฐวุฒิ ดอนลาว มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / ลดต้นทุนในการผลิต / ยืดอายุการเก็บรักษา / รักษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ 2. กระบวนการผลิตชา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารทางเลือก 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิต การเลือกใช้เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 4. การอบแห้งอาหาร
170 อ.ดร.สิริรุ่ง วงศ์สกุล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การพัฒนา/แปรรูปผลิตภัณฑ์ จากวัตถุดิบ แป้งข้าว ถั่ว ชา เพื่อเพิ่มมูลค่าหรือยืดอายุ
171 ผศ.ปริญญา วงษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจาก ผัก ผลไม้ ชา และสมุนไพร 2.การประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร
172 อ.ดร.สุทธิพร พินิจสุวรรณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์ขนมไทย
173 ผศ.ดร.จุฑามาศ นิวัฒน์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากผัก ผลไม้และข้าว 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวโดยเฉพาะข้าวที่มีสี สมุนไพร ชา
174 อ.ดร.ณัฐกาญจน์ รุ่งเรือง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.กระบวนการฆ่าเชื้ออาหารแปรรูป 2.ออกแบบเครื่องจักรสำหรับฆ่าเชื้ออาหารแปรรูป 3.Food additive/Flavoring agent/encapsulation 4.Hot brew and cold brew/extraction
175 รศ.ดร.สาโรจน์ รอดคืน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว แป้งข้าวและพืชอื่น ๆ ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และ อาหารเพื่อสุขภาพ
176 ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
177 ผศ.ดร.ปิยาภรณ์ เชื่อมชัยตระกูล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากแป้งข้าว ถั่ว ชา
178 ผศ.ดร.จิรัฎฐ์ ศิริเมืองมูล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มเพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไข 2.ประเมินการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ด้วยการทดสอบทางประสาทสัมผัส รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคด้วยการเชื่อมโยงกับหลักการตลาด 3.การพัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิม และนำของเหลือใช้จากการเกษตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค หรือสามารถยืดอายุเก็บรักษาได้นานขึ้น
179 ผศ.ดร.ณัฏยา คนซื่อ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และเครื่องดื่มรแปรรูปจากผัก ผลไม้ ชา และสมุนไพร 2.การยืดอายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร
180 นายสนอง กลิ่นเกษร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เครื่องวัดมุมสัมผัส(Contact angle)
181 ธานินทร์ นิ่มแสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การทดสอบวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าด้วยเครื่อง four point probe, การวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าของกระจกเคลือบ ITO เพื่อนำวัสดุที่ได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานในการใช้ในวิสาหกิจชุมชน
182 นางพิไลรัก อินธิปัญญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิศวกรรมอาหาร มาตรฐาน คุณภาพ
183 ดร.จตุพร คงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช มาตรฐาน GMP ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์
184 นางจิตตะวัน กุโบลา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร
185 นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
186 นางสาวสุวรรณา จันคนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี
187 นางสาวจิตตะวัน กุโบลา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปอาหาร และการแผรรูปสมุนไพร การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี
188 ผศ.ดร.ถาวร จันทโชติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านกระบวนการแปรรูปอาหาร
189 ผศ.ดร.พรพิมล มะยะเฉียว มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การอบแห้ง, การแปรรูปอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
190 รศ.ดร.จตุพร แก้วอ่อน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง วิศวกรรมเครื่องกล เน้นศาสตร์ทางด้านการถ่ายเทความร้อน อุณหพลศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหล
191 อ.ดร.รัทรดา เทพประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สาขาเทคโนโลยีอาหาร (การแปรรูปและการปรับปรุงกระบวนการผลิตอาหาร)
192 รองศาสตราจารย์ ดร.สรรพสิทธิ์ กล่อมเกล้า มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง เคมีและการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร
193 นาง ปาจรีย์ เรืองคล้าย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การวิเคราะห์ทางจุลินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น
194 อาจารย์พจนีย์ แก้วคำแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
195 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุกฤชญา เหมะธุลิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การแปปรูปถนอมอาหาร
196 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภกาญจน์ พรหมขันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปอาหาร
197 นายณัฐวุฒิ เนียมสอน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาเทคโนโลยีการเกษตร - เครื่องจักรในกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว สาขาเทคโนโลยีอาหาร - เครื่องจักรในกระบวนการแปรรูปอาหาร
198 นายทวีชัย นิมาแสง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร การแปรสภาพ แปรรูปผลผลิตเกษตร การออกแบบเตาอบใช้ฟืนและท่อแลกเปลี่ยนความร้อนสำหรับผลผลิตเกษตร
199 นายวิญญู ศักดาทร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาเทคโนโลยีอาหาร - กระบวนการผลิตและระบบผลิต สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ - ออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม - ออกแบบบรรจุภัณฑ์ กราฟิก และโครงสร้าง branding
200 นายสมชาย จอมดวง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร - ระบบคุณภาพของอุสาหกรรมอาหาร ได้แก่ GMP,HACCPและISO22000
201 นายชาติชาย โขนงนุช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - เทคโนโลยีการหมัก (เหมี้ยง) - พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับเหมี้ยง
202 ผศ.พงศกร สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร์ต่างๆ เช่า เครื่องรีดใบบัว เครื่องอัดกระถาง เครื่องตัดเฉียนข้าวเกรียบ เป็นต้น
203 นายประเทือง ฝั้นแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาเครื่องจักร
204 นายประเทือง ฝั้นแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาเครื่องจักร
205 นายวิชัย สินจักร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร
206 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร และการเก็บรักษา
207 ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
208 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
209 น.ส.ชณิชา จินาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
210 ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
211 นายพงษ์ศักดิ์ นาใจคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา 1.การแปรรูปกล้วยฉาบ กล้วยเบรกแตก, การทำขนมข้าวเกรียบ 2.การออกแบบและสร้างเครื่องจักรแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร (เครื่องฝานกล้วย, เครื่องอัดแผ่นขนมข้างโป่ง, เครื่องซอยก้อนขนมข้าวเกรียบ เครื่องซอยสมุนไพร ฯลฯ) 3.การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพ สำหรับครัวเรือน หรือเกษตรกรรายย่อย
212 นายสมบัติ น้อยมิ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา มีความเชียวชาญด้านการออกแบบเครื่องจักรเพื่อเพิ่มความสามารถในขั้นตอนการผลิต และขั้นตอนการทำเทคโนโลยีเครื่องจักรมาใช้ในกระบวนการผลิต
213 นายรัฐพล พรหมวงศ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การแปรรูปเบเกอรี่
214 นางนภสร ฉัตรกาญจนากูล วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำเจลล้างมือแอลกอฮอล์
215 นางสาวแก้วพรรษา มีใจเย็น วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำน้ำผลไม้รวมผสมเม็ดบีสต์คลอโรฟิลล์
216 นางปาริชาติ ณ น่าน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
217 ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
218 ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
219 ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
220 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
221 ดร.จิตรกร กรพรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร ความเชี่ยวชาญ -ด้านฟิสิกส์ประยุกต์และฟิสิกส์พื้นฐาน -การใช้เครื่องมือ X-ray diffraction, Scanning microscope, Transmission microscope, เครื่อง LCR, เครื่องวัดสมบัติ Piezo-ferro, เตาเผาอุณหภูมิสูง, Rama scattering 3 -การเตรียมเซรามิกไฟฟ้า และศึกษาสมบัติเชิงฟิสิกส์ -ความรู้การใช้งานแสงซินโครตรอน โดยเทคนิค XAS และ XPS - materials science
222 ผศ.ชื่นจิต พงษ์พูล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
223 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
224 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
225 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
226 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
227 ดร.พรพรรณ จิอู๋ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
228 ผศ.ชื่นจิต พงษ์พูล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
229 ผศ.ชื่นจิต พงษ์พูล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
230 อาจารย์ ดร.วิภา ประพินอักษร มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
231 ผศ.ไพโรจน์ นะเที่ยง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การพัฒนาเครื่องจักรในการเกษตร
232 อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
233 อาจารย์ ดร. นันทา เป็งเนตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1.การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2.ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3.การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านจุลินทรีย์
234 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
235 ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ
236 อาจารย์พีรวิทย์ โชคเหมาะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น Foundry Engineering
237 อาจารย์วัสสา รวยรวย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ออกแบบและสร้างเครื่องมือ เครื่องจักร ลดกลิ่นหืนการผสมของน้ำเปรี้ยวกับน้ำมันมะพร้าวโดยการแยกน้ำเปรี้ยวออกก่อนการเกิดชั้นน้ำมัน
238 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 1. เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย 2. การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) สำหรับการผลิตแป้งข้าวและขนมจากแป้งข้าว
239 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุรีภรณ์ นวนมุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย
240 อาจารย์ ดร.นางดรุณี นาคเสวี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3 การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านเคมี
241 อาจารย์วรรณกนก เขื่อนสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร
242 อาจารย์มานพ ดอนหมื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การพัฒนาเครื่องจักรด้านการเกษตร การพัฒนาเครื่องจักรด้านแปรรูปอาหาร การบริหารการเพาะปลูก การวางแผนการขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก
243 นายยงยุทธ ศิริศรีเพ็ชร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น - งานตรวจสอบทางวิศวกรรมด้านงานโยธา - งานตรวจสอบวัสดุ คุณสมบัติวัสดุ - งานตรวจและควบคุมงานก่อสร้าง - งานตรวจผลิตภัณฑ์ มผช. - งานตรวจเครื่องดนตรีไทย
244 ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อลดขนาดขยะพลาสติกประเภทถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ซึ่งเป็นขยะที่มีน้ำหนักเบา ซึ่งเครื่องอัดขยะเป็นการจัดการขยะพลาสติกให้มีขนาดเล็กลง โดยพัฒนาเครื่องอัดขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติกให้เป็นก้อนซึ่งประยุกต์มาจากเครื่องอัดระบบไฮโดรลิคเป็นระบบคันโยกอัดก้อนพลาสติกใช้แรงคนประมาณ 1-3 คน และมีสลักซ้ายขวา เพื่อแกะเอาก้อนพลาสติกออกด้านหน้าได้ โดยขยะ 1 ก้อน จะใช้พลาสติกบีบอัดรวมกันประมาณ 5-20 กก.
245 ผศ.พูนฉวี สมบัติศริ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การวิเคราะห์อาหาร
246 ดร.ณรงค์ชัย โอเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อลดขนาดขยะพลาสติกประเภทถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ซึ่งเป็นขยะที่มีน้ำหนักเบา ซึ่งเครื่องอัดขยะเป็นการจัดการขยะพลาสติกให้มีขนาดเล็กลง โดยพัฒนาเครื่องอัดขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติกให้เป็นก้อนซึ่งประยุกต์มาจากเครื่องอัดระบบไฮโดรลิคเป็นระบบคันโยกอัดก้อนพลาสติกใช้แรงคนประมาณ 1-3 คน และมีสลักซ้ายขวา เพื่อแกะเอาก้อนพลาสติกออกด้านหน้าได้ โดยขยะ 1 ก้อน จะใช้พลาสติกบีบอัดรวมกันประมาณ 5-20 กก.
247 ผศ.ดร.บิณฑสันต์ ขวัญข้าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างคุณค่าให้กับขวดพลาสติกโดยนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปริมาณขยะด้วยการอาศัยความรู้เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ซึ่งเส้นพลาสติกที่ได้จะมีขนาดเล็กยาวและกลมคล้ายเส้นด้ายที่เหมาะสมต่อการทำไปถักทอ จากนั้นนำไปขึ้นรูปเพื่อนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์จำพวกโฮมเท็กซ์ไทล์ เช่น ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ผ้ารองจาน ผ้าม่าน เป็นต้น
248 ว่าที่ร.ต.หญิงศิริวรรณ ศรีธรรมรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างคุณค่าให้กับขวดพลาสติกโดยนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปริมาณขยะด้วยการอาศัยความรู้เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ซึ่งเส้นพลาสติกที่ได้จะมีขนาดเล็กยาวและกลมคล้ายเส้นด้ายที่เหมาะสมต่อการทำไปถักทอ จากนั้นนำไปขึ้นรูปเพื่อนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์จำพวกโฮมเท็กซ์ไทล์ เช่น ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ผ้ารองจาน ผ้าม่าน เป็นต้น
249 อาจารย์สมาน ดาวเวียงกัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กระบวนการพัฒนา ออกแบบ และผลิตเครื่องจักรกล
250 ดร.ณภัทร อินทนนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบการทดลอง, การทดสอบการสึกหรอ,การออกแบบและผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก
251 ดร.ภควัต เกอะประสิทธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร - การบำรุงรักษาเครื่องจักรแบบมีส่วนร่วม ( TPM ) - การออกแบบเครื่องจักรระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ - การควบคุมคุณภาพการผลิต - ระบบไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม - ระบบนิวแมติกส์
252 ดร. สุภาวดี สำราญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
253 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด เคมีอาหาร เคมีธัญพืช ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
254 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิทธิเดช หมอกมีชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด ปลาร้าอัดก้อน
255 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา พีรกมล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2.การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
256 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรศาสตร์ คณาศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด เทคโนโลยีอบแห้ง​ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์​ สิ่งประดิษฐ์​ และนวัตกรรม
257 อาจารย์ ดร.นิฟารีซา เจ๊ะเล๊าะ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การผลิตสัตว์นำ้
258 ดร.อโนชา สุขสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยบูรพา Food Extrusion, Functional Food Production, Low GI Food
259 นางสาวปณิดา ชัยปัน มหาวิทยาลัยบูรพา งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
260 ดร.มะลิวัลย์ คุตะโค มหาวิทยาลัยบูรพา การบำบัดไนโตรเจนในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ โดยใช้จุลินทรีย์,เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็ก
261 ผศ.ดร.มลฤดี สนธิ มหาวิทยาลัยบูรพา วัคซีนปลา,ภูมิคุ้มกันปลา,โรคปลา,โรคและภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ
262 ดร.ภควรรณ เศรษฐมงคล มหาวิทยาลัยบูรพา ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล, การเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่
263 นางปรารถนา ควรดี มหาวิทยาลัยบูรพา เพาะเลี้ยงหอยหวาน เพาะเลี้ยงปลาสวยงามในแนวปะการัง เพาะขยายปะการังแบบไม่อาศัยเพศ ระบบหมุนเวียนน้ำ
264 ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต มหาวิทยาลัยบูรพา โรคและระบบภูมิคุ้มกันในสัตว์ทะเล,การวินิจฉัยโรคพาราสิตและการรักษาโรคปลาทะเล,พาราสิตในปลาทะเลและหอย
265 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ มหาวิทยาลัยบูรพา การเลี้ยงสัตว์น้ำในระบบน้ำหมุนเวียน (Recirculating aquaculture systems) การเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลสวยงาม (Marine ornamental organisms breeding and culture) คุณภาพน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ(Water quality and management in aquaculture)
266 ดร.ชุติวรรณ เดชสกุลวัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา การศึกษาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล สารออกฤทธิ์ชีวภาพ สารรงควัตถุชีวภาพ และสารอื่นๆที่น่าสนใจ จากแบคทีเรียทะเล,ความหลากหลายของแบคทีเรียทะเล นิเวศวิทยาของจุลชีววิทยาทางน้ำ และ
267 ดร.วรรณภา กสิฤกษ์ มหาวิทยาลัยบูรพา ด้านโรคสัตว์น้ำ , พันธุศาสตร์เซลล์สัตว์น้ำ
268 อาจารย์ฐิรารัตน์ แก้วจำนง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องแกง การทำกระหรี่ปั๊บไส้ปลา วัฒนธรรมอาหารและข้อมูลทางโภชนาการของทรัพยากรชีวภาพ
269 นส.สมประสงค์ ปริวัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
270 ผศ.ดร.บังอร เหมัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
271 ผศ.ดร.ปุณณาณี สัมภวะผล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แปรรูป ข้าวพร้อมทาน แปรรูปเป็นขนม อาหาร เพื่อกินเอง เก็บถนอม และ/หรือเพื่อขา
272 รศ. ดร.โอภาส พิมพา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โคเนื้อ โคขุน อาหารโค
273 รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
274 ผศ.ดร.น้อมจิตต์ แก้วไทย อันเดร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการแปรรูปผักและผลไม้ เนื้อสัตว์ ปลา เครื่องดื่ม เน้นเทคโนโลยีการหมัก กระบวนารแปรรูป ด้วยความร้อนการใช้เทคนิคและวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพในการแปรรูปอาหาร
275 ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles
276 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
277 อาจารย์พิทักษ์ คล้ายชม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ระบบควบคุมอัตโนมัติระบบสมองกลฝังตัวเทคโนโลยีหุ่นยนต์อากาศยานไร้คนขับ
278 อาจารย์ ดร.ปฏิพัทธิ์ ถนอมพงษ์ชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
279 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 1. การยกระดับผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร และผลผลิตทางการเกษตร 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4. การวิจัยด้านการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ให้มีความปลอดภัย
280 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหอยนางรม 1. น้ำพริกเผาหอยนางรม 2. ข้าวเกรียบหอยนางรม 3. ซอสหอยนางรม 4. ซอสพริกหอยนางรม
281 ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) -การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการผลิตขนมอบ
282 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การแปรรูปผลไม้ เช่น มังคุด สละ เงาะ ทุเรียน ลำไย มะพร้าว และอื่นๆ ให้เป็นสินค้าประเภท ผลไม้ลอยแก้ว กวน หยี แยม ทอฟฟี่ น้ำ 100% 80% 60% หรือขึ้นอยู่กับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูป ให้ทันต่อการแข่งขัน
283 ผศ.ดร.จิราวรรณ อุ่นเมตตาอารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Food Microbiology, Food safety, Natural antimicrobial product, Fermented food
284 รองศาสตราจารย์สุกัญญา กล่อมจอหอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การประเมินคุณภาพโดยประสาทสัมผัส
285 ผศ.ดร.กระวี ตรีอำนรรค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
286 ผศ. ดร. รัชฎาพร อุ่นศิวิไลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
287 ดร.สมศักดิ์ บุญแจ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วัสดุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (วัสดุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วัสดุศาสตร์ -เทคโนโลยีเซรามิก -เทคโนโลยีซีเมนต์
288 ดร.อโนดาษ์ รัชเวทย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -Food processing -พอลิเมอร์
289 ดร.วรางคณา เขาดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. (เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความเชี่ยวชาญ -เคมีวิเคราะห์ เคมีสิ่งแวดล้อม เคมีการศึกษา
290 ดร.นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Food Science) Royal Melbourne Institute of Technology University, Australia ความเชี่ยวชาญ 1. วิทยกระแสและเนื้อสัมผัสของอาหาร (food rheology and texture) 2. การเปลี่ยนแปลงทางความร้อนและการเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้วในอาหาร (thermodynamics & glass transition in foods) 3. พอลิเมอร์อาหาร (food polymers)
291 ธิดารัตน์ หน่อสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -หลักการวิเคราะห์อาหาร เคมีอาหาร เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และสารต้านอนุมูลอิสระ
292 ดร.สมศักดิ์ ลิ่มวงศกร มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีเครื่องจักร, โลหะวิทยา/วิศวกรรมวัสดุ วิเคราะห์ความแข็งแรงด้วยไฟไรเอลลิเมนท์ของวัสดุ การสร้างขิ้นส่วนเครื่องจักรกล การประกอบด้วยการเชื่อม Cad/cam/cae
293 ผศ.นิติญา. สังขนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต วิทยาศาสตร์ทางทะเล, สิ่งแวดล้อม/การจัดการขยะและของเสียอันตราย/ขยะทะเล สอนในด้านนิเวศวิทยาชายฝั่งและทะเล/ทำวิจัยด้านขยะและขยะทะเล
294 ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
295 นางสาวภคมน กุลนุวงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ด้านอาหารว่าง อาหารประเภทของฝาก
296 นางแสงระวี ณ พัทลุง มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร อาหารพื้นเมือง ขนมไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
297 ดร.สัญชัย ยอดมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, เทคโนโลยีกลิ่นรส (Flavour sciences) "1. การวิคราะห์รูปแบบของกลิ่น และรสชาติในอาหาร 2. การวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหาร 3. กระบวนการและเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร"
298 นายธวัชชัย นิ่มพญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบและสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ ชุดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานอิเล็กทรอนิกส์ เพาเวอร์ซัพพลายต่างๆ วงจรควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ สมาร์ทฟาร์ม และเครื่องกลไฟฟ้า
299 ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา
300 ดร. ณัติฐพล ไข่แสงศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บรรจุภัณฑ์อาหารที่ย่อยสลายได้จากพอลิเมอร์ สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน
301 ผศ.ดร.อรวัลภ์ อุปถัมภานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ การปรับปรุงคุณภาพอาหารทางโภชนาการ การพัฒนกระบวนการผลิตอาหาร
302 ดร. พิมพ์สิรี สุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กระบวนการแปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
303 ดร.ชนากานต์ เรืองณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อาหาร
304 ผศ.ดร. อัจฉรา ดลวิทยาคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก กระบวนการแปรรูปและโภชนาการ ทดลองอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และสกัดสารจากพืชสมุนไพร
305 ผศ.ดร.อภิศักดิ์ ขันแก้วหล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก 1. Electrical System Design, 2. Electrical Machine 3. Curriculum & Instruction ( Engineering )
306 นายธวัชชัย ไชยลังกา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้างเครื่องจักร
307 นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
308 นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
309 ดร.วรินธร บุญยะโรจน์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกิดสารตกค้าง ผลิตภัณฑ์และสารชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ (Waste Utilization) การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด กระบวนการผลิตที่สะอาด (Clean Technology) เศรษฐกิจหมุนเวียน การทดสอบสารปนเปื้อนของอาหาร น้ำดื่ม และพืชผัก การตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช - การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำดื่ม พืชผัก และสมุนไพร ตลอดจนการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช ในตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำดื่มน้ำใช้ น้ำบาดาล น้ำจากแหล่งน้ำสาธารณะ ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - อาหารปลอดภัย (Food Safety) - เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) - การวิเคราะห์สารองค์ประกอบของสมุนไพร ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - การบำบัดสารปนเปื้อนขนาดเล็ก (Micropollutants)
310 นายจักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การออกแบบเครื่องจักรสำหรับช่วยระบบการผลิต ติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์(โซล่าเซล) วิเคราะห์ระบบการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน การส่งเสริมคุณภาพที่ยั่งยืนสำหรับชุมชน westeจากการเกษตร การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าพลังน้ำผสมผสานพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเชลล์ด้วยระบบควบคุมอัจฉริยะ(ไฮบริด)
311 นายแจ๊ค ชุ่มอินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบชิ้นงานสำหรับแม่พิมพ์ โลหะและพลาสติก ออกแบบแม่พิมพ์ โลหะและพลาสติก สร้างแม่พิมพ์ โลหะและพลาสติก การควบคุมเครื่องจักรกลอัตโนมัติสำหรับงานแม่พิมพ์ การควบคุมเครื่องฉีดพลาสติกและเครื่องปั๊มขึ้นรูปโล
312 นายประสิทธิ์ แพงเพชร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วัดและตรวจสอบขนาดชิ้นส่วนเครื่องจักร ซ่อมบำรุงเครื่องจักร
313 อ.เพลินพิศ แจ้งโพธิ์นาค มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตพืช 2. การแปรรูปอาหาร
314 นายอรรณพ ทัศนอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์และชีววิทยา กลุ่มวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
315 ดร.ณัชพัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร วิทยาศาสตร์ทางทะเล ด้านชีววิทยากุ้ง ปู และหอยทะเล เครื่องมือประมง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากทรัพยากรทางทะเล การสตาร์ฟสัตว์น้ำ
316 นายเฉลิมพล ถนอมวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์
317 สุริยาพร นิพรรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
318 นายมารุต พวงสุดรัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ ทดลอง วัดวิเคราะห์ ทดสอบ วิจัย ทางวิทยาศาสตร์ และจัดกิจกรรมอบรมทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน ครู และผู้ที่สนใจ
319 นายสัญญา นุกูล วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีเครื่องจักร/เครื่องกล
320 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงสิริ สยมภาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1.การผลิตอาหารปลอดภัย 2.การทดสอบตลาดและการทดสอบผู้บริโภค 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ๔. การประเมินคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
321 รองศาสตราจารย์ ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 2.อะโรมาเธอราพี 3.อาหารสุขภาพ
322 นายกฤษฎา แสนก่ำ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีเครื่องจักร/วิศวกรรมเครื่องกล งานซ่อมบำรุงเครื่องยนต์ เครื่องจักรกล และเทคโนโลยีงานเช่อม
323 ดร.พีรพงศ์ งามนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food
324 ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โภชนาการ, อาหารเพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การประเมินการยอมรับของผู้บริโภค
325 ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ
326 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี polymer colloids, controlled/living radical polymerization in dispersed systems
327 จุติญาณี จิตรสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร แผนพัฒนาผลิตภัณฑ์
328 ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. อาหารปลอดภัย 2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 3. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 4. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
329 นายนเรศ ใหญ่วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
330 ดร. อนงค์นาฏ โสภณางกูร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. การแปรรูปอาหาร/เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 2. วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร 3. บรรจุภัณฑ์อาหาร 4. ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่/เบเกอรี่เพื่อสุขภาพ 5. ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
331 ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก - Ph.D. (Electrical and Information Engineering) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ - ด้านนาโนเทคโนโลยี - ด้านวัสดุศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - ด้านเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
332 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
333 ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร
334 นายธีรพงค์ หมวดศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ การใช้เครื่องมือวิเคราะห์อาหารทางกายภาพ
335 อาจารย์สุวิจักขณ์ ห่านศณีวิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ด้านการแปรรูปผักและผลไม้-การทําผลิตเครื่องดื่มนํ้าผักและ ผลไม้ กระบวนการแปรรูปอาหารด้วยความร้อน
336 อาจารย์พรประเสริฐ ทิพย์เสวต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีอาหาร มัลติมีเดีย การออกแบบ การตลาด
337 ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
338 อ.ดร.ปฏิวัติ คมวชิรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต
339 อาจารย์ธวัชชัย ชาติตำนาญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
340 อาจารย์จักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
341 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยปลาดุกปรุงสุกในบรรจุภัณฑ์พร้อมบริโภค
342 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบและยืดอายุผลิตภัณฑ์น้ำแกงส้มบรรจุขวด
343 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การควบคุมคุณภาพไข่เค็มดินสอพอง
344 วิเชียร เนียมชาวนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การทดสอบวัสดุ (โลหะ) และการคำนวนทางไฟไนต์เอเลเมนต์
345 นายชัยวัตร ชาติมนตรี วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ ด้านการออกแบบเครื่องจักรให้เหมาะสมกับการใช้งานทางการเกษตร
346 นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีอาหาร การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร คุณภาพน้ำ
347 นายสุชาติ เหลาหอม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจวิเคราะห์อาหารทางเคมี
348 สุกัญญา จำปาทิพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การควบคุมการผลิตไวน์ทางกายภาพ
349 นายชัยยุทธ ปิยวรนนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การวิเคราะห์ภัยอันตรายของสารเคมี ของเสียทางเคมี รวมถึงการทำแผนฉุกเฉินด้านความปลอดภัย
350 วรรทณา สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
351 นริศ สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
352 ปริยาภรณ์ อิศรานุวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีด้านอาหาร การถนอมอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
353 ดร. ณัฎวลิณคล เศรษฐปราโมทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหาร
354 ดร.นิตยา ภูงาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร และเคมีอาหาร
355 ผศ.ดร.สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ด้านอาหารและการเกษตร โปรไบโอติกและยีสต์
356 อ.ลักขณา พิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร
357 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภกัญญา ขันชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมอุตสาหการ / วิศวกรรมอาหาร
358 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กานต์ จันทระ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมอุตสาหการ / บริหารอุตสาหกรรม
359 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธศิลป์ ชัยสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ การแปรรูปผลิตภัณฑ์
360 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวมวล ลดต้นทุนการผลิต อาหารสะอาด และลดระยะเวลาการตากแห้งของสินค้าทางการเกษตร
361 ผศ.ดร.ถนอม ทาทอง มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุน ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความเข้มแข็ง
362 อาจารย์คมศักดิ์ หาญไชย มหาวิทยาลัยนครพนม ลดเวลา เพิ่มผลผลิต ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้าสิ่งทอ ผ้าคราม ผ้ามุก
363 อาจารย์นิรัติศักดิ์ คงทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร
364 นายธนกร หอมจำปา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การออกแบบเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องจักรกล วิศวกรรมเครื่องกล
365 อาจารย์บัญชา ใต้ศรีโคตร มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มกำลังการผลิต ลดต้นทุนแรงงานในการจัดเตรียมวัตถุดิบ เป็นเครื่องที่ใช้สำหรับการฝานผลกล้วยดิบแบบใช้ใบมีด โดยการป้อนด้วยมือ
366 อาจารย์คมศักดิ์ หาญไชย มหาวิทยาลัยนครพนม องค์ความรู้การผลิตกระดาษจากสับปะรด ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
367 อาจารย์รชต มณีโชติ มหาวิทยาลัยนครพนม เครื่องแกะกลีบกระเทียม ช่วยการเพิ่มผลผลิตในการทำปลาส้ม ของกลุ่มวิสาหกิจปลาส้ม อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม
368 อาจารย์กฤตธี สงวนศักดิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มมูลค่าสินค้า กลุ่มวิสาหกิจข้าวอินทรีย์ข้าวกล้องงอก อ.โพนสวรรค์ จ.นครพนม
369 นายวีรชน มีฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีทางด้านเกษตร พลังงานและสิ่งแวดล้อม
370 อาจารย์วศกร ไตรพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีระบบสมาร์ท ฟาร์มส าหรับการปลูกผัก ปลอดภัย เทคโนโลยี ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับ
371 อาจารย์ดำรงค์ศักดิ์ หัตถศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการอาหาร,การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
372 ดร.เกรียงไกร เหลืองอ าพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ แอปพลิเคชั่นบอกปริมาณฟอสฟอรัสในอาหาร
373 ผศ.สหรัตน์ วงษ์ศรีษะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พลังงานทดแทน
374 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ -
375 ดร.สุวิทย์ แพงกันยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พัฒนาเทคโนโลยี
376 ดร.กฤษณ์ อภิญญาวิศิษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ ด้านเครื่องกล
377 ดร.ฉัตรแก้ว จริยตันติเวทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
378 ดร.อัญชลี มโนสืบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
379 ผศ. จรายุทธ ประทีปวรกาญจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีเครื่องจักร และสิ่งแวดลล้อม
380 ผศ.ดร.บุศราภา ลีละวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแปรรูปข้าวและธัญพืช วิศวกรรมแปรรูปอาหาร สมบัติทางรีโอโลยีของอาหาร การพัฒนาผลิตภัรฑ์จากพืช
381 ผศ.ดร.กฤติยา เขื่อนเพชร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแปรรูปอาหารจากข้าว ผลิตภัณฑ์จากข้าว
382 อ.เชียร แซ่เฮ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วิศวกรรมไฟฟ้าและเครื่องจักร วิศวกรรมเครื่องยนต์ ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก
383 ผศ.ดร.วราวุธ ธนมูล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร
384 รองศาสตราจารย์ ดร.มนัส ชัยจันทร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เทคโนโลยีอาหาร
385 รองศาสตราจารย์ ดร.วรวรรณ พันพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เทคโนโลยีอาหาร
386 รองศาสตราจารย์ สุปราณี แก้วภิรมย์ คณะวิทยาศาสตร์ ม มหาวิทยาลัยบูรพา วิจัยสูตรคอมพาวด์พลาสติก
387 อาจารย์อนุพนธ์ พิมพ์ช่วย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทย มหาวิทยาลัยบูรพา ด้านวิศวกรรมเครื่องกล
388 อาจารย์สราวุธ ศิริวงศ์ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, นิเวศวิทยาแนวปะการัง
389 อาจารย์ ดร.ภควรรณ เศรษฐมงคล คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาศาสตร์ทางทะเล
390 ผศ.พงศกร สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร์ต่างๆ เช่น เครื่องรีดใบบัว เครื่องอัดกระถาง เครื่องตัดเฉียนข้าวเกรียบ เครื่องขูดเส้นใยสับปะรด เป็นต้น
391 นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบและสร้างเครื่องจักร
392 นายวิชัย สินจักร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร
393 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร และการเก็บรักษา ด้วยการนำ วทน. มาใช้
394 ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
395 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอนอาหารและบรรจุภัณฑ์
396 น.ส.ชณิชา จินาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอมอาหาร และการเก็บรักษา ด้านการตรวจคุณภาพอาหาร
397 นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ด้านอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ด้านออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการนำ วทน. มาใช้
398 น.ส ธัญลักษณ์ บัวผัน (จบปริญาโทการแปรรูป และวิจัย) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและแปรรูปด้านอาหาร การทดสอบทางประสาทสัมผัส ทางเคมี ทางการยภาพ ด้านอาหาร
399 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราคม วงศ์ชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การปรับปรุงกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม, การจัดการและอนุรักษ์พลังงานในอาคาร/โรงงาน, พลังงานทดแทน, การประยุกต์ใช้ GIS และ RS ในระบบพลังงาน, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นของผลิตภัณฑ์ (CFP)
400 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มัตติกา บุญมา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การจัดการอุตสาหกรรมเข้ากับธุรกิจท้องถิ่น เทคโนโลยีด้านการวัด การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางด้านมิติ (เวอร์เนีย ไมโครมิเตอร์)
401 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชาติ วัชรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน
402 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชาดา สวัสดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน
403 พิมพ์นภา ภูฆัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
404 นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องตดข้อตาอ้อยด้วยระบบกึ่งอัตโนมัติ เพื่อทุนแรงในการผลิต
405 รศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องงวิเคราห์คุณภาพน้ำอ้อยที่สามารถพกพาและนำไปใช้งานในไร่ได้
406 นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาการเจริญของราก ทำให้ทราบข้อมูลการกระจากตัวของรากและความหนาแน่นของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน
407 ดร.สุรสวดี สมนึก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องดื่มเพื่อนำไปพัฒนาที่ส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ออกกำลังการและผู้เล่นกีฬา
408 อ.ดร.ภวินทื ธัญภัทรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรือรดน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยวิทยุบังคับเพื่อให้เหมาะสมกับกับต้องการของเกษตรกร
409 ดร.ปิยนารถ ศรชัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ
410 นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ
411 ผศ.ดร.ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นมมะพร้าวอัดเม็ดที่ใช้บริโภคเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง
412 คืนจันทร์ ณ นคร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร,วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ, เครื่องดื่มและอาหารสุขภาพ, เทคโนโลยีแป้ง, Extrusion technology
413 ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
414 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น
415 ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
416 ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
417 ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
418 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
419 นางสาวรุ่งทิวา วงค์ไพศาลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สารพฤกษเคมีและการประยุกต์ใช้ เคมีอาหาร กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นสูง อาหารเพื่อสุขภาพ (functional food) การประยุกต์ใช้แป้งดัดแปรและไฮโดรคอลลอยด์ในผลิตภัณฑ์อาหาร
420 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทาร์ต
421 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สังข์สุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง
422 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพร ประเภทแยม
423 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ ผู้ช่วยศาส มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคนิคการสเปรย์ดรายผลิตภัณฑ์แปรรูป
424 นายสุชาติ เฮ็งฉุน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
425 นายอภิชัย เทียมคำแหง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
426 นายสุเทพ อยู่ทน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
427 นายสมพงษ์ แซ่บ่าง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
428 นายวชิรฉัตร ต้ออาษา วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
429 นางสาวณัฐธิตา สวัสดี วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
430 นายทิชาพงษ์ พวงรัตน์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
431 นายวสันต์ กาหล่ำ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
432 นายประทีป ระงับทุกข์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เชื่อมโลหะ
433 นายไชโย รุ่งเรือง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เชื่อมโลหะ
434 ดร.นฤมล มีบุญ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง
435 อาจารย์ ดร.สุไลมาน เจ๊ะอาบู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การปรับปรุงพันธุ์ขาว
436 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุสิดา หนูทอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๑. การแปรรูป และการควบคุมคุณภาพอาหาร ๒. เทคโนโลยีและการแปรรูปผักและผลไม้
437 รศ.ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นวัตกรรมการเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดที่เตรียมด้วยเทคโนโลยี green extraction และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
438 ภก.วิวิศน์ สุทธิธรรมสถิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดด้วยวิธี microwave extraction
439 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง เล็กจริง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
440 ดร.สุธรรม ศิวาวุธ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิศวกรรมระบบการผลิต การรออกแบบผลิตภัณฑ์ การเลือกใช้วัสดุ
441 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
442 อ.ดร. สราวุฒิ แนบเนียร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนานักศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ
443 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสต์และเทคโนโลยีการอาหาร การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีในเมล็ดข้าว
444 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
445 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปรรูปมะม่วงน้ำดอกไม้
446 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีปฏิบัติการการแปรรูปกล้วยน้ำว้า
447 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการเลือกใช้และทดสอบผลิตภัณฑ์น้ำพริกเผา
448 นางสาวหนึ่งฤทัย กาศสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เคมีวิเคราะห์
449 ศิริพร นิลาศทุกข์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย งานด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ซึ่งอาหารเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิต การเก็บรักษา และเรียนรู้วิธีการยืดอายุ และรักษาคุณภาพของอาหารจึงมีความสำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวัน
450 นางวิมล อำนาจผูก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและ โภชนาการ เทคโนโลยีอาหาร และทางด้านการทดสอบหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้พ และสิ่งแวดล้อม
451 นางสาวสมัชญา มะลิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิเคราะห์ทดสอบตัวอย่างทางด้านสิ่งแวดล้อม
452 นายนครินทร์ แสงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ทดสอบทางด้านเคมี และมีความรู้ในด้านการป้องกันความปลอดภัยทางรังสี
453 ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาตรฐานการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ การเเปรรูป พัฒนากระบวนการผลิต
454 ผศ.ดร.วสวัชร นาคเขียว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกระบวนการผลิต การทดสอบสมบัติเชิงกลของนวัตกรรมวัสดุ
455 นางธิดาพร โคตรพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การทดสอบทางจุลินทรีย์ในอาหาร
456 นายสมบัติย์ มงคลชัยชนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านงานเครื่อง งานด้านระบบอัตโนมัติ
457 นายภควัต หุ่นฉัตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน และเครื่องกล
458 ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านความปลอดภัยอาหาร และการวิเคราะห์การปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การประเมิน และยืดอายุการเก็บรักษาในผลิตภัณฑ์อาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าจากผลิตผลทางการเกษตร
459 ผศ.ดร.สุริยาพร นิพรรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเคมีอาหาร ด้านสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ข้าว และผลิตภัณฑ์จากข้าว การประยุกต์ใช้คลื่นเสียงในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ออนาคต
460 ดร.นิจฉรา ทูลธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาผลิตภัณฑ์กราโนล่าจากข้าวอินทรีย์
461 ดร.ลือชัย บุตคุป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การถ่ายทอดเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์
462 นางศิริรัตน์ ดีศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
463 ดร.ทัตดาว ภาษีผล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารทุกชนิด
464 อังคณา จันทรพลพันธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารทุกชนิด
465 อ.บุษบา ธระเสนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหาร
466 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา เดชะรัตนางกูร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. Food Processing and Product Development 2. Hydrocolloid and applications 3. Rice and rice products
467 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ สิมะไพศาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
468 อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
469 นาย เรืองฤทธิ์ สารางคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกล,พลังงานทดแทน
470 อาจารย์วิลักษณ์นาม ผลเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล,วิศวกรรมยานยนต์,พลังงานและเชื้อเพลิงทดแทน การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล
471 อาจารย์ พูนศิริ หอมจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านเคมี
472 อาจารย์ คมเพ็ชร อินลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกลและพลังงาน
473 ผศ.กฤติน ชุมแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แปรรูปอาหาร ขนม
474 ผศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การนำไมโครและนาโนแคปซูลในการปรับคุณสมบัติของผ้า เช่นการปรับสภาพความร้อน ให้มีกลิ่น ผ้ากันยุง เป็นต้น และด้านอาหารเช่นเทคนิคการกักเก็บสารสำคัญของอาหารโดยใช้พอลิเมอร์ เป็นต้น
475 ผศ.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้เทคนิคทางทางชีววิทยาโมเลกุลในการพัฒนาชุดตรวจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร พัฒนาสารถนอมอาหารทางชีวภาพ
476 ผศ.ชมภู่ ยิ้มโต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูปอาหาร ตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์
477 อาจารย์นวพร ลาภส่งผล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เคมีอาหาร เคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์กลิ่นในอาหาร โปรตีนไฮโดรไลเซท การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ไอศกรีม
478 ผศ.นันท์ชนก นันทะไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การเก็บรักษาผลิตผลสดทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว 2. การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุมและสภาพบรรยากาศดัดแปลง 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
479 อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น
480 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
481 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เครื่องค้นหมี่กึ่งอัตโนมัติ
482 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เครื่องปั่นหลอดด้วยไฟฟ้า
483 ผศ.ดร.จริยาวดี สุริยพันธุ์ มหาวิทยาลัยบูรพา พรรณไม้น้ำ แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ หญ้าทะเล ระบบนิเวศทางทะเล และระบบนิเวศในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
484 ดร.สวรักษ์ จันทรเทพธิมากุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีการจัดการความปลอดภัยอาหาร
485 ว่าที่ ร.ต. สุวินัย โสดาเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักกรกล การ พัฒนากระบวนการทํางาน
486 อาจารย์เดชา โฉมงามดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา พัฒนาเตาไร้ควันระบบไฟฟ้า
487 อาจารย์ปฐมพงศ์ สมัครการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การวิเคราะห์อาหาร
488 นางสาวจิรรัชต์ กันทะขู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การรอบแห้งผักผลไม้ , การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
489 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชาวลิต อุปฐาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีความเชี่ยวชาญในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ อาหารไทย ขนมไทย การแกะสลักผักผลไม้ เป็นต้น
490 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
491 ผศ.ดร. ตรี วาทกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพ การการออกแบบบรรจุภัณฑ์
492 นาย สุชาติ เหลาหอม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ
493 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร
494 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
495 อ.ดร.สุวรณี ปานเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
496 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการเกษตร
497 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
498 ผศ.ประมวล แซ่โค้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การผลิตพืชผักปลอดภัย
499 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
500 อาจารย์ชื่นสุมณ ยิ้มถิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยใช้สมุนไพรและพืชสวนครัว
501 อาจารย์นนทลี บุญทัด การุณยศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้ในการตลาดแบบมืออาชีพ,การพัฒนาด้านอาหารผสมผสานกับคุณค่าของพืชสมุนไพร
502 นางสาวภคพร สาทลาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
503 อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ อาจคงหาญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เครื่องจักรและระบบการผลิต ดิน น้ำ และทรัพยากรธรรมชาติ
504 นายพิสุทธิ์ เพชรสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - พลังงาน - การพัฒนาเครื่องจักร - การบำรุงรักษาเครื่องจักร
505 นายวิศิษฏ์ นายวิศิษฏ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เทคโนโลยีเครื่องจักรกล
506 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การแปรรูปอาหาร
507 อาจารย์เอราวัณ ชาญพหล มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ เทคโนโลยีการลิต - เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะ - เทคโนโลยีแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ - แม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
508 อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
509 อาจารย์ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
510 ผศ.ดร.อรอง จักกะพาก จันทร์ประสาทสุข มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีการยืดอายุผลิตภัณฑ์
511 อ.ดร.จุฬารัตน์ หงส์วลีรัตน์ มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีการยืดอายุผลิตภัณฑ์
512 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารและน้ำทางด้านจุลชีววิทยา
513 ผศ.ดร.ตระกูล พรหมจักร มหาวิทยาลัยพะเยา ความปลอดภัยทางอาหาร
514 ดร.สุทธิดา ปัญญาอินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
515 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อลงกรณ์ เมืองไหว มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม โลจิสติกส์ การวางแผนการผลิต การวิจัยดำเนินงาน วิศวกรรมอุตสาหการ
516 อาจารย์ ดร. สุรเชษฐ์ วรรณา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Technology Concrete
517 ผศ.ดร.อุราภรณ์ เรืองวัชรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการ การพัฒนาและแปรรูปอาหาร
518 ผศ.ดร.พราวตา จันทโร มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี อันตรกิริยาของสตาร์ซและไฮโดรคอลลอยด์ การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์
519 ผศ.ดร.ลักษมี ชัยเจริญวิมลกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี นาโนเทคโนโลยีและการเร่งปฏิกิริยา
520 อาจารย์ธนิสรา กัณฑวงศ์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก อาหาร และการแปรรูปอาหาร
521 ผศ.วาสนา แก้วโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย แปรรูปข้าว แปรรูปปลานิล แปรรูปผักและผลไม้ การยืดอายุการเก็บพริกแกง ผลิตภัณท์ขนมอบ
522 อาจารย์ทัศนีย์ แม้นพยักฆ์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก งานเคลื่องจักรกล
523 นายศุภชัย แซ่ลี วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
524 นายธนาวุฒิ หอมสิน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
525 นายชุมพล เขียวขำ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องจักรกล
526 นายสันติ ลูกลิ้ม วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
527 นางสาวณิชชารีย์ สาที วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
528 นางสาวรุ่งโรจน์ พุทตพงษ์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือเครื่องจักร เชื่อมโลหะ
529 นายบัญชา ทำลา วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือและการเชื่อมอุปกรณ์
530 นายณัฐพงษ์ จันทร์โอ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือเครื่องจักร และการเชื่อมโลหะ
531 ผศ.วรรณศิริ หิรัญเกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การอบรมหลักสูตรระยะสั้น เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์
532 นายรุ่งโรจน์ ตับกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ผลิตภัณฑ์อาหารว่าง
533 ผศ.ดุสิต ศรีวิไล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี แพลงก์ตอน / ชีววิทยาทางทะเล / การอนุรักษ์สัตว์น้ำและทรัพยากรทางทะเล
534 ดร.จุฑาภรณ์ ลิ่มสุวรรณมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การจัดทำตำรับอาหาร เพื่อสุขภาพ
535 ผศ.พงศกร สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร์ต่างๆ เช่า เครื่องรีดใบบัว เครื่องอัดกระถาง เครื่องตัดเฉียนข้าวเกรียบ เป็นต้น
536 นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบ พัฒนา และสร้างเครื่องจักร
537 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
538 นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
539 นายสุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
540 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและเนื้อสัตว์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล และอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
541 นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence)หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาติ
542 นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องจักรกลการเกษตร ตั้งแต่การปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว เพื่อช่วยลดแรงงานในการเพราะปลูกให้กับเกษตรกร
543 นางปราณี สถิตบรรจง วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบและดัดแปลงเครื่องค้นหูกกึ่งอัตโนมัติ
544 ผู้ช่วยศาสตราจราย์อนุสรณ์ สินสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ นวัตกรรมใหม่และ เครื่องจักรกลการเกษตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม ไปแก้ปัญหา โจทย์ของการการพัฒนาชุมชน
545 ศ.ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การออกแบบระบบระบายความร้อน กระบวนการระบายความร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
546 รศ. ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร ความปลอดภัยในอาหารเเละจุลชีววิทยา
547 นายสมพร หงษ์กง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร วิศวกรรมเครื่องกล
548 อ.ดร.วิชิน สืบปาละ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล การจัดการทรัพยากรประมง
549 รศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิเวศวิทยาทางทะเล นิเวศวิทยาแนวปะการัง ชีววิทยาปะการัง การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
550 ผศ.ดร.มาฆมาส สุทธาชีพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิเวศวิทยาทางทะเล, การจัดการสิ่งแวดล้อม, การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
551 ผศ.ว่าที่ ร.ต.พงษ์ศักดิ์ จิตตบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การจัดการพลังงานและโลจิสติกส์ เทคโนโลยีเครื่องจักร
552 ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
553 นางปาริชาติ ณ น่าน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
554 ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
555 ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
556 ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
557 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
558 ผศ.ดร.สุริยาพร นิพรรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเคมีอาหาร ด้านสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ข้าว และผลิตภัณฑ์จากข้าว การประยุกต์ใช้คลื่นเสียงในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ออนาคต
559 ผศ.จรีพร เพชรเจ็ดตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีแปรรูปเนื้อสัตว์
560 นายธีระวัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ด้านห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับอาหารทั้งหมด
561 ธีระพงค์ หมวดศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร พร้อมทั้งวิเคราะห์จุลินทรีย์ และแลปการทำลองต่าง
562 อาจารย์สุนทรา เฟื่องฟุ้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา - เคมีอินทรีย์ - เคมีสิ่งแวดล้อม - เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
563 ดร.เจ๊ะฮาซัน เจ๊ะอุบง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เทคนิค รอยพิมพ์ประทับโมเลกุล 2.เทคนิคไบโอเซ็นเซอร์ 3.โปรตีโอมิส์
564 นายไพฑูรย์ ทรัพย์อุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี
565 ผศ.กนกอร เวชกรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การพัฒนาเซ็นเซอร์ทางเคมีสำหรับตรวจจับไอออนโลหะและการประยุกต์ใช้ 2.การพัฒนาคาร์บอนดอทจากมวลชีวภาพและการประยุกต์ใช้
566 ผศ.การรันต์ บ่อบัวทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีคำนวณทางคอมพิวเตอร์ 2.เคมีควอนตัม 3.การเร่งปฏิกิริยาพันธุ์
567 ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเคมี
568 ผศ.การันต์ บ่อบัวทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีคำนวณทางคอมพิวเตอร์ 2.เคมีควอนตัม 3.การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์
569 รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ 4.วัสดุเก็บความร้อน
570 อรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Food Science
571 ผศ.ดร.ศิริวรรณ ตี้ภู่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การสร้างชุดทดสอบแบบสารละลาย 2.การสร้างชุดทดสอบแบบแผ่นสตริป
572 รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ 2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช 3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค
573 ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ชีวเคมี 2.โปรติโอมิกส์ 3.การเพาะเลี้ยงเซลล์ 4.กลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์
574 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ 4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์
575 ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ 2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง 3.สีย้อมอินทรีย์
576 นางสาววิไล สุทธิจิตรทิวา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านคหกรรมศาสตร์
577 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา วัฒนนภาเกษม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ “เครื่องสำอางและอาหารสุขภาพ” จากสารสกัดข้าวสี เสริมโปรไบโอติก
578 นายพันธ์ชิด ธรรมพิชัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
579 ผศ.ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
580 นางสาวชลิดา อุดมรักษาสกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร System Dynamics, Quality control, Production Planning and Control, การออกแบบและสร้างเครื่องจักรกล,Production and Operation Management, Process improvement
581 นางสาวชลิดา อุดมรักษาสกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร System Dynamics, Quality control, Production Planning and Control, การออกแบบและสร้างเครื่องจักรกล,Production and Operation Management, Process improvement
582 ผู้ช่วยศาสตราจารย์. ดร.นภาพร วรรณาพรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การวิเคราะห์ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทางเคมี
583 อาจารย์ ดร. วิภาวดี พันธ์หนองหว้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีการอาหาร
584 ดร.รวมพร นิคม มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ หลักการของกระบวนการผลิตและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ การออกแบบและควบคุมการผลิตของกระบวนการทางเคมีและความร้อนให้มีประสิทธิภาพ
585 นายกานต์ วิรุณพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการออบแบบเครื่องมือเครื่องจักรทางด้านอุตสาหกรรมเช่น แม่พิมพ์อัด และตัวตัด ตัวตอก
586 ดร.อุกฤษฏ์ ธนทรัพย์ทวี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร
587 ผศ.กุลยุทธ บุญเซ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านเทคโนโลยีการผลิต
588 ดร.อดิศรา ตันตสุทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการแปรรูป
589 นางสุภัทรตรา สุขะ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
590 อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัมนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
591 รองศาสตราจารย์เสมอขวัญ ตันติกุล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รถเกี่ยวนวดขนาดเล็กต้นแบบ (ENG MJU 003)
592 ผศ.ดร.สาคร อินทะชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร เทคโนโลยีการอบแห้ง,การแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรด้วยความร้อน, การจัดการและอนุรักษ์พลังงาน,การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร
593 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน
594 อาจารย์ขนิษฐา รัตน์ประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคนิคการวิเคราะห์หาสารประกอบอินทรีย์และสำคัญโดยใช้เครื่อง GC และ GCMS
595 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้งชันโรง
596 ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีการเครื่องสไลด์กล้วย ปรับขนาดได้
597 นางสาวธนาภรณ์ เชาว์สุวรรณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำลูกชิ้นอกไก่มันม่วงและลูกชิ้นอกไก่ฟักทอง
598 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพิน สมคำพี่ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ส่งเสริมการเกษตร, เทคโนโลยีการอาหาร
599 นำยเทพกร ลีลำแต้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร นวัตกรรมอาหารหมักจุลินทรีย์ เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์โค-กระบือ การออกแบบและสร้างเตาพลังงานชีวมวล การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุภายในชุมชน การอบแห้งด้วยลมร้อน
600 ดร.กมลทิพย์ นิคมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เทคโนโลยีขนมอบ
601 รศ. ดร. พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร และกระบวนการบรรจุภัณฑ์ ระบบ retort Food safety
602 ดร.วิรุณ โมนะตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
603 ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากระบวนการผลิต อาหารเฉพาะทาง การนำของเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิต
604 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลทิพย์ กรรไพเราะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา สอน วิจัย และบริการวิชาการทางด้านการแปรรูปอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เคมีอาหารและศึกษาอายุการเก็บอาหาร รวมทั้งการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร
605 ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
606 นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาต
607 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการวิเคราะห์อาหาร
608 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการออกแบบแนวทางป้องกันการเน่าเสีย
609 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการเคลือบสารไคโตซาน
610 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการนึ่งแทนการต้ม
611 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ
612 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปวุ้นมะพร้าวในน้ำสมุนไพร
613 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผงข้าวแดงปรุงแต่งอาหาร
614 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าเพิ่ม
615 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปปลาให้เป็นผลิตภัณฑ์
616 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
617 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า
618 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มลฤดี สนธิ มหาวิทยาลัยบูรพา โรคและพยาธิสัตว์น้ำ
619 รองศาสตราจารย์ ดร.เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล มหาวิทยาลัยบูรพา คุณภาพน้ำ, สิ่งแวดล้อมทางน้ำ, นิเวศวิทยาของป่าชายเลน, การประเมินผลก ระทบสิ่งแวดล้อม
620 ผศ.พงศกร สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านวิศวกรรมศาสตร์ (อุตสาหการ)
621 นายอนาวิล ทิพย์บุญราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การออกแบบ และสร้างเครื่องจักร (วิศวกรรมการผลิต) ๑. วัสดุวิศวกรรม ๒. เครื่องมือวิศวกรรม ๓. การออกแบบการทดลอง ๔. การปรับปรุงประสิทธิภาพ
622 นายพิทูร นพนาคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง (วิศวกรรมการผลิต) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความชำนาญพิเศษ ๑. วัสดุวิศวกรรม ๒. เครื่องมือวิศวกรรม ๓. โลหะวิทยา ๔. งานหล่อและอบชุมโลหะ
623 นายสรายุทธ มาลัยพันธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง (วิศวกรรมการผลิต) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความชำนาญพิเศษ ๑. งาน Work Shop (เชื่อม กัด กลึง เจียระไน) ๒. เครื่องมือวิศวกรรม
624 อ.ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
625 ดร.อรทัย บุญทวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
626 ดร.ปัศนีย์ กองวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
627 ผศ.นภาพร ดีสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
628 ผศ.นภาพร ดีสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
629 ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
630 ผศ.ดร.ถนัดกิจ ศรีโชค มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี Manufacturing Processes Auto CAD
631 นายพลวัฒน์ ลักษณะภาคภูมิ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าดัดแปลงอัจฉริยะ
632 นางสาววรัญญา ไชยมงคล วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ตะแกรงเหล็กย่างแบบปรับระดับ
633 อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
634 นางสาวสุธิดา รัตนบุรี วิทยาลัยชุมชนพังงา เคมีอินทรีย์ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางค์
635 นางณัฏฐา โกวาช วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย แปรรูอาหาร ถนอมอาหาร ตรวจสอบคุณภาพอาหาร
636 นางสาวสุมนา ปานสมุทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ 2.วัสดุนาโน 3.การเคลือบผิวนาโนคอมโพสิต ใช้ในการเคลือบเนื้อทุเรียนในการแช่แข็งเพื่อยืดอายุของเนื้อทุเรียน และสารชีวภาพ ในการทดแทนสารเคมี
637 นางจันทร์เพ็ญ อินทอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการหมักดอง
638 ดร.จันทร์จรัส วัฒนโชติ มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล
639 ดร.นิสานารถ กระแสร์ชล มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีทางอาหาร
640 ผศ.ดร.กุลยา สารชีวิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารจัดการโครงการ วางแผนและควบคุมดูแลโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย งานทางด้านสิ่งแวดล้อม วิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรม
641 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC - นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine)
642 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สิทธิบูรณ์ ศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine), การออกแบบ สร้างเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชนและอุตสาหกรรมขนาดเล็กถึงระดับกลาง
643 ดร.เสกสรร วงศ์ศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เคมีอาหาร นํ้านมและผลิตภัณฑ์ ผักผลไม้และ ผลิตภัณฑ์ สีใน อาหารและการ เปลี่ยนแปลง เอนไซม์ในอาหารฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นในอาหาร
644 นายบดินทร์ ยอดประดิษฐ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอา
645 นางวรรณิศา ทิพย์ปัญญาไชย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การแปรรูปอาหาร การวิเคราะห์ทดสอบผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ที่ปรึกษาการยื่นขอการรับรองมาตรฐานอาหารและยา (อย.) ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
646 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกฤตา บุณณ์ประกอบ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ -สาขานวัตกรรมวัสดุ วัสดุนาโน ถ่านกัมมันต์และอื่นๆ -สาขาเคมี พลาสติก พอลิเมอร์ เคมีพื้นฐาน -สาขาพลังงาน ปิโตรเคมี ไบโอดีเซล ไบโอแก๊ส ไบโอเอทานอล
647 นางสาวนารีนารถ ภารังกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การวิเคราะห์ทดสอบอาหารและเครื่องดื่ม
648 นางสาวมีนา กรมมี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การวิเคราะห์ทดสอบอาหารและเครื่องดื่ม
649 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินีเพ้ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
650 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยา สุขจันทรา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา - การพัฒนายกระดับสถานที่ผลิตอาหารให้เป็นไปตามมาตรฐาน - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์
651 ผศ.วิลาวัลย์ บุณย์ศุภา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร
652 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เทคโนโลยีพลังงานเก็บเกี่ยว
653 ผศ.หทัยกาญจน์ ทองศรีสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาพัฒนาและแปรรูปอาหารให้มีความหลากหลายและเก็บไว้กินได้นาน
654 อาจารย์ปณิธาน วรรณวัลย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตเหล็กปิ้งย่างประกอบเตาอั้งโล่ปรับระดับได้ เป็บันการผลิตสินค้าเพื่อใช้ในการประกอบอาหารในครัวเรือน
655 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
656 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเลี้ยงไก่ไข่โดยการเปรียบเทียบสูตรอาหารโดยใช้เปลือกไข่ป่นแทนเปลือกหอยป่นในอัตราส่วนที่ต่างกัน
657 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบารี่โดยใช้ใบกระถินป่นแห้งทดแทนมันสำปะหลังป่นแทนแห้งในอาหารสูตร
658 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิต และต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบาบารี่โดยใช้ใบกระถินแห้งแทนกากเมล็ดนุ่นในสูตรอาหาร
659 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการผลิตการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้มันสำปะหลังป่นทดแทนใบกระถินป่นในสูตรอาหาร
660 นายปรีชญพงศ์ บุญเอม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ระบบการให้นำ้ การบำรุงรักษาเครื่องจักรกลเกษตร
661 นางสาวนิรัชรา ลำภู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การแปรรูปอาหาร
662 นายอาทิตย์ รอดภู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การซ่อมบำรุงเครื่องยนต์เล็ก
663 ผศ. ดร.จุฑา ทาคาฮาชิ ยูปันคิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Gastronomy
664 ผศ.ดร. วัชรี สีห์ชำนาญธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เคมีวิเคราะห์/อาหารสุขภาพ
665 ดร. สุภัทรา พงศ์ภราดร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สาหร่ายทะเล
666 ศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา ประเทพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล หญ้าทะเล สาหร่ายทะเล
667 สพ. ญ. ชญานิศ ดาวฉาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในทะเลไทย
668 ดร. เอกลักษณ์ รัตนโชติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
669 นายปิยะลาภ ตันติประภาส มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาหญ้าทะเล
670 นางสาวจันทร์มณี ปัญญาไว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นิเวศวิทยาระบบนิเวศหญ้าทะเล และ พะยูน
671 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงโดยใช้ผักตบชวาป่นแห้งแทนใบมันสำปะหลังป่นแห้งในสูตรอาหารเป็ดปักกิ่ง
672 ดร.พวงพรภัสสร์ วิริยะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ปรึกษาหน่วยงาน UBI มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
673 นายสุธีร์ เงิมสันเทียะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ ที่ปรึกษาของ UBI มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
674 นางสาวสุภัคชญา เชื่อมจิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา งานทรัพย์สินทางปัญญา
675 นางสาวทรัพย์มณี บุญญโก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ปรึกษาของ UBI มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
676 อาจารย์ สินมหัต ฝายลุย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ พลาสติกเพื่องานอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนวิทยาศาสตร์ อากาศยานจำลองและขนาดเล็ก
677 อาจารย์ สัญญา คำจริง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา งานด้านวัสดุศาสตร์, งานด้านวัดละเอียด Engineering Metrology วิศวกรรมการบำรุงรักษาโรงงาน, งานด้านเครื่องจักรกล / อัตโนมัติ
678 อาจารย์ ชนะรบ วิชาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ระบบการตรวจวัดและควบคุมอัตโนมัติ ยานสำรวจบนผิวน้ำอัตโนมัติ (USV) / อากาศยานอัตโนมัติ (UAV) และ พลังงานทางเลือก
679 อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
680 ดร.อดุลย์ หาญวังม่วง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา "Thermoelectric Materials, Materials Application, Solar Cell, Thin Films"
681 ดร.ภาสพิรุฬห์ วัชรศรีสำเริง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ขึ้นรูปวัสดุ ไตรบอโลยี
682 ดร.นฎาภัสส์ คุ้มกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา แปรรูปอาหาร, การผลิตเอทานอลจากกระบวนการ fermentation และการทำให้บริสุทธิ์ สารสกัดการต้านอนุมูลอิสระ การต้านการอักเสบ
683 ดร. วรินพร กลั่นกลิ่น อาจารย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
684 ดารินทร์ ล้วนวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
685 ดร.พีรรัตน์ ดวงติ๊บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การใช้โปรแกรมทางสถิติ และการทดสอบทางประสาทสัมผัส
686 ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
687 อาจารย์ปิยพงษ์ วงศ์ขันแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตรAgricultural System & Engineering
688 ผศ.ดร.วิทยา พรหมฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทนและเครื่องจักรกลเกษตร
689 อาจารย์วรรณภา สระพินครบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
690 อาจารย์เมธาวี อนะวัชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
691 ผศ.ดร.โสภณา สำราญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐาน แผนกวิชาคณิตศาสตร์
692 ผศ.ดร.เฉลิมพล ถนอมวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
693 ผศ.ดร.กฤษดา กาวีวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร