ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญสาขา :การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ลำดับ | ชื่อผู้เชี่ยวชาญ | หน่วยงาน | รายละเอียด |
---|---|---|---|
1 | ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) ดร.นันทกร บุญเกิด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | - การทำเกษตรอินทรีย์และระบบเกษตรอินทรีย์ที่ยั่งยืน - เทคโนโลยีการปลูกข้าวต้นเดี่ยวระบบ มทส |
2 | ดร.ลำไพร ศรีธรรมมา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การแปรรูปข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่า |
3 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทธวัช โมฬี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การเลี้ยงไก่เนื้อโคราช |
4 | ผศ.ดร.สมร พรชื่นชูวง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศ |
5 | รศ. พชร เพ็ชรประดับ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสมุนไพร การสกัดสารและพิสูจน์ทราบโครงสร้างสารออกฤทธิ์ |
6 | รศ.สุแพรวพันธ์ โลหะลักษณาเดช | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมง ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ประมง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำ การประเมินสินค้าโอทอป |
7 | รศ.ธงชัย นิติรัฐสุวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | การจัดการทรัพยากร สำรวจ และการตลาด การใช้โปรแกรมGIS |
8 | รศ.ชมพูนุช โสมาลีย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | จุลชีววิทยาในผลิตภัณฑ์ประมง, การแปรรูปอาหารทะเลการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ |
9 | ผศ.ดร.นพรัตน์ มะเห | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | วิทยาศาสตร์อาหาร,เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง - การยืดอายุการเก็บรักษา - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ |
10 | นางดลฤดี พิชัยรัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | การแปรรูปอาหาร และการวิเคราะห์คุณภาพของอาหาร |
11 | ผศ.ว่าที่พันตรีดำรงค์ โลหะลักษณาเดช | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | -การขอรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์น้ำ - GMP - HACCP - การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสและการทดสอบผู้บริโภค - Food Defense การป้องกันการก่อการร้าย การกลั่นแกล้ง การก่ออาชญากรรมทางอาหาร -Food Packaging -ฉลากโภชนาการและการใช้ Healthing Logo |
12 | รศ.ดร.ชุตินุช สุจริต | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | -การหมักอาหารทุกชนิด รวมเชื้อจุลินทรีย์ -การแปรรูปและการถนอมอาหาร -การทำเกษตรอินทรีย์ครบวงจร |
13 | กชพรรณ แซ่หย่อง | วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา | - แป้งกล้วยหิน - โรตีอบกรอบแป้งกล้วยหิน - ลองกองแช่อิ่ม รสบ๊วย - ผักกูดแผ่นอบกรอบ - ปลาส้ม - ข้าวเกียบ - เห็ดสวรรค์ - ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ เช่น ขนมเค้ก ขนมโมจินมสด - ไตปลาแห้ง - ข้าวหมาก - กล้วยหินบาร์ - น้ำพริกส้มแขก - น้ำพริก - ผงโรยข้าวรสข้าวยำปักษ์ใต้ - ลิปบาล์ม - พิมเสนน้ำ - ยาหม่อง - เจลแอลกอฮล์ล้างมือ |
14 | ผศ.ณัฐณิชา ทวีแสง | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | 1. การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ 3. การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส (Sensory evaluation) |
15 | ดร.การัณย์ พรหมเทพ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | - จุลชีววิทยาทางอาหาร - เทคโนโลยีอาหารหมัก - การแปรรูปและถนอมอาหารโดยเชื้อจุลินทรีย์ |
16 | ดร.กัญญาณัฐ เปลวเฟื่อง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | "Concept Design for Media, Design Thinking, Universal Design นวัตกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยีสื่อ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ" |
17 | ดร.ยามีละ ดอแม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย การบริการวิชาการ |
18 | ดร.บุณณดา ภมรปฐมกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ระบบนำส่งสมุนไพร/ยา |
19 | ดร.สิริภัทร ชมัฒพงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การแปรรูปสมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ |
20 | นางสาวกัญญ์ธศยา อัครศิริฐรัตนา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การใช้ประโยชน์จากพืช สมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ |
21 | ผศ.ดร.ชัยรัตน์ บูรณะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เทคโนโลยีการผลิตพืช การจัดการเกษตร การวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (สวนพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน) เกษตรสมัยใหม่ (Digital Agriculture, Smart Farm) |
22 | ดร.ไฉน น้อยแสง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การบริการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ |
23 | นายกิตติกุล บุญเปลี่ยน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบพื้นที่ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ |
24 | นางสาวศีตลา กลิ่นรอด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบสถาปัตยกรรมชุมชน |
25 | นายภูริวัฒน์ ไชยมีสุข | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | แนวคิดและทฤษฎีการออกแบบทางสถาปัตยกรรม |
26 | นางสาวภวิกา บุณยพิพัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | มีความชำนาญ: ด้านโรคพืช วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด การเพาะเห็ด |
27 | นางสาวนพรัตน์ ถวิลเวทิน | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | มีความชำนาญ: - ดูแลงานขยายพันธุ์พืชด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และงานตลาดและงานวิจัยของศูนย์ฯ |
28 | อาจารย์ธนพัฒน์ สุระนรากุล | มหาวิทยาลัยนครพนม | 1. โภชนศาสตร์สัตว์ (Animal Nutrition) 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management) 3. การพัฒนาพื้นที่ด้านการเกษตรในจังหวัดนครพนมและกลุ่มจังหวัด |
29 | นายปรีชา ศิริสม | มหาวิทยาลัยนครพนม | 1. พืชอาหารสัตว์และการจัดการทุ่งหญ้า 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management) |
30 | ดร. กัมปนาจ เภสัชชา | มหาวิทยาลัยนครพนม | อาหารและการให้อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน การใช้ประโยชน์ของผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์ และการใช้เทคนิคทางชีวโมเลกุลในการศึกษาจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมน |
31 | ผศ.ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | เทคโนโลยีแปรรูปผลผลิตเกษตรหลังการผลิต เฃ่น ออกแบบ สร้าง เครื่องจักรและพัฒนากระบวนการ |
32 | สิปนนท์ ชายแก้ว | วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา | ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ - เค้ก (เค้กบัตเตอร์/ สปันจ์เค้ก/ ชิฟอนเค้ก/ ชีสเค้ก/ มูสเค้ก) - ขนมปัง - พาย - คุกกี้ - บาร์กล้วยหิน รสคาราเมล |
33 | ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่ |
34 | นางสาวปิ่นธิดา ณ ไธสง | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การจัดการและการควบคุณภาพอาหาร |
35 | นางสุวิมล กะตากูล เรเกอร์ส | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | เทคนิคและกระบวนการแปรรูปอาหาร การแปรรูปผักและผลไม้ เช่น น้ำผลไม้ ไวน์ผลไม้ แยม-เยลลี่ ผลไม้ ผักผลไม้แช่อิ่มอบแห้ง ผักผลไม้ผง ผักผลไม้ดอง ผักผลไม้ทอด การยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร เช่น พริกแกงชนิดต่างๆ น้ำพริก ทางด้านเทคโนโลยีขนมอบ เช่นคุกกี้ ขนมปัง ขนมเค้ก ขนมเปี๊ยะ |
36 | นางณิฐิมา เฉลิมแสน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อเศรษฐกิจ โดยเน้นวัสดุในท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาประยุกต์คำนวณสูตรอาหารสัตว์ |
37 | ดร.พิมอร แก้วแดง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ท่องเที่ยวนวัตวิถี งานบริการ อาหารแลเครื่องดื่ม การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว |
38 | ดร.ณัฐฐิณีภรณ์ ปิงแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว และมัคคุเทศ |
39 | นางสาวฐิรรัตณ์ ศรีคงจันทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | สถาปัตยกรรมและอาคาร |
40 | นายไตรภพ บุญธรรม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | "contemporary landscape design, agricultural landscape, urban space design & planner, rehabilitation, pedestrian, agricultural waste การออกแบบภูมิทัศน์ร่วมสมัยภูมิทัศน์ทางการเกษตรการออกแบบและวางผังเมืองการฟื้นฟูสภาพถนนคนเดินขยะเกษตร" |
41 | นางสาวอชิรา ผดุงฤกษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | อาหารสัตว์ คำนวนสูตรอาหารสัตว์ |
42 | นายทองมี เหมาะสม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านการสกัดสารจากพืช, การกลั่นน้ำมันหอมระเหย |
43 | นายนพกร ผลาวรรณ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การติดหุ่นจำลอง, การประเมินเชิงทัศน์ |
44 | นายเรวัฒน์ อามิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | แนวความคิดทางสถาปัตยกรรม |
45 | นายชวาน พรรณดวงเนตร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | สถาปัตยกรรมศาสตร์ |
46 | นางสาวทิศากร ดำรงพุฒิเดชา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและความงาม |
47 | นางสาวเขมจิรา จามกม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร วิชาชีพแพทย์แผนไทย/วิทยาการด้านเภสัชภัณฑ์ |
48 | ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การใช้ประโยชน์จากจุลชีพ,Microbiology, Biotechnology |
49 | นางสาวสุรัติวดี ทั่งมั่งมี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และสมุนไพร |
50 | ดร.ณัฐนรี ศิริวัน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | Cancer immunotherapy, Gene therapy, Chemical engineering ภูมิคุ้มกันโรคมะเร็ง, ยีนบำบัด, วิศวกรรมเคมี |
51 | นางสาวชนันท์ธิพัฒน์ พรหมสนธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | -การเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบเหลือใช้ -โลจิสติกส์ -การพัฒนาดิน น้ำ ผลผลิตทางเกษตร -การจัดการดิน |
52 | นันทวัน หัตถมาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การยืดอายุผัก/ผลไม้ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูปทางเกษตร การจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การแยกโมเลกุลดีเอ็นเอ |
53 | ดร.ธัญวภณ ยิ่งประเสริฐชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การวิเคราะห์จุลินทรีย์เพื่อเกษตรอินทรีย์ การเพราะพันธุ์ ขยายพันธุ์ข้าวพื้นเมือง เทคโนโลยีชีวภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไวน์ ชีววิทยาประยุกต์ |
54 | ผศ.ดร.กาญจนา อัจฉริยจิต | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ถ่านอัดแท่ง พลังงานทดแทน การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี การผลิตผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน |
55 | อ.แสงแข สพันธุพงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การยืดอายุผลิตภัณฑ์ การพัฒนาตำรับอาหาร |
56 | นางชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การพัฒนาอาหารในรูปแบบใหม่ บรรจุภัณฑ์ที่สะดวกต่อการขนส่ง การใช้สื่อเพื่อการตลาด |
57 | ดร.สัมฤทธิ์ มากสง | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การเลี้ยงผึ้งและผลิตภัณฑ์จากผึ้ง |
58 | ดร.สมเกียรติ สุขุมพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน |
59 | นางสาวอิงณภัสร์ วงษ์สิทธิชัย | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง |
60 | นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช |
61 | นายอับดุลเลาะ บากา | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) การออกแบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การตลาดออนไลน์ (Digital online) การทำเกษตรสมัยใหม่ (Smart.Farm) |
62 | ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | 1. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เนื้อสัตว์ และการทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตอาหารต่างๆ. 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารทั่วไปและอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
63 | นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การเพาะเลี้ยงปลาน้ำจืด |
64 | นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การผลิตอาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำ |
65 | นายศิลชัย หล่อเลิศธรรม | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน |
66 | นายศิลชัย หล่อเลิศธรรม | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การแปรรูปไส้เดือนดิน และมูลไส้เดือน |
67 | ดร.รณกร สร้อยนาค | มหาวิทยาลัยพะเยา | ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน บริการปรึกษาแนะนำการจัดทำระบบ GMP การวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูปอาหารทุกประเภท |
68 | รศ.ดร.กานดา หวังชัย | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ความปลอดภัยในอาหาร |
69 | นายสันติโรจน์ เกียรติศิริโรจน์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การผลิต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สมุนไพร ระบบมาตรฐานทางด้านการเกษตร |
70 | ผศ.ดร.เลอลักษณ์ เสถียรรัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การพัฒนานวัตกรรมอาหารแปรรูปอาหารต่างๆ |
71 | นางสาวย่าร่อนะ ศรีอาหมัด | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | พัฒนาแบรนด์สินค้า/ ออกแบบบรรจุภัณฑ์/พัฒนานาร้างเพื่อการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร |
72 | นางเยาวพา ความหมั่น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation Technology), การผลิตไมโครแคปซูลน้ำมัน (Oil microcapsule), เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อาหารผง (Food powder technology), การสกัดรงควัตุจากธรรมชาติ (Natural pigment extraction) |
73 | ผศ.ดร. น้ำทิพย์ วงษ์ประทีป | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | เทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การผลิตตามหลักเกณฑ์การผลิตอาหารที่ดีโรงงานเครื่องดื่มและอุตสาหกรรมอาหาร การแปรรูปข้าว การแปรรูปผักและผลไม้ เครื่องดื่มสมุนไพร |
74 | อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว |
75 | อาจารย์ธนพล กิจพจน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรการ แปรรูปจากผลิตผลทางเกษตรทั้งที่เป็นอาหารและไม่ใช่อาหาร การวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร การประมวลผลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ ประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส |
76 | อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ |
77 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี แหยมคง | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ เช่น ไข่ ไก่ ปลา หมู เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ |
78 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงพรรณ สังข์ทรัพย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร |
79 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทัยวรรณ ฉัตรธง | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | แปรรูปอาหาร โภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร, Cereal technology |
80 | รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุการ ดาจันทา | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | เคมีเครื่องสำอาง Food Science Food Safety Bioactive compounds |
81 | อาจารย์กนกวรรณ พรมจีน | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร |
82 | อาจารย์เปรมนภา สีโสภา | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | natural product, delivery system, cosmetic science |
83 | อาจารย์จิรศิต อินทร | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | cosmetic science, natural product |
84 | อาจารย์พัชราภรณ์ อินริราย | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Heat transfer, Solar Energy, Renewable Energy, Properties of Agricultural and food product, Drying technology, Waste agriculture to valuable product |
85 | อาจารย์สุรินทราพร ชั่งไชย | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | วิศวกรรมอาหาร การออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การออกแบบโรงงานอาหาร การวางแผนกระบวนการผลิตอาหาร มาตรฐานความปลอกภัยของอาหารในระดับสากล การประเมินคุณภาพอาหารและผลผลิตทางการเกษตรทางคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว |
86 | นางสาวน้ำฝน ไทยวงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การแปรรูปอาหาร, สุขาภิบาลอาหาร และจลนพลศาสตร์เอนไวม์ทางอาหาร |
87 | นางสาวชมภูนุช ฆ้องลา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมและเครื่องดื่ม |
88 | อาจารย์ ชนิรัตน์ ผึ่งบรรหาร | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | แปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การถนอมอาหาร, พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
89 | นางสาวจิระวัลย์ โคตรศักดี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การประกอบสูตรอาหารสัตว์ |
90 | รศ.ดร.เสมอใจ บุรีนอก | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การจัดการด้านพืชอาหารสัตว์เขตร้อน |
91 | นางสาวจิรายุส วรรัตน์โภคา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมและเครื่องดื่ม |
92 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อมลณัฐ ฉัตรตระกูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การปลูกพืชอินทรีย์ สมุนไพร การอารักขาพืชด้วยสารชีวภัณฑ์ มาตรฐานการเกษตร GAP, PGS พืชอินทรีย์, ปุ๋ยชีวภาพ |
93 | นายศรันย์ คัมภีร์ภัทร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | ระบบสื่อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย ด้านออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและ Data Warehouse ด้านปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ด้าน IOT |
94 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศันสนีย์ อุตมอ่าง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การแปรรูปมะม่วงน้ำดอกไม้, การแปรรูปผลิตภัณฑ์, การถนอมอาหาร |
95 | อาจารย์จันทร์จิรา โต๊ะขวัญแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การประกอบสูตรอาหารสัตว์ปีก, การเลี้ยงไก่เนื้อ, การเลี้ยงนกกระทา การเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ |
96 | อาจารย์รัตนากร แสนทำพล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร, การแปรรูปผลิตผลปศุสัตว์(เนื้อ นม ไข่) การทำมาตรฐานอาหารปลอดภัย, การทำมาตรฐานฟาร์ม |
97 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาขวัญ ทองรักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การแปรรูปสัตว์น้า การแปรรูปเนื้อสัตว์ การวางแผนและการปรับปรุงงาน |
98 | อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร |
99 | อาจารย์เสน่ห์ บัวสนิท | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | 1.การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ไก่ ไข่ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 3.การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากนมแพะ แห้ว ข้าวโพด |
100 | ดร.ยุพิน พูนดี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การจัดการสิ่งแวดล้อม |
101 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | 1. Horticulture Crop Production 2. Environmental Comtrol Engineering 3. Modelling and Simulation of Plant Response 4. Plant Factory and Plant Propagation 5. Bioremediation |
102 | ดร.มงคล เทพรัตน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | มีความเชี่ยวชาญในด้านการเลี้ยงสัตว์ พร้อมปรับปรุงพันธุ์สัตว์ได้ |
103 | ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม | มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | การตรวจวิเคราะห์โลหะหนัก โลหะหนักเป็นพิษ ตกค้างในดิน น้ำ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหาร |
104 | ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | "1.การผลิตสารชีวภาพและสารสกัดสาอาหารหลักรองและเสริม สารชีวภาพ สารปฏิชีวนะ ด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพื่อการเกษตรอินทรีย์ ประมงอินทรีย์ มาตรฐานอินทรีย์ไทย 2.การแปรรูปวัสดุเหลอทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพิ่มเพิ่มมูลค่า รายได้ ลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม " |
105 | อาจารย์อัญญารัตน์ ประสันใจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | โลหะวิทยา วัสดุวิศวกรรม การควบคุมคุณภาพ วิศวกรรมความปลอดภัย |
106 | ผศ.ดร.กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | Natural Product development for pharmaceuticals, cosmetics and food supplements/ Thai Traditional Medicine/ Biochemistry and Biotechnology in Pharmaceuticals/ Cell culture/ Nanotechnology for drug and gene delivery systems/ Organic and Analytical Chemistry การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติสำหรับเภสัชภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารเสริม / การแพทย์แผนไทย / ชีวเคมีและเทคโนโลยีชีวภาพด้านเวชภัณฑ์ / การเพาะเลี้ยงเซลล์ / นาโนเทคโนโลยีสำหรับระบบส่งยาและยีน / เคมีอินทรีย์และการวิเคราะห์ |
107 | ดร.จตุราพร สีหาบุตร | มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย | การท่องเที่ยว การบริการ การโรงแรม |
108 | อ.กมลทิพย์ ปัญญาสิทธิ์ | มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย | บริหารธุรกิจ |
109 | รศ.ดร.สิริพร โรจนนันต์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | โลหะวิทยา โลหะนอกกลุ่มเหล็ก |
110 | นายพินิจนันท์ รุทธนานุรักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ เช่น เมล็ดข้าวและใยสับปะรด แล้วใช้ขบวนการทาง XRD เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของวัสดุหลังจากผ่านขบวนการย่อยสลายเฉพาะด้าน เช่น รังสี |
111 | กฤษณ์ สงวนพวก | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวมะม่วงกรอบโดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง นวัตกรรมการแปรรูปเยลลี่ข้าวเหนียวมะม่วงโดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง สาขาเทคโนโลยีการเกษตร การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลทางการเกษตร สาขาเทคโนโลยีอาหารการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
112 | ประนัดฎา พิมสี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | -อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพและความงาม -อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากถั่วดาวอินคา ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากสมุนไพรในท้องถิ่น สาขาสิ่งแวดล้อม-การวิเคราะห์สารประกอบ PAHs ในน้ำ |
113 | สุนทรี ถูกจิตต์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบและแฟชั่นและสถาปัตยกรรม |
114 | มนกานต์ อินทรกำแหง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การจัดการฟาร์มโคนมผ่านแอพลิเคชั่น |
115 | นวลละออง อรรถรังสรรค์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การบริหารการจัดาการชุมชนท้องถิ่น และการส่งเสริมด้านการตลาดและการทำมาตรฐาน |
116 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติ เมืองตุ้ม | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ |
117 | วัลยา สุทธิขำ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เครื่องสำอางจากโปรตีนไหม |
118 | ปณรัตน์ ผาดี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การเลี้ยงกบ การเลี้ยงปลาและการเลี้ยงสัตว์น้ำทุกชนิด |
119 | อัจฉรี จันทมูล | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการชุมชน และการจัดทำมาตรฐาน |
120 | สถิตย์ เจ๊กมา | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การจักสาน การบริหารจัดการชุมชน |
121 | สายฝน จำปาทอง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบแฟชั่น การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ |
122 | ปาริชาติ ศรีสนาม | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ |
123 | กัญจน์ชญา จันทรังษี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ |
124 | สุมลวรรณ ชุ่มเชื้อ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เทคนิคการผลิตปลาส้ม และผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ |
125 | ปิยภัทร บุษบาบดินทร์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการชุมชน การตลาดในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน แปรรูปผลผลิตการเกษตร |
126 | อาจารย์ กฤษณา เกตุคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | งานศิลปะประดิษฐ์ ดอกไม้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์เครื่องมือที่ใช้ในงานบายศรี งานประดิษฐ์ การจัดดอกไม้สด งานใบตอง งานแกะสลัก ผัก-ผลไม้ |
127 | ผศ.ดร.กฤษดา กาวีวงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีการปลูกผักและผลไม้ การแปรรูปอาหาร ไวน์ผลไม้ และระบบเกษตรอินทรีย์สากล IFOAM) |
128 | นางสาวสุรีย์รัตน์ บัวชื่น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน ปุ๋ย |
129 | ผศ.ดร.สุริยาพร นิพรรัมย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร |
130 | นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อเศรษฐกิจ และการรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก |
131 | ผศ.ดร.เอกสิทธิ์ อ่อนสอาด และ ผศ.ดร.วิริยา อ่อนสอาด | กรมวิทยาศาสตร์บริการ | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/ การทำมาตรฐาน |
132 | ผศ.ดร.จิตรา สิงห์ทอง | กรมวิทยาศาสตร์บริการ | เทคโนโลยีอาหาร |
133 | ดร.ทินกร ทาตระกูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | การคำนวณสูตรอาหารสัตว์และทำอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำ สำหรับผู้เลี้ยงสัตว์เพื่อเศรษฐิจ เพื่อลดต้นทุน |
134 | ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชียวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลาสวยงาม และการจัดการโรคระบาดในสัตว์น้ำ |
135 | นายประวัติ ปรางสุรางค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจ |
136 | ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ | กรมวิทยาศาสตร์บริการ | เภสัชกรรม |
137 | นางจันทรา สโมสร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม การผลิตอาหารสำหรับโครีดนม |
138 | นางสาวอิงณภัสร์ วงษ์สิทธิชัย | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การทำแหล่งท่องเที่ยวชุมชน |
139 | นางสาววีรยา ปรีดาลิขิต | มหาวิทยาลัยพะเยา | ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ การสกัดสมุนไพร ทดสอบการต้านอนุมูลอิสระ |
140 | นางสาวชนิดา ประจักษ์จิตร | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และการแปรรูปอาหาร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบในท้องถิ่น ให้คำแนะนำ ปรึกษา แก่ผู้ประกอบการ กลุ่มโอทอป และผู้สนใจ 2. มีประสบการณ์ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แนวคิดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการโอทอป หรือผู้สนใจ 3. มีประสบการณ์ด้านการจัดโครงการ การบริหารโครงการ ทั้งโครงการบริการวิชาการ โครงการวิจัย ไม่น้อยกว่า 10 ปี |
141 | ผศ.ดร.กฤษดา พงษ์การัณยภาส | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ระบบเกษตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ท้องถิ่นเพื่อการเกษตร สมุนไพรพื้นบ้าน |
142 | ผศ.โสภณ บุญล้ำ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี | สัตว์ปีก |
143 | อุมาวดี ศรีเกษตรสรากุล | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | สรีรวิทยาพืช การผลิตพืช |
144 | ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสวน/พื้นที่เกษตรแบบปลอดภัย ตามหลักการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Zero Waste) |
145 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรศักดิ์ สวัสดี | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การศึกษาชีววิทยาประมง พลวัตประชากรสัตว์น้ำ การฟื้นฟูทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง |
146 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งรวี จิตภักดี | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | พฤติกรรมนักท่องเที่ยว การท่องเที่ยวโดยชุมชน |
147 | อาจารย์ ดร.ฉวีวรรณ คล่องศิริเวช | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ |
148 | นายสมจริง หมื่นวิเวก | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การผลิตอาหารไก่ไข่อารมณ์ดี |
149 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การจัดการท่องเที่ยว จิตวิทยาบริการและการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์ |
150 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพัฒน์ นาวารัตน์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | กายภาพบำบัดทางระบบประสาท การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างและพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุ |
151 | อาจารย์ ดร.กฤติกา กาบพลอย | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | โภชนศาสตร์อาหารสัตว์ |
152 | อาจารย์ ดร.จันทิรา วงศ์เณร | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ด้านสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร |
153 | อาจารย์ ดร.อรรถกร พรมวี | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ทางด้านพืชศาสตร์ ระบบไฮโดรโปนิกส์ |
154 | อาจารย์สุนทร บุญแก้ว | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การพัฒนาทุนมนุษย์ การเรียนรู้แบบบูรณาการทำงาน และการจัดการการต้อนรับ |
155 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ เฉียบแหลม | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การสื่อความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม |
156 | อาจารย์ ดร.สุขุมาล กล่ำแสงใส | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การจัดนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ บุคลิกภาพในงานบริการ การสื่อความหมาย ธุรกิจสายการบิน |
157 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การวินิจฉัยโรคติดเชื้อด้วยเทคนิคทางห้องปฏิบัติการ ด้านระบบภูมิคุ้มกันในมนุษย์ |
158 | อาจารย์ ดร.อโนมา สันติวรกุล | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | กายภาพบำบัดระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต การออกกำลังกาย กิจกรรมทางกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
159 | อาจารย์ ดร.ชฎายุ อุดม | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | กายวิภาคศาสตร์และกายภาพบำบัด |
160 | อาจารย์ ดร. จารุภา เลขทิพย์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | กายภาพบำบัดชุมชน กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุ |
161 | ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูพืช |
162 | ผศ. คุลยา ศรีโยม | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านการผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม |
163 | ผศ.ดร คริษฐ์พล หนูพรหม | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านการผลิตพีช |
164 | นางวิจิตรา ตุ้งซี่ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
165 | ดร.พัชรี เพิ่มพูน | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านวัสดุศาสตร์ |
166 | นายวิชัย นระมาตย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ -เทคโนโลยีการสื่อสาร -เทคโนโลยีไฟฟ้า -เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร์ -เทคโนโลยีพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ -เทคโนโลยีระบบการให้น้ำ |
167 | นางสาวนภาพร กลิ่นน้ำหอม | วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี | การท่องเที่ยว |
168 | รศ.ดร.ธนิดา ผาติเสนะ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การทำและการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอบตัว พัฒนากระโจมอบตัวสมุนไพรอบตัว การทำผลิตภัณฑ์ดระโจมอบตัวสมุนไพรให้ได้มาตรฐานตามมารตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน |
169 | รศ.ดร.เอกรัตน์ เอกศาสตร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะละกอแก่เกษตรกร |
170 | อดิศัย วรรธนะภูติ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต |
171 | นายไพศาล โพธินาม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การเลี้ยงสุกรขุน |
172 | นายไพศาล โพธินาม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การเลี้ยงสุกรพันธุ์ |
173 | ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | แนวทางพัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาไหลนา |
174 | ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การเพาะหนอนแมลงวันเพื่อการเลี้ยงสัตว์น้ำ |
175 | รศ.ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การเพาะกบบนพื้นที่สูง |
176 | ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | ปูนาไทย |
177 | นายสรศักดิ์ ประทิศ | วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบูรณ์ | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
178 | นางวันเพ็ญ ชาญประสิทธิ์ | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | การแปรรูปเห็ดนางฟ้า |
179 | นางน้ำอ้อย น้ำดอกไม้ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การแปรรูปต่อยอดสินค้าเกษตรผลิตภัณ์จากพืช |
180 | ผศ.สุรสิทธิ์ ประกอบกิจ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ระบบไฟฟ้าสำหรับการติดตั้งเครื่องจักร ระบบไฟฟ้าสำหรับกระบวนการทำงานของเครื่องจักร ระบบแมคคานิคสำหรับงานไฟฟ้า ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้เครื่องจักรต้นแบบ |
181 | นางสาวอัญชนา ขัตติยะวงศ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสกัดสารจากธรรมชาติ และสารต้านอนุมูลอิสระ การทำผลิตภัณฑ์จากสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ครีม โลชั่น เซรั่ม เป็นต้น การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือนจากสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น น้ำยาล้างจานสมุนไพร ยาหม่องสมุนไพร สเปรย์ไล่ยุง ยาดมสมุนไพร เป็นต้น การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับร่างกาย เช่น สบู่ แชมพู คอนดิชั่นเนอร์ เป็นต้น |
182 | นางสาวอินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การผลิตขนมอบ แต่งหน้าเค้ก พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสร้างสรรค์อาหารจานหวาน และการแปรรูผลผลิตทางการเกษตร |
183 | นางสาวเปรมระพี อุยมาวีรหิรัญ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูผลผลิตทางการเกษตร |
184 | รศ.อภิญญา มานะโรจน์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูอาหารไทย ขนมไทย |
185 | ผศ.อุดมเดชา พลเยี่ยม | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีในครัวเรือน สารทำความสะอาด แชมพู ยาสระผม สบู่ล้างมือ น้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม ยาหม่อง น้ำยาล้างรถ พิมเสนน้ำ สบู่เหลวล้างมือ และการผลิตกระดาษ |
186 | นางธนาพร บุญชู | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนโดยการเติมสารที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้สารเคมี |
187 | นางสาวเมทิกา พ่วงแสง | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจชุมชนฐานรากกับวิถีวัฒนธรรม การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์ |
188 | รศ.ดร.สุธานันธ์ โพธิ์ชาธาร | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การแปรรูปอาหาร การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดทำแผนธุกิจ |
189 | ผศ.เนตรนภา รัตนโพธานันท์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | นำวัสดุเหลือใช้ทางเกาตรจากฟางข้าวเพื่อผลิตเป็นอาหารสัตว์อัดแท่ง |
190 | ผศ.สมพงศ์ วงษ์มา | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | เทคนิคการสัตวแพทย์ |
191 | อาจารย์ปรัชญา บำรุงกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | Image Processing, Smart Farm |
192 | ผศ.พีรกูร อนุชานุรักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | สัตว์ปีก, การทำสูตรอาหารสำหรับสัตว์ปีก, การผลิตสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่พื้นเมือง |
193 | นายอังศุธร อังคะนิต | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร | วิทยาศาสตร์อาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ |
194 | นางบรรเจิดโสม ขันแข็ง | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร | การเลี้ยงโค |
195 | นางสาวเอื้ออารี สุสมนิตย์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม และอาหารสัตว์น้ำมีชีวิต |
196 | นางพิศมัย เฉลยศักดิ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม และอาหารสัตว์น้ำมีชีวิต |
197 | นายสมศักดิ์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การเลี้ยงโคนม การทำเกษตรผสมผสาน |
198 | นางนุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การเพาะพันธุ์กรรมกุ้ง และการเลี้ยงไรแดง ไรน้ำนางฟ้า |
199 | อาจารย์ณัชชา สมจันทร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1. การจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ 2. การตลาดและการผลิต สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ |
200 | ผศ.ดร.วราจิต พยอม | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร |
201 | ดร.ปรีชา ทุมมุ | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์ |
202 | อาจารย์นงนภสร ทองศิลา | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร |
203 | อ.กฤตชัย บุญศิวนนท | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ |
204 | อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน |
205 | อาจารย์นิรมล ศรีชนะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1. เคมีสภาวะแวดล้อม 2. เคมีอนินทรีย์ 3. เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 4. การผลิตอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ |
206 | นางสาวนัสวัล บุญวงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี | |
207 | อาจารย์คมกริชณ์ ศรีพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี | การวัดและเครื่องมือวัด, เครื่องมือแพทย์ อุปกรณ์การแพทย์และงานวิศวกรรมฟื้นฟู เครื่องจักรกลเกษตร และระบบควบคุมอัตโนมัติ |
208 | ดร.ชมพูนุท ชัยรัตนะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี | เทคโนโลยีชีวภาพของสาหร่าย - เทคโนโลยีชีวภาพของสาหร่าย,คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
209 | ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล | มหาวิทยาลัยพะเยา | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ |
210 | ดร.สุวลี ฟองอินทร์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | ด้านการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผัก ผลไม้ ข้าว |
211 | ดร.ยุพารัตน์ โพธิเศษ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีผัก ผลไม้อบแห้ง มาตรฐานอาหารและระบบคุณภาพต่าง ๆ เช่น GMP HACCP ISO22000 |
212 | รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญการหลายๆด้าน ทั้ง ด้านเกษตร อาหาร สารสำคัญในพืช น้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากพืช นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีผลงานวิจัยและบทความในวารสารนานาชาติ ไม่ต่ำกว่า 25 เรื่อง และวารสารในประเทศอีกจำนวนมาก |
213 | อาจารย์ ดร. ยศภัทรชัย คณิตปัญญาเจริญ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | สาขาเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม |
214 | ดร.คุณากร ขัติศรี | มหาวิทยาลัยพะเยา | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ข้าว แป้ง ไขมัน-น้ำมัน |
215 | นางจันทร์เพ็ญ อินทอง | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร |
216 | นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การทำสารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การปลูกผักอินทรีย์ การปลูกเมล่อนมาตรฐานอาหารปลอดภัยในโรงเรือน |
217 | นางสมพร เกตุผาสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การผลิตไข่ไก่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง |
218 | นายสันติ คำไหว | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | การเลี้ยงวัว |
219 | ดร.วัลลีย์ อาศัย | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | การแปรรูปสมุนไพร |
220 | นางสาวกมลชนก ดวงสันติสุข | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | การทำสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาษาอังกฤษ |
221 | นายสดายุทธ ภูคลัง | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | วิศวกรรมไฟฟ้า |
222 | ดร.วัลลีย์ อาศัย | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | การทำน้ายาอเนกประสงค์จากธรรมชาติ และสารชีวภาพเพื่อการเกษตร |
223 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิโรขน์ ปงลังกา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ |
224 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเติมอากาศในสัตว์น้ำ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบิ้ลทางด้านการเกษตร 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟฟ้าแรงดันสูงในการกระตุ้นการออกดอกของเห็ด 4. การประยุกต์ใช้ไอออนบีมพลังงานสูงในการถ่ายภาพทางการแพทย์ |
225 | นายสุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | เทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) , การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน , การออกแบบนวตกรรม , สื่อสร้างสรรค์ |
226 | อาจารย์ประธาน เรียงลาด | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การผลิตพืชอาหารสัตว์ - การใช้วัสดุเศษเหลือทางการเกษตรให้เป็นอาหารสัตว์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตสัตว์ |
227 | อาจารย์ศิวดล แจ่มจำรัส | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การเลือกพื้นที่ - สารเคมีเกษตร - การปรับปรุงดินสำหรับการปลูกพืช - ชนิดของผัก และระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ - ไม้ผล |
228 | อาจารย์ปิยพงศ์ บางใบ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงกบ - วิธีการเพาะพันธุ์กบ |
229 | อาจารย์พรทิศา ทองสนิทกาญจน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การเตรียมวัตถุดิบในการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย - วิธีการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย |
230 | อาจารย์สุชิรา นวลกำแหง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิเคราะห์ดิน - หาขนาดของเม็ดดิน - หาปริมาณความชื้นของดิน - หาความเหนียวของดิน 2. เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิธีบดอัดดินให้ได้ความแน่นสูงตามความต้องการหรือตามจุดประสงค์ของการใช้งาน โดยวิธีทดสอบมาตรฐาน เป็นการบดอัดดินในงานก่อสร้างโดยทั่วไป เช่น การทดสอบสำหรับควบคุมงานก่อสร้างถนน |
231 | ผศ.ดร.นครินทร์ พัฒนบุญมี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ อนุรักษ์พลังงาน |
232 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรุณรัตน์ ปัญจะกลิ่นเกษร | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | - การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร |
233 | ดร.คมสัน นันทสุนทร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | สารสกัดสมุนไพรทุกชนิด เพื่อนำมาใช้ใให้เกิดประโยขน์ต่อร่างกายมากที่สุด |
234 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ |
235 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา หนูสาย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีเคมีวิเคราะห์ |
236 | ดร.อนุสรณ์ ยอดใจเพ็ชร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | ระบบคอมพิวเตอร์ |
237 | นายกำพล จินตอมรชัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน |
238 | นางสาวเกตวรรณ บุญเทพ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ด้านสัตวศาสตร์ โภชนศาสตร์สัตว์ |
239 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรวัตร ลือสัก | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | เครื่องจักร อุตสาการ |
240 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรพจน์ ศิริรักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | เครื่องจักร อุตสาการ |
241 | นางอัปสร อีซอ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ตราสินค้า บรรจุหีบห่อ การสื่อสารการตลาด |
242 | นางสาวจารุณี หนูละออง | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | วิเคราะห์อาหารสัตว์ / การผลิตสัตว์ |
243 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ดวงใจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ...อาหารสัตว์น้ำ...ฮอร์โมนเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
244 | นายจุลทรรศน์ คีรีแลง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | 1. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. อาหารสัตว์น้ำ 3. การเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่นในระบบน้ำหมุนเวียน |
245 | รศ.ดร. กฤติมา เสาวกูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การจัดการคุณภาพน้ำ, การผลิตอาหารสัตว์น้ำ,การเพาะเลี้ยงปลาหลด |
246 | นางลักขณา ศิรประภาพูน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ด้านสุขภาพ, ความงาม, ด้านเคมี |
247 | ผศ.เถลิงเกียรติ สมนึก | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การเพาะพันธุ์ปลา |
248 | ผศ.ดร.วิรัช อนุชานุรักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | เครื่องจักรกลเกษตร, เทคโนโลยีการเกษตร |
249 | ดร.อุดมศักดิ์ นพพิบูลย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การปรับปรุงพันธ์สัตว์(สุกร โคนมและโคเนื้อ), การปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์ |
250 | อาจารย์ธรา ราษีนวล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การออกแบบภูมิทัศน์, การเลือกไม้ดอกไม้ประดับในการตกแต่ง |
251 | ดร.เรวัฒน์ เติมกล้า | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | วิศวกรรมและเครื่องจักรกลเกษตร |
252 | ผศ.วัฒนา ภารัตนวงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | เครื่องจักรกลเกษตร, เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการเกษตร |
253 | นางสาวสิริอนงค์ สมัครสมาน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม, การจับผ้าเป็นรูปแบบลายต่างๆ, การย้อมสีผ้าไหม, การเลี้ยงไหม |
254 | ดร.ณัฎฐ์ธนัน กีรติญาดาธนภัทร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | วิศวกรรมเครื่องกล, ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร |
255 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิติพงษ์ สมไชยวงค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน |
256 | ผศ.ณัฐรินทร์ ศิริรัตนนันท์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำ - วิธีการวัดคุณภาพน้ำ และการประเมินค่าคุณภาพน้ำอย่างง่ายสำหรับเกษตรกร |
257 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิฑูรย์ พรมมี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ |
258 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิชัย จีนะวงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมสื่อสาร โทรคมนาคม วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน |
259 | นายพิเชษฐ กันทะวัง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | 1. ระบบไมโครคอนโทรเลอร์และการอินเตอร์เฟส 2. ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง 3. ระบบสมองกลฝังตัวและอินเตอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง 4. วิศวกรรมชีวการแพทย์ |
260 | นายธนวัฒน์ พันธ์ตุ้ย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมสื่อสาร โทรคมนาคม |
261 | นายนิวัติ นวลกัน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม พลังงานทดแทน |
262 | นายขจร อนุดิตย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบ |
263 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนท์ นำอิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | 1. ระบบส่งกำลังไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Inductive Wireless Power Transfer) 2. ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Wireless EV Charging System) 3. เครื่องจำลองแสงอาทิตย์ชนิดไดโอดเปล่งแสงสำหรับทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ (LED Solar Simulator for PV Testing) 4. การออกแบบระบบการสอนวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Instructional System Design) |
264 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกชัย ชัยดี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ |
265 | นายเพลิน จันทร์สุยะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ |
266 | ดร.สุรชัย อำนวยพรเลิศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมโยธา โทรคมนาคม |
267 | ดร.อังกูร ว่องตระกูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | 1. การศึกษาความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรแหล่งน้ำที่มีอยู่อย่างจำกัดสำหรับการวางแผนการจัดสรรน้ำอย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ 2. การพัฒนาโมเดล Unsteady Flow Numerical และสร้างแบบจำลองที่เหมาะสมสำหรับการจัดสรรน้ำชลประทานขนาดใหญ่เพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภคอย่างเหมาะสม 3. การพัฒนาและการบริหารจัดการลุ่มน้ำอย่างเหมาะสม 4. การวางแผนการใช้น้ำและการบริหารจัดการการกระจายนน้ำสำหรับชลประทานขนาดใหญ่ที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทั้งปรากฎการณ์เกาะความร้อนและคุณภาพอากาศ |
268 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนากร สร้อยสุวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม |
269 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิอร สิริมงคลเลิศกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ |
270 | นายชัยยุทธ นนทะโคตร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาศาสตร์การเกษตร |
271 | อาจารย์วุฒิกร สระแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตอาหารสัตว์................. เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสัตว์ ... |
272 | นายภูริงพงศ์ จิตรมะโน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี | การเลี้ยงโคนม |
273 | ผศ.ดร. ประเทือง โชคประเสริฐ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การพัฒนากรรมวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีการอาร |
274 | ดร.พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | เทคโนโลยีอาหารการพาสเจอร์ไรส์ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร |
275 | นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ |
276 | ผศ.ดร.กมลพร ปานง่อม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | เทคโนโลยีพลาสมา การใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อเพิ่มคุณภาพของเมล็ดพันธุ์พริก |
277 | ดร. น้ำฝน รักประยูร | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | เทคโนโลยีการแปรรูปแป้ง |
278 | ดร.พิชิตร์ วรรณคำ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การจัดการพัฒนาพันธุกรรม ไก่ชน สตูรอาหารไก่ต้นทุนต่ำคุณภาพสูงและการคำนวณสูตรอาหารปริมาณที่เหมาะสมกับช่วงอายุไก่ |
279 | ผศ.ดร.สุรพงษ์ ทองเรือง | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ การผสมเทียมโคและสุกร การจัดการฟาร์มสุกร เช่น การจัดการสุกรเล้าคลอด การจัดการลูกสุกร |
280 | ดร.รรินธร ธรรมกุลกระจ่าง | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการผลิตคอลลาเจนและเจลาตินของหนังและเกล็ดปลานิล |
281 | ผศ.ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เทคโนโลยีการผลิตข้าวก่ำลืมผัวปลอดภัยด้วยระบบ GAP |
282 | ผศ.ดร.วรศิลป์ มาลัยทอง | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การจัดการระบบปศุสัตว์อินทรีย์ การผลิตสัตว์ปีก |
283 | นางสาววีรนันท์ ไชยมณี | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ สารสกัดจากธรรมชาติในการประยุกต์ใช้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โรคผึ้งและไรศัตรูผึ้ง |
284 | นาย เอกมินทร์ ยีเด็ง | วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี | มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า |
285 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | 1. ธุรกิจที่มีอนาคต ในยุคสังคมเปลี่ยนแปลง New normal 2. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรและอาหารในยุคดิจิทัล 3. การตลาดและการปรับตัวสินค้าเพื่อให้มีศักยภาพในตลาดไทยและอาเซียน |
286 | นาย สุลกิฟลี แวกะจิ | วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี | มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า |
287 | อ.ดร.รัฐพล แสงระยับ | มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง | 1.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง 3.การอบแห้งอาหาร 4.การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร |
288 | อ.ดร.นิรมล สันติภาพวิวัฒนา | มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง | การยืดอายุการเก็บรักษาดอกไม้โดยใช้เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการจัดดอกไม้ |
289 | ปิยะพงษ์ อะสะนิธิ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | วัสดุศาสตร์และวัสดุนาโน เช่น แกรฟีน |
290 | ดร.สมยศ เด่นจิตเจริญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เทคโนโลยี ทินฟิล์ม, สูญญากาศ การสังเคราะห์วัสดุนาโน ซิงค์ออกไซด์ งานควบคุม |
291 | ผศ.ดร.จิตรา เกตุแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การปรับปรุงคุณภาพอัญมณี งานอัญมณีและเครื่องประดับ การเคลือบฟิล์มบาง แก้วและวัสดุทางแสง |
292 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน พร้อมถ่ายทอด |
293 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์หยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหอย |
294 | นายสนอง กลิ่นเกษร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เครื่องวัดมุมสัมผัส(Contact angle) |
295 | ดร.กรกันยา ประทุมยศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | - Expertise on solid-phase peptide synthesis (SPPS), cell culture and siRNA transfection assay - Extensive experience in determining the encapsulation and the organization of molecules in molecular level. |
296 | ธานินทร์ นิ่มแสง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การทดสอบวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าด้วยเครื่อง four point probe, การวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าของกระจกเคลือบ ITO เพื่อนำวัสดุที่ได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานในการใช้ในวิสาหกิจชุมชน |
297 | ผศ. ดร.วีรพล จีรจริต | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การประมวลผลภาพ การประมวลผลสัญญาณ และการรูปจํารูปแบบ |
298 | นางสาวเจิมขวัญ ศรีสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | 1. เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (สิ่งทอ) 3.การย้อมสีธรรมชาติ (สิ่งทอ) 4.การเลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่(สิ่งทอ) |
299 | ผศ.วันดี แก้วสุวรรณ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การแปรรูปกล้วยและแป้งกล้วยและผลิตภัณฑ์, การแปรรูปผักและผลไม้ |
300 | นางจีราภรณ์ สังข์ผุด | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและเครื่องสำอาง |
301 | นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ |
302 | นางจิตตะวัน กุโบลา | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร |
303 | นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม |
304 | นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) การจัดการสิ่งทอ การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) การจัดการสิ่งทอ การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo) การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ |
305 | นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์ |
306 | นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์ |
307 | นางสาวสุวรรณา จันคนา | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี |
308 | นางสุภาพร ชื่นชูจิตร | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | ตรวจสุขภาพ การนวดแผนไทย และการจัดการเกี่ยวกับสุขภาพ |
309 | อาจารย์พลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ |
310 | รศ.ดร.จตุพร แก้วอ่อน | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | วิศวกรรมเครื่องกล เน้นศาสตร์ทางด้านการถ่ายเทความร้อน อุณหพลศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหล |
311 | นางสาวเบ็ญจวรรณ บัวขวัญ | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | การบูรณาการภูมิปัญญาเพื่อเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (การนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ และการสร้างสรรค์สิ่งเหลือใช้จากงานเกษตร งานหัตถกรรม มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อม |
312 | รศ.ดร.สรพงค์ เบญจศรี | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | สาขาวิชาพืชศาสตร์ |
313 | นาง ปาจรีย์ เรืองคล้าย | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | การวิเคราะห์ทางจุลินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น |
314 | อ.ดร.นิชากร พันธ์คง | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
315 | อาจารย์นิดา นุ้ยเด็น | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | ด้านแพทย์แผนไทย |
316 | ดร.นเรศ ฉิมเรศ | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | - ระบบทางด้านของไหลและความร้อน เทอร์โมไดนามิกส์ กลศาสตร์ของไหล และการถ่ายเทความร้อน |
317 | นายไชยวัฒน์ ไชยสุต | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | เทคโนโลยีเภสัชกรรม,เภสัชวิเคราะห์,โภชนาเภสัชภัณฑ์,เวชสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร,น้ำหมักชีวภาพเพื่อการบริโภค โพรไบโอติก พรีไบโอติก |
318 | นายทวีชัย นิมาแสง | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร การแปรสภาพ แปรรูปผลผลิตเกษตร การออกแบบเตาอบใช้ฟืนและท่อแลกเปลี่ยนความร้อนสำหรับผลผลิตเกษตร |
319 | นายสมชาย จอมดวง | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร - ระบบคุณภาพของอุสาหกรรมอาหาร ได้แก่ GMP,HACCPและISO22000 |
320 | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและผลผลิตทางการเกษตร โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์หยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สังข์สุวรรณ |
321 | นายณัฐอมร จวงเจิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ |
322 | ดร.ปิยมาสฐุ์ ตัณฑ์เจริญระตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีก |
323 | ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์สวยงาม และสุกร |
324 | นายสมเกียรติ ตันตา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก แลกบ เป็นต้น |
325 | นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | งานเชื่อท งานโลหะไฟฟ้า |
326 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช สังข์อยุทธ์ | มหาวิทยาลัยมหิดล | กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา การสร้างกระบวนการกลุ่ม การสำรวจข้อมูล |
327 | นายชัยธวัช จารุทรรศน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การผลิตเห็ดแบบครบวงจร |
328 | ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม | มหาวิทยาลัยมหิดล | การใช้เครื่องมือขั้นสูงในงานเคมีวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก โลหะเป็นพิษในตัวอย่างดิน น้ำ อาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
329 | ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม | มหาวิทยาลัยมหิดล | การใช้เครื่องมือขั้นสูงในงานเคมีวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก โลหะเป็นพิษในตัวอย่างดิน น้ำ อาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
330 | อาจารย์เนติยา การะเกตุ | มหาวิทยาลัยมหิดล | การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช |
331 | นายณัฐอมร จวงเจิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การพัฒนาพืชสมุนไพร ด้านสุขภาพ และความงาม |
332 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท | มหาวิทยาลัยมหิดล | Horticultural Crop Production, Environmental Control Engineering, Modelling and Simulation of Plant Response, Plant Factory and Plant Propagation, Bioremediation |
333 | นางสาวพอหทัย ซุ่นสั้น | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ออกแบบลวดลาย ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่ง |
334 | ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม |
335 | ดร. สุภาวดี แช่ม | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์ |
336 | นางสาวจิราพร เกียรตินฤมล | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การออกแบบเชิงสร้างสรรค์แบบทันสมัย |
337 | นายพงษ์ศักดิ์ นาใจคง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | 1.การแปรรูปกล้วยฉาบ กล้วยเบรกแตก, การทำขนมข้าวเกรียบ 2.การออกแบบและสร้างเครื่องจักรแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร (เครื่องฝานกล้วย, เครื่องอัดแผ่นขนมข้างโป่ง, เครื่องซอยก้อนขนมข้าวเกรียบ เครื่องซอยสมุนไพร ฯลฯ) 3.การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพ สำหรับครัวเรือน หรือเกษตรกรรายย่อย |
338 | ผศ.ดร.เฉลิมพล เยื้องกลาง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การเลี้ยงสัตว์ ระบบการเลี้ยงสัตว์ การจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าในการเลี้ยงสัตว์ |
339 | นายจตุรวิทย์ อารีย์ | วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี | การออกแบบโปรแกรมทัวร์ |
340 | นายชินตะวัน บรรโล | วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี | การสร้างงานศิลปะ ภาพวาด 3 มิติ |
341 | นางปาริชาติ ณ น่าน | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ |
342 | ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ |
343 | นางสาวศิริพร อ่ำทอง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด |
344 | รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล |
345 | รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช |
346 | ดร.ชยานนท์ สวัสดีนฤนาท | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (สิ่งแวดล้อม) วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.S. (Environmental Engineering) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Molecular Biosciences and Bioengineering) - ด้านเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ - ด้านเทคโนโลยี biorefinery - ด้านเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียและของเสีย - ด้านเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน - ด้านมลพิษทางอากาศ PM 2.5 |
347 | ผศ.นภา ขันสุภา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา |
348 | ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว) |
349 | ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์ข้าว |
350 | รศ.ดร.จานุลักษณ์ ขนบดี | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์พืชผัก |
351 | นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์พืชผัก |
352 | ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา |
353 | นายธิติวัฒน์ ตาคำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การออกแบบผังภาค |
354 | นาย ทวีสิน ปัญญาสีห์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การออกแบบวางผังการจัดสวน |
355 | ดร.อนิรุทธิ์ รักสุจริต | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วัสดุนาโน -ชีววัสดุ -เซรามิก -วัสดุผสมนาโน |
356 | ผศ.ดร สุภาพร สุทิน | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาจากสาหร่ายทะเลสีน้ำตาล(สาหร่ายทุ่น) |
357 | ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช |
358 | อาจารย์โอปอล์ รังสิมันตุชาติ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ |
359 | ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ ชุมแสง | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | ถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการจัดการเกษตรให้มีคุณภาพ การขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เชื้อราไตรโคเดอร์มาและวิธีการใช้งานกับพืชแต่ละชนิด เทคโนโลยีการ ผลิตสับปะรดทั้งในและนอกฤดู |
360 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจษฎา แก้วฉาย | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | การจัดสวนภูมิทัศน์ /การออกแบบภูมิทัศน์ |
361 | ดร.สิริลักษณ์ สินธุพาชี | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การศึกษาการสกัด สารสกัด วัฏจักร และการวิเคราะห์ สมุนไพร |
362 | ดร.พัชรี สุเมโธกุล | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การจัดการท่องเที่ยว การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การเขียนโครงการและวิจัย |
363 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยะ จันทร์แก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การเพาะพันธุ์ปลา คุณภาพน้ำ การเลี้ยงปลา |
364 | อาจารย์ ดร.พจนีย์ แสงมณี | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง การตรวจวิเคราะห์ดินและการใช้ปุ๋ยอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การขอมาตรฐานทางการเกษตร |
365 | อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม |
366 | ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต |
367 | ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ |
368 | อาจารย์พีรวิทย์ โชคเหมาะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | Foundry Engineering |
369 | ผศ.ดร.กฤษณะพงศ์ พันธ์ศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | เทคโนโลยีการสื่อสารทั้งแบบไร้สายและมีสายโดยใช้การออกแบบวงจรรวมดิจิทัล |
370 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย สังข์ผุด | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน้ำมันและสมุนไพร วิธีการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีสามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน รวมถึงการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ในการผลิตเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ |
371 | อรุณศักดิ์ ไชยอุบล | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | เครื่องกรองน้ำ แก๊สชีวภาพ เครื่องอัดถ่าน ปุ๋ย |
372 | รศ.ดร.ฤทธิชัย พิลาไชย | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ |
373 | ดร.วิบูล เป็นสุข | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | เทคโนโลยีการผลิตพืช การปรับปรุงพันธุ์พืช |
374 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | 1. เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย 2. การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) สำหรับการผลิตแป้งข้าวและขนมจากแป้งข้าว |
375 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุรีภรณ์ นวนมุสิก | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย |
376 | ผศ.ดร.สำเริง นราแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุธรรมชาติ |
377 | อ.ดร.ศิวัช ตั้งประเสริฐ | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | ถ่านกัมมันต์ การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุธรรมชาติ |
378 | อ.ดร.วิภานุช ใบศล | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ |
379 | ผศ.ดร.วีรนุช คฤหานนท์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ |
380 | นายยงยุทธ ศิริศรีเพ็ชร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | - งานตรวจสอบทางวิศวกรรมด้านงานโยธา - งานตรวจสอบวัสดุ คุณสมบัติวัสดุ - งานตรวจและควบคุมงานก่อสร้าง - งานตรวจผลิตภัณฑ์ มผช. - งานตรวจเครื่องดนตรีไทย |
381 | ผศ. ปัทมา อภิชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การเตรียมชิ้นงานศึกษาโครงสร้างจุลภาคและทดสอบเชิงกลทางโลหะวิทยา |
382 | อ.ฉัตรสุดา มาทา | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ |
383 | อ.ชิสาพัชร์ ชูทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ |
384 | อ.เกรียงศักดิ์ สิงห์แก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เป็นการต่อยอดการแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และแก้วมังกร เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ โดยนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาแปรรูปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น กวน/หยี/ลอยแก้ว/น้ำพร้อมดื่ม/แยม/น้ำพริก/ชาสำหรับชงดื่ม/ไซเดอร์/ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น |
385 | นายธนพงศ์พันธ์ หมื่นโท่น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การวางแผนจัดทำโรงเรือน หมู่บ้าน Smart Village |
386 | อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล ดร.กัมปนาถ เภสัชชา อ.บงกชไพร | มหาวิทยาลัยนครพนม | นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัยครบวงจร 1.เทคโนโลยีการผลิตมันหมักยีสต์ให้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ธาตุและอาหารอัดก้อนโปรตีนสูงต้นทุนต่ำ 3.เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อคุณภาพ |
387 | ผศ.พงษ์ศักด์ ทรงพระนาม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เป็นการต่อยอดการแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และแก้วมังกร เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ โดยนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาแปรรูปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น กวน/หยี/ลอยแก้ว/น้ำพร้อมดื่ม/แยม/น้ำพริก/ชาสำหรับชงดื่ม/ไซเดอร์/ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น |
388 | ดร.ตรี วาทกิจ ผศ.ดร.หทัยกาญจน์ กกแก้ว | มหาวิทยาลัยนครพนม | 1.การทำพรีไบดอติกจากสัปปะรดท่าอุเทน 2.เทคโนโลยีการทำอาหารเกี่ยวข้องใน 3.ผลิตภัณฑ์จากปลายข้าวไรเบอร์รี่ 4.การผลิตขนมขบเคี้ยว 5.เทคโนโลยีการผลิตไวรน์ 6.การปลูกเห็ด |
389 | ผศ.ดร.ชินานาฏ วิทยาประภากร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การแปรรูปผลภัณฑ์จากสมุนไพร |
390 | น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ | มหาวิทยาลัยนครพนม | การผลิตปุ๋ยไส้เดือน 1. วิธีการผลิตปุ๋ยจากมูลไส้เดือน 2. วิธีการดูแลรักษา 3. การประยุกต์ใช้ปุ๋ยจากมูลไส้เดือนกับพื้นที่การเกษตร |
391 | ดร.ณภัทร อินทนนท์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | การออกแบบการทดลอง, การทดสอบการสึกหรอ,การออกแบบและผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก |
392 | อาจารย์วรัญญา ฐานะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ |
393 | ดร.นวรัตน์ พรหมอุปถัมภ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ |
394 | ดร. สุภาวดี สำราญ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด |
395 | อาจารย์นนทนันท์ พลพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การประยุกต์ใช้งานระบบไฟฟ้าเพื่อการเกษตร การอบแห้งด้วยลมร้อน |
396 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา พีรกมล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2.การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด |
397 | อาจารย์รชยา พรมวงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การออกแบบปรับปรุงสถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์ |
398 | อาจารย์ ดร.ปภาภร จันทะวงศ์ฤทธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การวิเคราะห์ความบกพร่องทางโครงสร้างผลึกของวัสดุสารกึ่งตัวนำด้วยเทคนิค TEM การทำเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเปลือกผลไม้ |
399 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฺ ดร.คู่ขวัญ จุลละนันทน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | สัตวศาสตร์/การพัฒนาอาหารสัตว์ |
400 | ดร.ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1.เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ 2.เทคโนโลยีการเกษตรการผลิตอาหารสัตว์ต่างๆๆๆ |
401 | อาจารย์ ดร.คณิน บรรณกิจ | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การผลิตอาหารโคเนื้อ |
402 | อ.ดร.กนก เชาวภาษี | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - เทคโนโลยีเทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงและการคัดเลือกสายพันธุ์ - เทคโนโลยีการสร้างโรงเรือนที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่เบตง - เทคโนโลยีการผสมเทียม และเก็บน้ำเชื้อไก่เบตง - การสร้างตู้ฟักไข่ |
403 | อาจารย์สุนีย์ ตรีมณี | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - การบริหารจัดการฟาร์มไก่เบตง - เทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงเชิงพานิชย์ - การใช้สมุนไพรเพื่อการเลี้ยงไก่เบตง |
404 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัญญรินทร์ สมพร | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | สรีรวิทยาพืช เทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ การจัดการและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตข้าว |
405 | นายนิรันดร หนักแดง | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - เทคโนโลยีการตัดแต่งซากแพะ เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อแพะ - เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะเพื่อเพิ่มมูลค่า ด้วย วทน. - เทคโนโลยีการเพิ่มรสสัมผัสปรุงแต่งเนื้อแพะ ด้วย วทน. - เทคโนโลยี กระบวนการผลิตเพื่อ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ที่ได้มาตรฐานฮาลาล - กระจัดการวางแผนกระบวนการตลาดและการจัดจำหน่าย |
406 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สว่าง กุลวงษ์ ตำแหน่ง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | การเลี้ยงสัตว์และกระบวนการผลิตสัตว์ปีก |
407 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาสินี ครุฑธกะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | การผลิตสัตว์ปีกและกระบวนการเลี้ยงสัตว์ปีก |
408 | อาจารย์นายศรุติวงศ์ บุญคง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1.การผลิตก๊าซชีวภาพระดับครัวเรือน 2.การเลี้ยงโคและกระบือ |
409 | อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน |
410 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ซารีนา สือแม | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - มาตรฐานฟาร์มแพะเนื้อ และแพะนม |
411 | อาจารย์ ดร.นิฟารีซา เจ๊ะเล๊าะ | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | การผลิตสัตว์นำ้ |
412 | นายเฉลิมชัย ทิพยัค | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เชี่ยวชาญในด้านการเเปรรูปผลิตภัณฑ์จากเนื้อ เพื่อเพิ่มมูลค่าโดยผ่ายกระบวนการต่างๆ และการตัดเเต่งซากเนื้อ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับชิ้นส่วนของเนื้อ |
413 | อาจารย์ณัฐพัชรากานต์ แก้วพลอย | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ปีก |
414 | อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - เทคโนโลยีการผลิตผักไร้สารพิษ |
415 | อาจารย์ ดร.สรรเพชญ นิลผาย | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การพัฒนาเพื่อการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน /ฺBIO sensor |
416 | อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - เทคโนโลยีขั้นสูงสำหรับการผลิตพืช |
417 | นายบัญชา รัตนีทู | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เชี่ยวชาญในเรื่องของการปรับปรุงสภาพดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการลดการใช้ปุ๋ยเคมี |
418 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน |
419 | นายบรรลือ กิจกำจรกุล | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เชี่ยวชาญในเรื่องของการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑฎ์จากนมแพะเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่า |
420 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนสัณฑ์ เทพรัตน์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย การออกแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น |
421 | อาจารย์รุ่งโรจน์ ยิ่งสง่า | มหาวิทยาลัยบูรพา | งานทางด้านการผลิตเครื่องประดับ งานหล่อโลหะ งานทำต้นแบบเครื่องประดับ งานรูปพรรณ |
422 | ผศ.สุภารีย์ เถาว์วงศ์ษา | มหาวิทยาลัยบูรพา | การออกแบบอัญมณีและเครื่องประดับ / เครื่องประดับไทย / การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ |
423 | ดร.มะลิวัลย์ คุตะโค | มหาวิทยาลัยบูรพา | การบำบัดไนโตรเจนในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ โดยใช้จุลินทรีย์,เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็ก |
424 | ผศ.ดร.มลฤดี สนธิ | มหาวิทยาลัยบูรพา | วัคซีนปลา,ภูมิคุ้มกันปลา,โรคปลา,โรคและภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ |
425 | ดร.ภควรรณ เศรษฐมงคล | มหาวิทยาลัยบูรพา | ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล, การเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่ |
426 | นางปรารถนา ควรดี | มหาวิทยาลัยบูรพา | เพาะเลี้ยงหอยหวาน เพาะเลี้ยงปลาสวยงามในแนวปะการัง เพาะขยายปะการังแบบไม่อาศัยเพศ ระบบหมุนเวียนน้ำ |
427 | ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต | มหาวิทยาลัยบูรพา | โรคและระบบภูมิคุ้มกันในสัตว์ทะเล,การวินิจฉัยโรคพาราสิตและการรักษาโรคปลาทะเล,พาราสิตในปลาทะเลและหอย |
428 | นายธนกฤต คุ้มเศรณี | มหาวิทยาลัยบูรพา | การดูแลสัตว์น้ำ |
429 | ดร.วรเทพ มุธุวรรณ | มหาวิทยาลัยบูรพา | การเลี้ยงสัตว์น้ำในระบบน้ำหมุนเวียน (Recirculating aquaculture systems) การเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลสวยงาม (Marine ornamental organisms breeding and culture) คุณภาพน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ(Water quality and management in aquaculture) |
430 | ดร.ชุติวรรณ เดชสกุลวัฒนา | มหาวิทยาลัยบูรพา | การศึกษาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล สารออกฤทธิ์ชีวภาพ สารรงควัตถุชีวภาพ และสารอื่นๆที่น่าสนใจ จากแบคทีเรียทะเล,ความหลากหลายของแบคทีเรียทะเล นิเวศวิทยาของจุลชีววิทยาทางน้ำ และ |
431 | ดร.วรรณภา กสิฤกษ์ | มหาวิทยาลัยบูรพา | ด้านโรคสัตว์น้ำ , พันธุศาสตร์เซลล์สัตว์น้ำ |
432 | ดร.นพ.เกษม ใช้คล่องกิจ | มหาวิทยาลัยบูรพา | การออกกำลังกาย ศัลยกรรมกระดูกและข้อ |
433 | อาจารย์ฐิรารัตน์ แก้วจำนง | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องแกง การทำกระหรี่ปั๊บไส้ปลา วัฒนธรรมอาหารและข้อมูลทางโภชนาการของทรัพยากรชีวภาพ |
434 | อาจารย์อุไรวรรณ วันทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | ระบบจัดการน้ำพืชสวน แบบ Smart farming |
435 | รศ.ดร.ศักรินทร์ นนทพจน์ | มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย | เศรษฐศาสตร์ |
436 | ดร.นิศารัตน์ ทิพยดารา | มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย | เพาะเลี้ยง |
437 | นางมาเรียนา แนกาบาร์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | แปรรูปเป็นขนม อาหาร เพื่อกินเอง เก็บถนอม และ/หรือเพื่อขาย |
438 | ผศ.ดร.ปุณณาณี สัมภวะผล | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | แปรรูป ข้าวพร้อมทาน แปรรูปเป็นขนม อาหาร เพื่อกินเอง เก็บถนอม และ/หรือเพื่อขา |
439 | ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร |
440 | ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร |
441 | รศ. ดร.โอภาส พิมพา | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | โคเนื้อ โคขุน อาหารโค |
442 | ผศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การผลิตอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น การแปรรูป การตลาด เป็นต้น |
443 | ดร.ไมตรี แก้วทับทิม | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น |
444 | รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน |
445 | รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง |
446 | ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles |
447 | ดร. กฤช ตราชู | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis, |
448 | อาจารย์ ดร.วัชระ แตงเทศ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การบวนการกลุ่ม การทำ Active Learning ด้านการท่องเที่ยว |
449 | นายรัชพล เทพศิริ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | กระบวนการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ |
450 | นางสาวนัสรีนะ เจ๊ะมะ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางฟิสิกส์ให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน |
451 | นางสาวนิสารัตน์ ไปตามหา | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | การนำสมุนไพรท้องถิ่นไล่ยุงแทนการใช้สารเคมี |
452 | นายมนตรี โนนพะยอม | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | พัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร |
453 | ผศ.ดร.รัชนี เพ็ชร์ช้าง | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ชีวภาพ |
454 | ผศ.ดร.ณิชารีย์ ใจคำวัง | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การประเมินผลโครงการ การพยาบาลและสาธารณสุข การวิจัยเชิงคุณภาพ |
455 | นางณัฐรดา ซาเหลา | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรมวัสดุศาสตร์การออกแบบและการผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก |
456 | นายณรงค์ศักดิ์ วิเศษไชย | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | เตาไฟฟ้าประหยัดพลังงาน |
457 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | เทคนิคการ Spray Dryer สินค้าเกษตรและอาหาร การทำงานของเครื่อง Spray Dryer คือการนำตัวอย่างของเหลว (feed) ที่นำมาฉีด ควรมีลักษณะเหลว และไม่ข้นมาก จากนั้นของเหลวจะถูกดูดโดยปั๊มผ่านอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดละอองฝอยคือ atomizer ภายในห้องอบ เมื่อละอองสัมผัสกับอากาศร้อนจะทำให้เกิดการระเหยของน้ำอย่างรวดเร็ว และจะได้ผงของผลิตภัณฑ์ตกลงสู่ด้านล่างของ drying chamber ผงบางส่วนที่หลุดออกมากับอากาศจะถูกแยกโดยใช้ cyclone ซึ่งจะรวมเข้าเป็นผลิตภัณฑ์รวมในที่สุด การนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมักอยู่ในรูปที่พร้อมใช้งานได้เลย และสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและนาน คือการทำให้อยู่ในรูปของแห้ง ส่วนวิธีการที่นิยมใช้ในการทำแห้งวิธีหนึ่งก็คือการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dryer) มักใช้วิธีนี้กับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นมผง ไข่ผง อาหารเด็ก เนื้อวัวสกัด โปรตีนสกัด และผลิตภัณฑ์ยา เช่น ยาผงสมุนไพร เป็นต้น แหล่งอ้างอิง ตูแวอิสมาแอ ตูแวบีรู. 2549. Spray Dryer. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://web.yru.ac.th/~ dolah/ no |
458 | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com |
459 | นายมนตรี โนนพะยอม | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | การออกแบบและพัฒนาเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงปลา ใช้สำหรับการพัฒนานวัตกรรมซอฟต์แวร์ ควบคุมด้วยระบบ Microcontroller |
460 | นายมนูญ รักษาภักดี | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | การประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของช่าง |
461 | ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | -การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) -การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการผลิตขนมอบ |
462 | นายภาณุวัฒน์ ไชยเชษฐ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ด้านฟิสิกส์ |
463 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม |
464 | รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มุสิก | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | -ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Smart farming) - คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส |
465 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม |
466 | นายณรงค์ฤทธิ์ บุตรมาตา | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การเพิ่มมูลค่าส้มจุกผลไม้อัตลักษณ์ |
467 | รศ. ดร.วิชัย หวังวโรดม | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก |
468 | ผศ. ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การพัฒนานวัตกรรมการใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นในการกำจัดศัตรูพืชในนาข้าวอินทรีย์ |
469 | อาจารย์ปิยรัตน์ นาควิโรจน์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - การเลี้ยงผึ้งชันโรง - การแปรรูปน้ำผึ้งและผลผลิตจากชันโรง |
470 | ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | 8. ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น |
471 | Chaleenuch Khonsue | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร |
472 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี ศรีราช | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | การสกัดน้ำมันหอมระเหย รวมไปถึงการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร |
473 | อาจารย์วาสนา แผลติตะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | การผลิตพืชผลทางการเกษตร (Crop) |
474 | นางสาวจินดาพร สืบขำเพชร | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | เทคโนโลยี พลังงานทดแทน แปรรูปผลิตภัณฑ์ สบู่ โลชั่น |
475 | นายอุกฤษฎ์ นาจำปา | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส |
476 | นางเกษร ประทุม | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ |
477 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จารินี ม้าแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | เทคโนโลยีพลังงาน วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
478 | รศ.ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การจัดการโคนม การจัดการโรงงานอาหารสัตว์ (โคนม) การผลิตพืชอาหารสัตว์ |
479 | นายกานต์ คำแก้ว | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | - สถาปัตยกรรมศาสตร์ - โครงสร้าง อาคาร หรือที่อยู่อาศัย - การรังวัดอาคารสถานที่โบราณ |
480 | ดร.เวชสวรรค์ หล้ากาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาพพายัพ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมและการบริหารการก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี วุฒิการศึกษาปริญญาเอก การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - วิศวกรรมโยธา - การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning) - ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) |
481 | ดร.ไกรสร ลักษณ์ศิริ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท Civil Engineering (Structural Engineering), Oregon State University วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Civil Engineering (Structural Engineering), Oregon State University วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Wood Science, Oregon State University ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีก่อสร้าง, วิศวกรรมโยธา |
482 | ดร.เสริมศักดิ์ พงษ์เมษา | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา |
483 | นายลิขิต ยอดยา | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ |
484 | นางปาริชาติ อำนวยพรเลิศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | - การจัดการฐานข้อมูล - การใช้เครื่องมือในการทำธุรกิจออนไลน์ - การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศ |
485 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ ปวนสุรินทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข - การประยุกต์ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ - การประยุกต์ใช้ Good Agricultural Practice |
486 | ดร.ธัญนันท์ ฤทธิ์มณี | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิศวกรรมกระบวนการอาหาร)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารและวัตถุเกษตร การอบแห้ง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว |
487 | ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(เกษตรศาสตร์)มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.(Animal Production), The University of Aberdeen Scotland, UK ความเชี่ยวชาญ การผลิตสัตว์ พฤติกรรมสัตว์ เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการฟาร์มเกษตร การบริหารจัดการการศึกษา การจัดการเกษตรนานาชาติ การจัดการชุมชน |
488 | ดร.นครินทร์ พริบไหว | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - การผลิตสัตว์กระเพาะเดี่ยว - อาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว - วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ - Molecular Genetics |
489 | อัตถ์ อัจฉริยมนตรี | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(พืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(เกษตรศาสตร์เชิงระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ระบบผลิตทางการเกษตร |
490 | ดร.สุพจน์ บุญแรง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาอุคสาหกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก สาขาพัฒนาทรัพยากรชนบท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ความเชี่ยวชาญ - จุลินทรีย์ อุตสาหกรรมการหมัก |
491 | กัญจน์พัชร์ บุญธรานุรักษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ 1. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2. การแปรรูปอาหาร 3. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์ 4. ผลิตภัณฑ์เนื้อ |
492 | นางสาวจีรภัทร พลอยขาว | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | อาหารและโภชนาการ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร |
493 | ดร.อนิตทยา กังแฮ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | แปรรูปอาหาร เครื่องสำอาง การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม |
494 | นางสาวกมลวรรณ สุขสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก |
495 | นางอุไรวรรณ ไกรนรา มูรานิชิ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, โรคติดเชื้อ, ปรสิตวิทยาทางการแพทย์, เทคนิคการแพทย์ ด้านปรสิตทางการแพทย์, โรคติดเชื้อ, ปฏิบัติการชันสูตรทางการแพทย์ |
496 | ดร.สมศักดิ์ ลิ่มวงศกร | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | เทคโนโลยีเครื่องจักร, โลหะวิทยา/วิศวกรรมวัสดุ วิเคราะห์ความแข็งแรงด้วยไฟไรเอลลิเมนท์ของวัสดุ การสร้างขิ้นส่วนเครื่องจักรกล การประกอบด้วยการเชื่อม Cad/cam/cae |
497 | ผศ.นิติญา. สังขนันท์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | วิทยาศาสตร์ทางทะเล, สิ่งแวดล้อม/การจัดการขยะและของเสียอันตราย/ขยะทะเล สอนในด้านนิเวศวิทยาชายฝั่งและทะเล/ทำวิจัยด้านขยะและขยะทะเล |
498 | ดร.นิศากร ตันติวิบูลชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สรีรวิทยา และการประเมินสมรรถภาพ |
499 | ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560) |
500 | ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพชรช่วย | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, การท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ศึกษา |
501 | ผศ.หาญพล มิตรวงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | ไฟฟ้า/วิศวกรรมไฟฟ้า, การจัดการพลังงานและบำรุงรักษาระบบอาคาร ระบบไฟฟ้าพื้นฐาน การจัดการพลังงานไฟฟ้า และการบำรุงรักษาระบบอาคาร |
502 | ผศ.ภูริณัฐ ปลัดสงคราม | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ |
503 | ผศ. ศิวพงศ์ ทองเจือ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, สถาปัตยกรรม, การออกแบบภูมิทัศน์, การวางแผนและออกแบบเมือง / การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน / การออกแบบภูมิสังคมภายใต้แนวคิดศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาบรรพบุรุษ "1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญสถาปนิก เลขที่ ส-สผ. 26 สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับภาคี เลขที่ ภ-สถ. 15729 สาขาสถาปัตยกรรมหลัก (อยู่ระหว่างประกาศผลเป็นระดับสามัญ)" |
504 | นางสาวพัชราวรรณ เก๊อะเจริญ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | สถาปัตยกรรม การออกแบบสถาปัตยกรรม โปรแกรมเขียนแบบ-ออกแบบ การประมาณราคา การนำเสนองานออกแบบ วัสดุก่อสร้าง สถาปัตยกรรม |
505 | ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics) |
506 | นางสาวภคมน กุลนุวงค์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ด้านอาหารว่าง อาหารประเภทของฝาก |
507 | รศ.ดร.ชญานิศ ลือวานิช | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | เทคโนโลยีโรงเรือน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สุขภาพผู้สูงอายุ การพยาบาลผู้ใหญ่ |
508 | ดร.สมพงศ์ บุญศรี | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร |
509 | นางสาวสิรินญา จันทร์ศักดิ์สูง | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | โลหะวิทยา/วิศวกรรมวัสดุ, สมรรถนะ |
510 | ดร.สุธิดา รัตนบุรี | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ "- สกัดสารจากพืชเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ - การศึกษาพฤกษเคมีในพืช - การหาสารออกฤทธิ์จากพืช" |
511 | ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ" |
512 | นางสาวอารยา ข้อค้า | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เภสัชวิทยา และการพยาบาล |
513 | ดร.อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product Chemistry) |
514 | ดร.สัญชัย ยอดมณี | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, เทคโนโลยีกลิ่นรส (Flavour sciences) "1. การวิคราะห์รูปแบบของกลิ่น และรสชาติในอาหาร 2. การวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหาร 3. กระบวนการและเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร" |
515 | ผศ.ดร.ธนา สุทธิบัทม์พงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | (1) การจำลองโมเลกุล (molecular simulation) สำหรับระบบเอนไซม์ พอลิเมอร์ และวัสดุคาร์บอน (2) การออกแบบโมเลกุลยาจากการคัดกรองเสมือน (virtual screening) และเทคนิคเชิงปัญญาประดิษฐ์ (3) การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอุตสาหกรรม |
516 | นายพาณิน พูลจักร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบด้วยเทคนิค X-ray Fluorescence (XRF) |
517 | นางสาวน้ำทิพย์ เรืองดี | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | มีความเชี่ยวชาญการจัดทำมาตรฐานอาหาร ได้แก่ การขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร และการขออนุญาตผลิตอาหาร (ขอเลขสารบบอาหาร / เลข อย.) รวมถึงระบบ GMP, Halal และระบบ HACCP |
518 | ดร. เกรียงไกร วันทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เทคโนโลยีสปัตเตอริงหรือ เทคนิคการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศ กระบวนการนี้ใช้เคลือบฟิล์มได้หลากหลายชนิด เช่น ฟิล์มโลหะ อัลลอย แก้ว เซรามิกส์ ฟิล์มสารกึ่งตัวนำ ในกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ใช้เทคโนโลยี สปัตเตอริง ได้แก่ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดดิสไดรฟ์ ยานยนต์ กระจกอาคาร ใยแก้วนำแสง และเซลล์แสงอาทิตย์, การทดสอบโลหะต่างๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก Data Science Semiconductor Physics, Electronics, Crystal Growth, Thin Film Sputtering, C, Python and R programming, Computational Physics, Data Science, Scintillation Materials and Nuclear Physics, Precious Metals Testing |
519 | เอกภพ เกตุสมบูรณ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | กระบวนการเคลือบฟิล์มบางในระบบสุญญากาศ (PVD, CVD), การประยุกต์ใช้แกรฟินในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (interconnect, inductor, antenna), maskless lithography |
520 | นายธวัชชัย นิ่มพญา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ออกแบบและสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ ชุดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานอิเล็กทรอนิกส์ เพาเวอร์ซัพพลายต่างๆ วงจรควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ สมาร์ทฟาร์ม และเครื่องกลไฟฟ้า |
521 | ผศ. ดร.อภิวัฒน์ วิศิษฏ์สรศักดิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | Computational plasma physics, เทคโนโลยีด้านพลาสมาและพลังงานฟิวชัน, พลศาสตร์ของของไหลและการจำลอง, ทฤษฎีด้านของแข็งและวัสดุอสัณฐาน |
522 | ธนภัทร์ ดีสุวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ฟิสิกส์ทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงสถิติ เทคโนโลยีควอนตัม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
523 | ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา |
524 | ดร. ณัติฐพล ไข่แสงศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | บรรจุภัณฑ์อาหารที่ย่อยสลายได้จากพอลิเมอร์ สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน |
525 | ผศ.ธงเทพ ศิริโสดา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน, เฟอร์นิเจอร์, ออกแบบบรรจุภัณฑ์ |
526 | นายกฤติน วิจิตรไตรธรรม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ แพคเกจจิ้ง กราฟฟิก |
527 | นางสาวรสริน ทักษิณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทั้งสาขาการนวดเพื่อการบำบัด การดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพแบบตะวันตก การแพทย์ทางเลือกต่าง รวมถึงการทำผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงการเป็นที่ปรึกษาการเปิดคลินิก ร้านนวด ร้านสปา เเละสามารถเรียนรู้การจัดตั้งสถานพยาบาลเพื่อสุขภาพในศาสตร์ของการแพทย์แผนไทย |
528 | ผศ. นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ความรู้ทางด้านเวชกรรมแผนไทย ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ด้านหัตถเวชกรรมแผนไทย ทางด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic anatomy หรือ Histology) และด้านผดุงครรภ์แผนไทย เช่น การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักาทางการแพทย์แผนไทย เช่นเครื่องช่วยนวดกล้ามเนื้อ อุปกรณ์วิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสมุนไพร การทดสอบผลิตภัณฑ์ |
529 | นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การดำเนินธุรกิจคลินิกการแพทย์แผนไทย การปลูกพืชสมุนไพรเพื่อการใช้เป็นยา ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางการแพทย์แผนไทย การนำสมุนไพรมาพัฒนา |
530 | ผศ.ดร.ปกรณ์เกียรติ เศวตเมธิกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งประดิษฐ์เพื่อยกระดับเกษตรอัจฉริยะ |
531 | ผศ.ชลดา ปานสง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ระบบควบคุมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ |
532 | ดร. อนันต์ ตันวิไลศิริ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เทคโนโลยีการถ่ายภาพและการพิมพ์ |
533 | นายพิเชษฐ เหมยคำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | การออกแบบสายอากาศบนแผ่นวงจรพิมพ์ |
534 | ดร.สนิทเดช จินตนา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การจัดการธุรกิจชุมชน การจัดการองค์กร การตลาดออนไลน์ การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน สื่อสังคมออนไลน์ |
535 | ผศ.สุพรรณิการ์ ย่องซื่อ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เทคโนโลยีสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีทางภาพและเสียง |
536 | ดร.อภิรัฐ ปิ่นทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | วิศวกรรมชลประทานและการจัดการน้ำ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
537 | ดร.เจนจิรา ฝั้นเต็ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ |
538 | ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย |
539 | นางสาวณัฐธภา สิงห์พลับ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี | การออกแบบภูมิทัศน์ |
540 | ดร.จักรินทร์ ศรีวิไล | มหาวิทยาลัยพะเยา | วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง |
541 | ผศ.ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ | มหาวิทยาลัยพะเยา | อิเล็กทรอนิกส์, การโปรแกรม, ระบบฝังตัวและควบคุมอัตโนมัติ |
542 | นางสาวรุ่งฤทัย รำพึงจิต | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
543 | ดร.ธนภพ โสตรโยม | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การใช้ประโยชน์จากชีวภาพ เพื่อพัฒนาและแก้ไขในการผลิตการเก็บรักษาและเพิ่มมูลค่าองค์รวมให้กับผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการผลิต/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/การเก็บรักษา การยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยว การตลาด/การเขียนแผนธุรกิจ |
544 | สุทธิรักษ์ ผลเจริญ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | 1) ปรับปรุงพันธุ์พืช 2) สรีรวิทยาของพืช 3) เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 4) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร // เกษตรอินทรีย์ 7) ระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ |
545 | มัลลิกา จินดาซิงห์ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | 1) การใช้เครื่องหมาย โมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3) จุลินทรีย์ทางการเกษตร 4) การวิเคราะห์สารสำคัญทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร |
546 | นางสาวสังเวย เสวกวิหารี | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สบู่ และสารทำความสะอาดในครัวเรือน การสกัดกลิ่นจากดอกไม้และสมุนไพรด้วยกระบวนการไฮโดรซอล |
547 | ดร.เกศทิพย์ กรี่เงิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งกาย |
548 | นายนุรักษ์ ไชยศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | - การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - การสร้างแอพพลิเคชั่นบน Mobile Device - การประมวลผลภาพ (Image Processing) |
549 | น.ส.อัชชา หัทยานานนท์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งกาย |
550 | น.ส.ประพาฬภรณ์ ธีรมงคล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งการ |
551 | น.ส.กฤตพร ชูเส้ง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | การตัดเย็บ |
552 | น.ส.สุวดี ประดับ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | การออกแบบ การตัดเย็บ |
553 | นายเกชา ลาวงษา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | แฟชั่นผ้า |
554 | น.ส.มัลลิกา จงจิตต์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | การออกแบบและการตัดเย็บ |
555 | น.ส.ไตรถิกา พิชิตเดช | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | เทคโนโลยีการจัดการสินค้าแฟชั่น |
556 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมศักดิ์ พินธะ | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Cell biology ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารเคมีจากพืช (phytochemicals) - งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและการรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันและไขมันในเลือด - การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพร |
557 | ดร.ศศิธร เพชรแสน | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | ระบบการจัดการผักปลอดภัย และการรับรองมาตรฐาน |
558 | ดร.วลัยลักษณ์ แก้ววงษา | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | การผลิตกระบือแบบครบวงจร |
559 | ดร.ชญานนท์ แสงมณี | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | 1. การผลิตถ่านอัดแท่งและน้ำส้มควันไม้ 2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา |
560 | ดร.ภัทยา นาประเสริฐ | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | การสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า |
561 | นางศศิธร ปรือทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านเคมี, วิทยาศาสตร์ ,เกษตร |
562 | วาสนา สิงห์ดวง (ชัยเสนา) | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านเคมีชีวภาพ วิทยาสาตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม |
563 | นางสาวสุกัญญา ทับทิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านพลังงาน, วิจัยชั้นเรียน |
564 | นางสาวสุจิตรา เรืองเดชาวิวัฒน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชายด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ |
565 | ดร.วิศรา ไชยสาลี | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ | การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ |
566 | อพิศรา หงส์หิรัญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านชีววิทยาประมง |
567 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ระบบน้ำหมุนเวียน การกำจัดของเสียZero Waste สรีรวิทยาสัตว์น้ำ ระบบคุ้มกันโรคกุ้ง การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อการประมง |
568 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา สว่างอารมย์ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ ระบบน้ำหมุนเวียน การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อการประมง |
569 | ดร.ณัชพัฒน์ สุขใส | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | วิทยาศาสตร์ทางทะเล ด้านชีววิทยากุ้ง ปู และหอยทะเล เครื่องมือประมง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากทรัพยากรทางทะเล การสตาร์ฟสัตว์น้ำ |
570 | นายวิทยา พรหมพฤกษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์ |
571 | ดร.ฐิระ ทองเหลือ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ออแกนิค ไทยแลนด์ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ กระบวนการผลิตพืชอินทรีย์ การพัฒนาชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง |
572 | ดร.จุฑามาส เพ็งโคนา | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การท่องเที่ยว การพัฒนาหลักสูตรเพื่อชุมชน การตลาดออนไลน์ |
573 | อาจารย์ปณิดา กันถาด | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก |
574 | ธีรพัชส ประสานสารกิจ | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ | smart technology. เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่ ระบบติดตามสิ่งแวดล้อมและควบคุมระบบน้ำอัจฉริยะ smart iot |
575 | ดร.ลภัสรดา มุ่งหมาย | มหาวิทยาลัยพะเยา | Microbiology and cosmetic science ที่ปรึกษาเวชสำอางแก้สิวจาก ใบมะม่วง คว้ารางวัล Special Awardจากไต้หวัน เกาหลีและอียู link : http://www.pharmacy.up.ac.th/PHAR1/ |
576 | นางกฤติมา อนัดคะทัด | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | ไฟฟ้า/วิศวกรรมไฟฟ้า ระพบบชควบคุมไฟฟ้า การจัดการพลังงานไฟฟ้า |
577 | นายเลิศสุวัฒน์ โยมะบุตร | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | ไฟฟ้า/วิศวกรรมไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าพื้นฐานการจัดการพลังงานไฟฟ้า การบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าในอาคาร และระบบควบคุมไฟฟ้า |
578 | รองศาสตราจารย์ ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | 1.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 2.อะโรมาเธอราพี 3.อาหารสุขภาพ |
579 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพัตรา พูลพืชชนม์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | ๑. การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ๒. การจัดการสถานที่ผลิตตาม GMP ๓. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มผักผลไม้ ๔. การวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบ |
580 | ผศ.ปราถนา ศิริสานต์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | ออกแบบและดีไซน์สื่อประชาสัมพันธ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น graphic ออกแบบบรรจุภัณฑ์ Design |
581 | ผศ.ขนิษฐา ไชยแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก |
582 | ผศ.สุดารัตน์ สุตพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก |
583 | ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ |
584 | นายคารม นันตื้อ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | การผลิตและกาสรจัดการอุตสหกรรม วัสดุศาสตร์การออกแบบและการผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก |
585 | นายธีระวิสิฏฐ์ ประเสริฐสิน | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | วิศวความปลอดภัย วัสดุศาสตร์ การออกแบบและผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก แลการประกอบด้วยการเชื่อม |
586 | นายอนุชิต เสตะ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | วิศวกรรมวัสดุ วัสดุศาสตร์ วิศวความปลอดภัย การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม และการประกอบด้วยการเชื่อม |
587 | ดร.ธนัช มหาสินทรัพย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | ปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ ปริญญาโท สาขาการสอนภาษาไทย ปริญญาตรี สาขาภาษาไทย สาขาประถมศึกษา ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านการบริหารการศึกษา - การวิจัยด้านการจัดการศึกษา |
588 | ผศ.ดร.ศุภฤกษ์ ธาราพิทักษ์วงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | ปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านบริหารธุรกิจ |
589 | รศ.บุษบา หินเธาว์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | การประชาสัมพันธ์ การตลาด สร้างแผนกลยุทธ์การสื่อสาร |
590 | ดร.พีรพงศ์ งามนิคม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food |
591 | ดร.อมราวดี คำบุญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยว ท่องเที่ยวนวัตวิถี การบริหารจัดการการท่องเที่ยวชุมชน |
592 | ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ |
593 | อาจารย์สงบ ศรีเมือง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | มีความเชี่ยวชาญด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ รวมถึงเชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสาหร่าย แพลงก์ตอน |
594 | ผศ.ดร.บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำด้านการเพาะเลี้ยงพืชน้ำ ด้านสิ่งแวดล้องทางประมง |
595 | ผศ.ดร.ประภาภร ดลกิจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | |
596 | นายทองมี เหมาะสม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านการส่งเสริมการเกษตร ด้านบริการวิชาการกลุ่มชุมชน ด้านการผลิตพืช |
597 | ผศ.อรสุชา อุปกิจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เชี่ยวชาญด้านสื่อโฆษณา ด้านการตลาด เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อทำสื่อโฆษณา ด้านการประชาสัมพันธ์ |
598 | อาจารย์ลัดดาวัลย์ ชูทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยและการบริหารธุรกิจ |
599 | ผศ.ดร.กมลมาลย์ วิรัตน์เศรษฐสิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การสร้างเสริมสุขภาพ ดุลยภาพชีวิต |
600 | ดร.เยาวลักษณ์ พิพัฒน์จำเริญกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การพัฒนาสื่อสารสนเทศ |
601 | ดร.มธุรส ผ่านเมือง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านการพัฒนาเว็บไซส์ การพัฒนาแอพพลิเคชั่น |
602 | ผศ.ภูรินทร์ อัครกุลธร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การเพาะพันธุ์ และการขยายพันธุ์พืช และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
603 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรีประไพ จุ้ยน้อย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม333 |
604 | ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ โรจน์วิรุฬห์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | |
605 | ดร.ศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและการสร้างแบรนด์เครื่องแต่งกาย |
606 | รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | polymer colloids, controlled/living radical polymerization in dispersed systems |
607 | ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | เทคโนโลยรีะบบการให้น้ำพืชแบบอัจฉริยะและแม่นยำ |
608 | ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | 1. อาหารปลอดภัย 2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 3. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 4. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ |
609 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนิตชยา พุทธมี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | ๑. การเก็บรักษาในสภาพควบคุมบรรยากาศและสภาพบรรยากาศดัดแปลง ๒. Structure and transpiration of netted melon fruit ๓. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มผักผลไม้ |
610 | อาจารย์ มาโนช รัตนคุณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | ๑. การวิเคราะห์สารอินทรีย์ ๒. การสกัดสารสำคัญในพืชและสมุนไพร |
611 | นางสาวเพ็ญพรรณ โกมลมิศร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางการตลาด |
612 | ดร.ทัศนีย์ ธรรมติน | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่มาตรฐานเกษตร เช่น GAP หรือ Organic |
613 | นายนเรศ ใหญ่วงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์ |
614 | ดร.ชฎาพัศฐ์ สุขกาย | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | ความเชี่ยวชาญการจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยว การเพิ่มคุณค่าและมูค่าผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์สินค้าของที่ระลึก และการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวและชุมชนท่องเที่ยว |
615 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัญ คนแรง | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือร่วมกับการใช้เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน และระบบอัตโนมัติที่เหมาะสมกับความต้องการของชุมชนหรือผู้ประกอบการ |
616 | ธันวา เอี่ยมงาม | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร |
617 | อาจารย์ วชิราภรณ์ เรือนแป้น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | ๑.เกษตรอินทรีย์ ๒.การปลูกพืชแบบวนเกษตร ๓.การจัดการดินเพื่ออาหารปลอดภัย ๔.การผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ |
618 | ผศ.ดร. เสรี ปานซาง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | ด้าน วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ด้าน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน ระบบอินเทอร์ประสานสรรพสิ่ง (IoT) |
619 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น |
620 | อาจารย์ ดร. ยุภา ปู่แตงอ่อน | มหาวิทยาลัยศิลปากร | ด้านเคมีภัณฑ์ธรรมชาติ เคมีเกษตร การวิเคราะห์สาร การศึกษาสังเคราะห์และพัฒนายา |
621 | อาจารย์ ดร. วัชรา ปิ่นทอง | มหาวิทยาลัยศิลปากร | ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท |
622 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี | มหาวิทยาลัยศิลปากร | การผลิตสัตว์ปีก การผลิตสุกร โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง การผลิตอาหารสัตว์และโรงงานอาหารสัตว์การวิจัยด้านการผลิตสัตว์ในระบบอุตสาหกรรม |
623 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ | มหาวิทยาลัยศิลปากร | วิชาการเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (วิทยาศาสตร์เนื้อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร) และเกษตรเชิงระบบ |
624 | ผศ.ดร.ปิยพร ศรีสม | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | 1. การตั้งตำรับเครื่องสำอาง-เวชสำอางจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อควบคุมคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ |
625 | ดร.พันธ์ลพ สินธุยา | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ |
626 | ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร |
627 | ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร |
628 | นางสาวนงคราญ มหาวัง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท บธ.ม.บริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ 1.วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2.วิศวกรรมอาหาร 3.บริหารธุรกิจ 4.มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ |
629 | อาจารย์วรพล วัฒนเหลืองอรุณ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศ.บ. (อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ การท่องเที่ยว การโรงแรม ด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้าน การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ด้าน เทคนิคการผสมเครื่องดื่ม ด้าน การท่องเที่ยววิถีชุมชนบนพื้นฐานศาสตร์พระราชา ด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้าน การเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ |
630 | อาจารย์กริช สอิ้งทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี บธ.บ. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยพายัพ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ด้าน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้าน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน |
631 | ดร.บังอร ฉัตรรุ่งเรือง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี อ.บ. (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วุฒิการศึกษาปริญญาโท MSBA. (Honors) (General Management) Strayer University, Washington, D.C., U.S.A. วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Hospitality, Tourism and Marketing) Victoria University of Technology, Australia ความเชี่ยวชาญ การท่องเที่ยว |
632 | นายอรรถพล พรหมทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การออกแบบเว็ปไซต์ การพัฒนาโปรแกรม การออกแบบกราฟ ฟิคและสื่อโฆษณาต่างๆ |
633 | ดร.อถิชัย จันทร์อุดม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การสร้างภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิก และการ ถ่ายภาพสินค้าและการตกแต่งภาพเพื่อการตลาดออนไลน์ สร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ ออกแบบและพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม |
634 | ผศ.ดร.อวยพร วงศ์กูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การใช้สารเคลือบเส้นใย การป้องกันเชื้อราในเส้นใย การใช้สาร ฟอกสีเส้นใย โดยมุ่งเน้นกรรมวิธีที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ครื่องสําอางค์และกระบวนใช้สมุนไพรในการผลิตเครื่องสําอางค์ การให้คําปรึกษาด้าน ส่วนผสม ขั้นตอนการผลิต การยืดอายุ และการเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม |
635 | ดร.เพียงออ ยี่สา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม |
636 | ผศ.ดร.สมคิด ชัยเพชร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด และการเกษตรทุกรูปแแบบ |
637 | ผศ.ธรรมศักดิ์ พุทธกาล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเกษตร เทคโนโลยีไม้ดอก ไม้ผล ทุกชนิด |
638 | อาจารย์บุญธรรม แสงแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเลี้ยงโคพื้นบ้าน โคขุน โคเนื้อ |
639 | อาจารย์เกวลี ชัยชาญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การทดสอบฤทธิทางกายภาพและชีวภาพของสมุนไพร การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพร การแยก กระบวนการผลิตเครื่อง สําอางค์ผสมสมุนไพร การผลิตสบู่แบบ cold process สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร |
640 | ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช |
641 | อาจารย์ธวัชชัย ชาติตำนาญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม |
642 | อาจารย์จักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม |
643 | ผศ.สุรสิทธิ์ ประกอบกิจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | งานไฟฟ้า |
644 | สพ.ญ.ดร.พิมพ์ชนก โล่ห์ทองคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การผลิตโคเนื้อปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และฟาร์มมาตรฐาน |
645 | นายสุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การผลิตลูกปลานิล |
646 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
647 | ปริญญวัตร ทินบุตร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | การนำสินค้า OTOP เข้าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน |
648 | เดชาวัต มั่นกลาง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น | การบริหารจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับครัวเรือน |
649 | นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร |
650 | นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพร |
651 | วรรทณา สินศิริ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
652 | นริศ สินศิริ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
653 | เกรียงศักดิ์ บุญเที่ยง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกมันสำปะหลังแบบปราณีต |
654 | ปริยาภรณ์ อิศรานุวัฒน์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เทคโนโลยีด้านอาหาร การถนอมอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ |
655 | มนตรี วงษ์สะพาน | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การแปรรูปข้าวฮาง ข้าวหมากข้าวฮาง |
656 | จิระพร ชะโน | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การจัดการฟาร์มควายนม |
657 | สิริพิศ พิศชวนชม | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การวิเคราะห์หาสารสมุนไพร |
658 | ณัชชลิดา ยุคะลัง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การจัดการสมุนไพร การจัดการสาธารณสุข |
659 | วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า |
660 | อาคม เสงี่ยมวิบูลย์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า |
661 | ปรีชา นวลนิ่ม | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ |
662 | สรัญญา ภักดีสุวรรณ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบลายผ้า สิ่งทอจากลายธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ |
663 | อัศวิน อมรสิน | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหารทุกชนิด การทำอุจากข้าว ข้าวผงชงดื่ม |
664 | วิภาวี ไทเมืองพล | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การประมง การเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลี้ยงกบ การแปลงเพศปลา อุปกรณ์เลี้ยงกบสำเร็จรูป |
665 | ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การเขียนระบบแอพพลิเคชั่น |
666 | ธนพล หนองบัว | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ด้านการสัตวศาสตร์ การจัดการฟาร์มโคและกระบือ การรักษาโรค การเหนี่ยวนำ ผสมเทียม |
667 | อ.สพ.ญ.ดวงสุดา ทองจันทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | เทคโนโลยีการผสมเทียม การปรับปรุงพันธุ์ โรคและรักษา |
668 | อาจารย์กมลทิพย์ เดชะปรากรม | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Business Incubator การให้คำปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรม Business Model Canvas Social Entrepreneur การจัดการวิสาหกิจกขนาดกลางและขนาดย่อม |
669 | ผศ.ดร.วีระพงษ์ อินทร์ทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Statistics in Agricultural Research |
670 | ดร.กิตติ วิโรจน์รัตนาภาพิศาล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | งานวิศวกรรมวัสดุ |
671 | อาจารย์ทัศนียา นิลฤทธิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม, การออกแบบลวดลายและการตัดเย็บ |
672 | ดร.อุกฤษฏ์ ธนทรัพย์ทวี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิศกรรมวัสดุ |
673 | นายวันชนะ จูบรรจง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ |
674 | ผศ.รุ่ง หมูล้อม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ |
675 | ดร.จิรวัฒน์ วรวิชัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศกรรมวัสดุ |
676 | นายภาคภูมิ ใจชมพู | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมวัสดุ |
677 | ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ เคลือบวัง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า |
678 | นายมานะ ทะนะอ้น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า |
679 | นายธวัชชัย ไชยลังกา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านเครื่องจัรก |
680 | ดร.เจษฎา วิเศษมณี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล |
681 | ดร.สริยา สุภัทรานนท์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด |
682 | น.ส.รุจาภา สุกใส | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด |
683 | อ.ทรงยศ กิตติชนม์ธวัช | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ด้านโภชนะศาสตร์สัตว์ การจัดการฟาร์ม |
684 | อ.สุภา ศรียงยศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การผลิตพืชอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิดและระบบเปิด การเลี้ยงไก่พื้นเมือง |
685 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สันติ สาแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การออกแบบและติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงเรือนอัจฉริยะ |
686 | อ.ดร.อัจฉราวดี เครือภักดี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ด้านการเกษตรและการดูแลปรับปรุงพันธุ์พืช |
687 | อ.ลักขณา พิทักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร |
688 | อ.รัตนเรขา อัจฉริยะพิทักษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ด้านผ้าทอ การออกแบบลายผ้าทอ การย้อมสีผ้าจากวัสดุธรรมชาติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทออีสาน |
689 | ผศ.ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | เทคโนโลยีการผสมเทียมโคเนื้อแบบกำหนดเวลา |
690 | ผศ.ดร. ภาวิณี อารีศรีสม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารจากสมุนไพร สมุนไพรวิเคราะห์พืชน้ำมันหอมระเหย |
691 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภควดี ศิริหล้า | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมการออกแบบและผลิต / เทคโนโลยีวัสดุ |
692 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมยุทธ ไชยวงษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง |
693 | รองศาสตราจารย์ ดร.เกริกชัย ทองหนู (ข้าราชการบำนาญ) | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - ผู้เชี่ยวชาญด้านไฟฟ้า - พลังงานโซลาร์เซลล์ |
694 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธศิลป์ ชัยสิทธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | ความเชี่ยวชาญ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ |
695 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรินทร คุ้มเขต | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | ความเชี่ยวชาญ ชุมชนและศิลปะวัฒนธรรม |
696 | ดร.สุวลี ชูวาณิชย์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - ชุดควบคุมแบบอัตโนมัติ - ฟาร์มอัจฉริยะ |
697 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอี้ยวกฤตยากร | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - การผลิตปุ๋ย - bioplastics - การสกัดน้ำมัน - การสกัดสาระสำคัญจากธรรมชาติ - การนำของเสียจากชีวมวลมาใช้ประโยชน์ |
698 | ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม | มหาวิทยาลัยนครพนม | เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตปลาหมอไทย |
699 | ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม | มหาวิทยาลัยนครพนม | ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ปลานิล |
700 | ดร.ตรี วาทกิจ | มหาวิทยาลัยนครพนม | เพิ่มมูลค่าสับปะรด GI |
701 | ดร.กัมปนาจ เภสัชชา | มหาวิทยาลัยนครพนม | เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ |
702 | อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล | มหาวิทยาลัยนครพนม | ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย |
703 | ผศ.ดร.ถนอม ทาทอง | มหาวิทยาลัยนครพนม | ลดต้นทุน ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความเข้มแข็ง |
704 | ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ กกแก้ว | มหาวิทยาลัยนครพนม | กระบวนการแปรรูปวัสดุเศษเหลือจากข้าวอินทรีย์ ใช้ปลายข้าวกล้องหอมมะลิและไรซ์เบอร์รี่ |
705 | นางสาวพรพิมล ควรรณสุ | มหาวิทยาลัยนครพนม | การแปรรูปผลิตภัณฑ์ |
706 | อาจารย์ชนาพร รัตนมาลี | มหาวิทยาลัยนครพนม | การผลิตเห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดบด เห็ดกระด้าง การแปลรูปเห็ด |
707 | อาจารย์นิรัติศักดิ์ คงทน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | เครื่องจักรกลเกษตร |
708 | นายประยูร ประเทศ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | เทคโนโลยีการเกษตร ,เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก |
709 | อ.วราเดช แสงบุญ | มหาวิทยาลัยนครพนม | การวิเคราะห์คุณสมบัติของถ่านไบโอชาร์ - คาร์บอน(Carbon (C)) - โฮโดรเจน (Hydrogen (H)) - ไนโตรเจน (Nitrogen (N)) - ออกซิเจน (Oxygen (O)) - ซัลเฟอร์ (Sulfur (S)) การวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของถ่านไบโอชาร์ |
710 | ผศ. ณรงค์ฤทธิ์ อุปพงษ์ | มหาวิทยาลัยนครพนม | นำของเสียมาใช้ประโยชน์ และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ แก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์สำหรับครัวเรือน เพิ่อนำของเสียจากมูลสัตว์มาใช้ผลิตแก๊สชีวภาพ |
711 | ผศ. บุญเยี่ยม ยศเรืองศักดิ์ | มหาวิทยาลัยนครพนม | วิเคราะห์การผลิตพลังงานไฟฟ้าและศึกษาความคุ้มค่าต่อการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ระดับครัวเรือน |
712 | นางสาวกานดา ปุ่มสิน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1.ทางด้านสิ่งแวดล้อม,เทคโนโลยีทางด้านเกษตร3.เทคโนโลยีพลังงานทอแทน |
713 | นายวีรชน มีฐาน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | เทคโนโลยีทางด้านเกษตร พลังงานและสิ่งแวดล้อม |
714 | ดร.มัสธูรา ละใบเด็น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | วทน.Prebiotic ในการเลี้ยง กุ้ง |
715 | อาจารย์สุภาวดี โกยดุลย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | เทคโนโลยีการจัดการคุณภาพนำ้ทิ้ง |
716 | รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก |
717 | ผศ.ศรีชนา เจริญเนตร | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | ออกแบบจุภัณฑ์สินค้าในท้องถิ่น ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ออกแบบลวดลายผ้า |
718 | รองศาสตราจารย์ ดร. สุรินทร บุญอนันธนสาร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การเลี้ยงสัตว์น้ำ |
719 | รองศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมโทรคมนาคม |
720 | อาจ่ารย์จักรวัฒน์ เรืองแรงสกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | การพัฒนาต้นแบบเครื่องจักรการเกษตร |
721 | ดร.พลกฤษณ์ จริยตันติเวทย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | การตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ด้วยการประมวลผลภาพ |
722 | ดร.เกรียงไกร เหลืองอ าพล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | แอปพลิเคชั่นบอกปริมาณฟอสฟอรัสในอาหาร |
723 | รศ.ดร.นัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | พลังงานทดแทน |
724 | ผศ.ดร.มนัส บุญเทียรทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | ไฟฟ้า |
725 | อ.ประภาพร พลอยยอด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | การพัฒนาโปรแกรมควบคุมและสั่งการ |
726 | ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | พลังงาน |
727 | อ.อรรถพล ช่วยค้ำชู | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | อิเล็คทรอนิค |
728 | อ.นพกฤศณ์ ดำน้อย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | Electronic |
729 | ดร.ฉัตรแก้ว จริยตันติเวทย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม |
730 | ดร.อัญชลี มโนสืบ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ | วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม |
731 | ผศ. ลัดดาวัลย์ จำปา | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | เทคโนโลยีทางด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเครื่องจักร การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว |
732 | อ.เชียร แซ่เฮ้ง | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | วิศวกรรมไฟฟ้าและเครื่องจักร วิศวกรรมเครื่องยนต์ ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก |
733 | อ.พัฒน์ ทวีวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | เทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
734 | รศ.ดร.สภุกร บุญยืน | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | ผลิตภัณพ์จากไผ่ เคมีใบไผ่ สารสกัดไผ่ |
735 | ผศ. ธวัชชัย ประหยัดวงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การบริหารจัดการอาคาร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การยกระดับการท่องเที่ยวชุมชน |
736 | อ.พฤกษา ปิ่นสวาสดิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ระบบโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานทางการเกษตร ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว |
737 | อ.ปัณณวุฒิ ปิ่นสวาสดิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การบริหารจัดการโลจิสติกส์ ระบบห่วงโซ่อุปทานภาคเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานสินค้าหัตถกรรม |
738 | ดร.รัชดาภรณ์ บุญทรง | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบตราสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อความเป็นอัตลักษณ์ การออกแบบศาลาไม้ไผ่ขนาดเล็กจากเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น |
739 | 1. ดร.ศิวพร แพงคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | เทคโนโลยีทางด้านการเกษตร |
740 | ผศ.ดร.วาสนา ภานุรักษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร |
741 | ดร.เอนก ศรีสุวรรณ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
742 | อาจารย์สุวิตา แก้วอารีลาภ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟชั่น |
743 | อาจารย์ศศิพิมพ์ อิสระวัฒนา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม |
744 | อาจารย์พรทิพย์ กิ้มนวน | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ภูมิสถาปัตยกรรม การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม |
745 | ดร.ปวีณา ดีกิจ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม การแปรรูปข้าว |
746 | ดร.โชติกา รติชลียกุล | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยวและนวัตกรรม |
747 | ผศ ดร คันธมาทน์ กาญจนภูมิ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | สุขภาพ การแพทย์แผนไทย |
748 | อาจารย์วัชราภรณ์ พัทคัน | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การแพทย์แผนไทย |
749 | อาจารย์ธนพร อิสระทะ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | สุขภาพ การแพทย์แผนไทย |
750 | ผศ.ดร.พลพัฒน์ รวมเจริญ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | กระบวนการแปรรูปและการพัฒนาสมบัติของผลิตภัณฑ์ยางและพอลิเมอร์ โฟม เรซิน |
751 | อาจารย์เยาวลักษณ์ เตี้ยนวน | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การแพทย์แผนไทย |
752 | ผศ.ดร.จิตรา สิงห์ทอง | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | ข้าว, มันเทศ, การแปรรูปอาหาร |
753 | อาจารย์ ดร.ปรัชญาพร เอกบุตร | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | สัตวศาสตร์ |
754 | อาจารย์ ดร.สลิลา เศรษฐไกรกุล | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | กายภาพบำบัด |
755 | รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | เวชศาสตร์เขตร้อน พยาธิวิทยาและพยาธิกำเนิดของมาลาเรีย |
756 | อาจารย์สุผาณิต วิเศษสาธร | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | สถาปัตยกรรม |
757 | นายมะโน หะยะมิน | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การส่งเสริมการเกษตรและการสร้างความร่วมมือด้านกิจการของชุมชน |
758 | นางสาววรัญญา แก้วฤทธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านการส่งเสริมการเกษตร |
759 | ดร.ชินวุธ พิพัฒน์ภานุกูล | มหาวิทยาลัยบูรพา | วัสดุพอลิเมอร์ |
760 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตฤณ กิตติการอำพล คณะศึกษาศาส | มหาวิทยาลัยบูรพา | ประติมากรรมเพื่อการบำบัดเด็กออทิสติก |
761 | อาจารย์สราวุธ ศิริวงศ์ คณะเทคโนโลยีทางทะเล | มหาวิทยาลัยบูรพา | การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, นิเวศวิทยาแนวปะการัง |
762 | ภก.ผศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ คณะเภสัชศาสตร์ | มหาวิทยาลัยบูรพา | การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร |
763 | ดร.นันทรัตน์ บุนนาค คณะอัญมณี | มหาวิทยาลัยบูรพา | การตรวจวิเคราะห์อัญมณี |
764 | อาจารย์ ดร.ภควรรณ เศรษฐมงคล คณะเทคโนโลยีทางทะเล | มหาวิทยาลัยบูรพา | วิทยาศาสตร์ทางทะเล |
765 | รองศาสตราจารย์ ดร.อุไร จเรประพาฬ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การจัดการระบบสุขภาพชุมชน สารสนเทศทางสุขภาพ สารสนเทศทางการพยาบาล การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การดูแลมารดาก่อนและหลังคลอดในชุมชน |
766 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กำไล สมรักษ์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | สุขภาพชุมชน |
767 | นายณัฐอมร จวงเจิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม |
768 | สุชาติ วรรณขาว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | การพัฒารูปแบบการท่องเที่ยว |
769 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักเรศ เมตตะธำรงค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | กลยุทธ์ทางการตลาด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน การวางแผนการคตลาด การตลาด |
770 | ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีกสวยงาม และสุกร |
771 | ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีกสวยงาม และสุกร |
772 | นางสาวดุษฎี ศรีธาตุ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | การแพทย์แผนไทย และสิ่งทอ |
773 | สีตลา วงศ์กาฬสินธุ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของผู้ประกอบการ/วิเคราะห์ SWOT/การวางแผนเขียนแผนธุรกิจ/การจัดเก็บและการรวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลประกอบการออกแบบตราสินค้า/ออกแบบบรรจุภัณฑ์/การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย และการปนะนำการขายออนไลน์ |
774 | นายสมเกียรติ ตันตา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น |
775 | นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบและสร้างเครื่องจักร |
776 | นางวัชรี เทพโยธิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอนอาหารและบรรจุภัณฑ์ |
777 | น.ส.ชณิชา จินาการ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอมอาหาร และการเก็บรักษา ด้านการตรวจคุณภาพอาหาร |
778 | นายชัยธวัช จารุทรรศน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การผลิตเห็ดแบบครบวงจร |
779 | นายกุลวิชญ์ พานิชกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน |
780 | นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ด้านอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ด้านออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการนำ วทน. มาใช้ |
781 | น.ส ธัญลักษณ์ บัวผัน (จบปริญาโทการแปรรูป และวิจัย) | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การพัฒนาและแปรรูปด้านอาหาร การทดสอบทางประสาทสัมผัส ทางเคมี ทางการยภาพ ด้านอาหาร |
782 | นายธิติวัฒน์ ตาคำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การออกแบบผังภาคเมือง ด้านภูมิทัศน์ |
783 | นาย ทวีสิน ปัญญาสีห์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การออกแบบวางผังการจัดสวน |
784 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภวุฒิ ผากา | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | ระบบไฟฟ้ากำลัง, การวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า, พีแอลซีในงานอุตสาหกรรม, การควบคุมระบบอัตโนมัติ |
785 | ผศ.ธนวรกฤต โอฬารธนพร | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า กราฟฟิกและมัลติมิเดีย |
786 | นางสาววราภรณ์ ทุมชาติ | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การออกแบบระบบไฟฟ้า |
787 | ผศ.ดร.ราตรี แจ่มนิยม | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | อัตลักษณ์ด้านภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ |
788 | ดร.บุษบา ทองอุปการ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การจัดการด้านแรงงาน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน |
789 | อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม |
790 | นายกมลภัทร์ รักสวน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | ออกแบบสิ่งทอและแฟชั่น |
791 | นายอภิเดช ภูมิกอง | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม การประกอบด้วยการเชื่อมและประสาน |
792 | รศ.ดร.อัจฉราภรณ์ ดวงใจ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การสกัดสมุนไพร การตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและทางชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพ ระบบทางเดินอาหาร เบาหวาน ลดไขมัน |
793 | นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | 1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ 2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology) |
794 | อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว |
795 | พิมพ์นภา ภูฆัง | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน |
796 | นางสาวรุ่งนภา ปวงอุปถัมภ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | หลักการออกแบบเบื้องต้น |
797 | นางสาวณัฐรุจา สิงห์เพชร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การตัดเย็บและการสร้างแพทเทิร์น |
798 | นางสาวอุบลลักษณ์ กุณา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปักผ้า |
799 | อาจารย์นงลักษณ์ เล็กรุ่งเรืองกิจ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การประดิษฐ์เครื่องอัดกระทงใบตอง เพื่อเป็นภาชนะสำหรับใส่อาหาร |
800 | นางทวีพร เรืองพริ้ม | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การปรับปรุงพันธุ์กระบือให้มีคุณภาพและเหมาะสมกับการเลี้ยงของประเทศไทย |
801 | อาจารย์ปัทถาพร สุขใจ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | นวัตกรรมชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว เป็นการส่งเสริมทักษะการนำเสนอผลงานและตลาดให้กับชุมชน |
802 | รศ.สพ.ญ.ดร.สุนทรี เพ็ชรดี | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เป็นอุปดรณืที่ไว้เพื่อใช้ในการตรวจโรคกล้ามเนื้อหัวใจในแมว |
803 | นางสาวนุจนาถ นรินทร์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | นวัตวิถีของดีกำแพงแสน และเส้นทางท่องเที่ยวของอภเภอกำแพงแสน |
804 | นายณัฐพงษ์ ปานขาว | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การเพาะเลี้ยงปลานิลและการแปลงเพศปลานิล เพื่อให้ได้ผลผลิตดีกับเกษตรกรชาวประมงที่ต้องการเลี้ยง |
805 | รศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เครื่องงวิเคราห์คุณภาพน้ำอ้อยที่สามารถพกพาและนำไปใช้งานในไร่ได้ |
806 | นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การศึกษาการเจริญของราก ทำให้ทราบข้อมูลการกระจากตัวของรากและความหนาแน่นของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน |
807 | ดร.สุรสวดี สมนึก | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เครื่องดื่มเพื่อนำไปพัฒนาที่ส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ออกกำลังการและผู้เล่นกีฬา |
808 | อ.ดร.ภวินทื ธัญภัทรานนท์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เรือรดน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยวิทยุบังคับเพื่อให้เหมาะสมกับกับต้องการของเกษตรกร |
809 | ดร.ปิยนารถ ศรชัย | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ |
810 | นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ |
811 | นางทวีพร เรืองพริ้ม | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | โคที่สามารถเลี้ยงในสภาพอากาศที่ร้อนของประเทศไทยได้ได้ดี ทนต่อโรค เห็บ และแมลง |
812 | ผศ.ดร.ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | นมมะพร้าวอัดเม็ดที่ใช้บริโภคเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง |
813 | รศ.ดร.เรวัต เลิศฤทัยโยธิน | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การพัฒนาอ้วยพันธุ์กำแพงแสน ที่เหมาะกับการปลูกแล้วได้ผลผลิตที่ดี เเละเป็นพันธุ์ของกำแพงแสน |
814 | ดร.นวรัตน์ พรหมอุปถัมภ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การวางแพลนท่องเที่ยวชุมชน |
815 | ผู้ช้วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชพล เมธารัชกุล | มหาวิทยาลัยพะเยา | - ศึกษาความชุกของการปนเปื้อนปรสิตในสิ่งแวดล้อม อาหาร การเกิดโรค โดยผสมผสานเทคนิคพื้นฐาน และเทคนิคชั้นสูงทางห้องปฏิบัติการ เพื่อมาประยุกต์สู่ชุมชน - ปรสิตวิทยา เกษตรปลอดภัย อณูชีวโมเลกุล อาหาร สิ่งแวดล้อม |
816 | รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | การแพทย์แผนไทย สมุนไพร ยาสมุนไพร |
817 | อาจารย์ธนิกา หุตะกมล | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | การออกแบบลวดลายสิ่งทอ ลวดลายมัดล้อม การตัดเย็บหน้ากากอนามัย |
818 | ผศ.ดร.บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วยบุญ | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | วิศวกรรมทางการแพทย์ |
819 | ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม |
820 | ดร.สุภาวดี แช่ม | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์ |
821 | อาจารย์กัณญพัตส บุญล่ำ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การอบรมส่งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือก เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่ |
822 | อาจารย์ญาณพัฒน์ ลาภพาณิชยกุล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การพัฒนาเทคโนโลยีระบบสมาร์ทฟาร์ม และการซ่อมบำรุงดูแลรักษา |
823 | ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ |
824 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์ ทองสง | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การพัฒนาท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การพัฒนาโครงข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ |
825 | นายกฤษฎิ์ พลไทย | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด การประมง |
826 | ผศ.จิราภา พงศ์ศุภสมิทธิ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผ้าพื้นเมืองของ ชาวเขาเผ่าเย้า จังหวัด พะเยา งานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาด้านวิถีชีวิต ของชาวเขาเผ่ากระหร่าง จังหวัด เพชรบุรี งานวิจัยเรื่อง การศึกษาสุขภาพจิตของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อนักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น |
827 | ผศ.วินิทร สอนพรินทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | การออกแบบและทำแบบตัดเสื้อผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้า |
828 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิษา สุวรรณเจริญ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การวิจัยสรรพคุณของกระชาย เพื่อการรักษาโรค |
829 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน |
830 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | เทคโนโลยีกระบวนการผลิตสมุนไพร ประเภทแคปซูล |
831 | นายสุชาติ เฮ็งฉุน | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | เครื่องมือกล |
832 | นายสมพงษ์ แซ่บ่าง | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | เครื่องกล |
833 | นายนภพล รัตนสุนทร | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | เกษตรกรรม ไฟฟ้า |
834 | นางสาวชนากานต์ จิตรสงวน | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้า |
835 | นางสาวพชรพร ขำหรุ่น | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | การโรงแรม |
836 | นางพัชรา ศรีคำ | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | การโรงแรม การแปรรูป |
837 | นายสมเดช เจริญสุข | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้า |
838 | นายเรวัตต์ หน่ายมี | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | การก่อสร้าง |
839 | นายภควัชร์ ใจรุ่ง | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้า |
840 | นายมยูร หลำสุบ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพร |
841 | ดร.เยาวมาลย์ เขียวสอาด | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีการปลูกข้าว การผลิตข้าวปลอดภัย&ข้าวอินทรีย์ |
842 | ดร.นฤมล มีบุญ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง |
843 | ดร.กนก เชาวภาษี | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | ระบบการผลิตและการจัดการสัตว์ปีก |
844 | อาจารย์เปลื้อง บุญแก้ว | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก |
845 | นายอนาวิน เปาะชู | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เทคโนโลยีการเลี้ยงแพะนม การแปรรูปนมแพะ |
846 | ผษ. เจษฏา แก้วฉาย | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | เทคโนโลยีการออกแบบภูมิทัศน์ |
847 | นางสาวบาซีเร๊าะ สาเร๊าะ | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
848 | นางสาวอวาติฟ บากา | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | การแปรรูปปศุสัตว์ |
849 | นายเฉลิมชัย ทิพยัค | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | การตัดแต่งซากปศุสัตว์เพื่อเพิ่มมูลค่า |
850 | อาจารย์ ดร.สุไลมาน เจ๊ะอาบู | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | การปรับปรุงพันธุ์ขาว |
851 | ผศ.ดร.ซารีนา สือแม | มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ | โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยเฉพาะด้านสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก และการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก |
852 | รศ.ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | นวัตกรรมการเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดที่เตรียมด้วยเทคโนโลยี green extraction และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด |
853 | ภก.ธงธรรม สุขสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด |
854 | ดร.นุจิรา ทักษิณานันต์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | 1. โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว 2. กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ |
855 | ดร.ชูขวัญ เตชานนท์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร |
856 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง เล็กจริง | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร |
857 | ดร.ปัทมาวดี คุณวัลลี | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ |
858 | ผศ.ดร. วิกันดา รัตนพันธ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การจัดการแมลงศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมีอันตราย การใช้พืชกับดัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
859 | ผศ.ดร.สุรพล ฐิติธนากุล | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การวางแผนการผลิตและองค์ความรู้ในการผลิตผักอินทรีย์ให้ได้คุณภาพ |
860 | ผศ. มานพ ธรสินธุ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การใช้ประโยชน์ไม้มีค่าในพื้นที่ และการผลิตถ่านและน้ำส้มควันไม้ที่ได้มาตรฐานทางการเกษตร |
861 | ผศ.ดร. นิตยา อัมรัตน์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของผลผลิตผักอินทรีย์เพื่อรักษาคุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
862 | อ.ดร. สราวุฒิ แนบเนียร | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การพัฒนานักศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ |
863 | นายขจรเดช เวียงสงค์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | วิทยาศาสตร์ฟิสิก ไฟฟ้า |
864 | นางวิมล อำนาจผูก | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและ โภชนาการ เทคโนโลยีอาหาร และทางด้านการทดสอบหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้พ และสิ่งแวดล้อม |
865 | นายสุทธิ มลิทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด" |
866 | นายทินกร คุณะแสงคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | มาตรฐาน ISO/IEC 17025 |
867 | นายกวินท์ จิตอารีย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การปลูกผักอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการแปลงผักอินทรีย์และการป้องกันแมลง |
868 | ดร. ชัยณรงค์ สินภู่ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | โรคผึ้ง การวิเคราะห์คุณภาพน้ำผึ้ง สูตรอาหารเสริมสำหรับการเลี้ยงผึ้ง |
869 | ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | มาตรฐานการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ การเเปรรูป พัฒนากระบวนการผลิต |
870 | ดร. วศิน วงศ์วิไล | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ทางด้านเคมี, เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อม, พัฒนาชุดทดสอบ (Test kit) |
871 | ผศ.ดร.วสวัชร นาคเขียว | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกระบวนการผลิต การทดสอบสมบัติเชิงกลของนวัตกรรมวัสดุ |
872 | ดร. พิสิฐพงษ์ อินทรพงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เครื่องกวน เครื่องอบลดความชื้น พลังงานจากเชื้อเพลิงชีวภาพ การลดก๊าซเรือนกระจก |
873 | รศ.ดร. สุพร จารุมณี | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | ตำรับยา เครื่องสำอาง การรักษาด้วยสมุนไพร การสมานเเผล การพัฒนาเเคปซูลชนิดรับประทาน ยาภายนอก |
874 | รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ |
875 | อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การออกแบบ |
876 | รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ |
877 | ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย. |
878 | รศ.ดร.ภญ วรรธิดา ชัยญาณะ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง การสกัดสารสำคัญเพื่อใช้ในเครื่องสำอาง สารต้านอนุมูลอิสระในการดูเเลผิว |
879 | ว่าที่ร้อยตรี บุญญฤทธิ์ วังงอน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบน้ำในโรงเรือน |
880 | นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
881 | ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่ |
882 | ดร.สุจิตตรา อินทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ |
883 | นางสาวสุกัญญา ทับทิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านฟิสิกส์ทางการเกษตร ฟิสิกส์พลังงาน ชีวมวลและวิจัยในชั้นเรียนทางฟิสิกส์ |
884 | ดร.เอกรัฐ ชะอุ่มเอียด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และมีความชำนาญพิเศษ - RF Magnetron Sputtering - Transparent Conductive Oxide Films - Photo-electrochemical cells |
885 | นางสาวพรพิมล ควรรณสุ | มหาวิทยาลัยนครพนม | ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า 1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 100 กรัม ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ |
886 | นางสาวพรพิมล ควรรณสุ | มหาวิทยาลัยนครพนม | ผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร รสชาติอร่อย ไม่มัน มีไฟเบอร์จากเห็ด 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 250 กรัม |
887 | นางสาวพรพิมล ควรรณสุ | มหาวิทยาลัยนครพนม | ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร |
888 | ดร.เดือนแรม แพ่งเกี่ยว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า |
889 | ดร.ชลธี โพธิ์ทอง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ |
890 | นางสาวกานต์สุภัค นพรัตน์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและขอการรับรอง |
891 | นายณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การนวัตกรรมภูมิปัญญา/ประวัติศาสตร์ให้มีมูลค่าเพิ่ม/เสริมการท่องเที่ยว นวัตวิถีเชิงวัฒนธรรมชุมชน |
892 | อาจารย์กฤตธี สงวนศักดิ์ | มหาวิทยาลัยนครพนม | ช่วยลดต้นทุนการผลิตเตาเผาถ่านชีวภาพ |
893 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ สิมะไพศาล | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
894 | อาจารย์ อิศรพงษ์ พงษ์ศิริกุล | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การเเปรรูปอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การถนอมอาหาร |
895 | อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ |
896 | อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | วัดสุศาสตร์ |
897 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุทธิดล ปิยะเดช | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | สัตวศาสตร์,zoonosis,ระบาดวิทยา ชีวะสารสนเทศ,สุขภาพสัตว์ การจัดการฟาร์มและโรคสุกร |
898 | ดร.ชยพล มีพร้อม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | โภชนศาสตร์สัตว์ การผลิตโค เทคโนโลยีอาหารสัตว์ |
899 | นายกฤษณธร สินตะละ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | มีความเชี่ยวชาญด้าน การผลิตสัตว์ การปรับปรุงพันธ์สัตว์ การผสมพันธุ์สัตว์ |
900 | นายฐิติกร วงศ์เลื่อน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านออกแบบกระเป๋า หมวก เสื้อผ้า รวมถึงการแปรรูปจากวัตถุดิบธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น มาเป็นผลิตภัณฑ์ ของใช้ของตกแต่าง เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น |
901 | ผศ.กฤติน ชุมแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | แปรรูปอาหาร ขนม |
902 | อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE |
903 | อาจารย์ณกันต์วลัย วิศิฎศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดสมุนไพรในระดับเซลล์และโมเลกุล การค้นหากลไกการทำงานของยา และสารสกัดสมุนไพร |
904 | อาจารย์นัจภัค มีอุสาห์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ออกแบบเว็บไซต์ของชุมชุน |
905 | ผศ.นันท์ชนก นันทะไชย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | 1.การเก็บรักษาผลิตผลสดทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว 2. การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุมและสภาพบรรยากาศดัดแปลง 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร |
906 | อาจารย์เบญนภา พัฒนาพิภัทร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบแบนเนอร์เพื่อโฆษณาโปรโมชั่นให้กับร้านขายอุปกรณ์ทำอาหาร เป็นต้น |
907 | อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น |
908 | ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส |
909 | นายกวินท์ คำปาละ | วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู | การออกแบบ ลวดลายผ้า การมัดย้อมสิ่งทอ |
910 | ผศ.ดร.จริยาวดี สุริยพันธุ์ | มหาวิทยาลัยบูรพา | พรรณไม้น้ำ แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ หญ้าทะเล ระบบนิเวศทางทะเล และระบบนิเวศในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ |
911 | นายอภิวัฒน์ ด่านแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | ความเชี่ยวชาญ ด้านพลังงานและวัสดุ |
912 | รองศาสตราจารย์ ดร.เอกอุมา อิ้มคำ | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน |
913 | ผศ.ดร. จุไรรัตน์ กีบาง | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลกลุ่มเด็กปฐมวัย |
914 | รศ.ดร.พานทิพย์ แสงประเสริฐ | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | การพยาบาลสุขภาพชุมชน |
915 | ผศ.ดร. พนิดา ศิริอำพันธ์กุล | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
916 | ดร.ฉัฐสิณี หาญกิตติชัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปทางการเกษตร, การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร |
917 | นางสาวฉัตติญา พรหมปองสุข | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปทางการเกษตร, การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร |
918 | ดร.ดิเรก บุญธรรม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, ฟิสิกส์วิศวกรรม |
919 | นางสาวกัญญ์ฐญา ทรัพย์ทวีธนกิจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การส่งเสริมด้านการตลาดและเข้าถึงผู้บริโภคผ่านกระบวนการออนไลน์ การเชื่อมโยงตลาดของผลิตภัณฑ์บูรณาการกับการท่องเที่ยว |
920 | หทัยรัตน์ หอมไกรลาศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | ด้านพัฒนาคน เป็นวิทยากรด้านการท่องเที่ยวเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ ด้านการออกแบบและพัฒนาของที่ระลึก ด้านการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว |
921 | .ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพื่อชาติ สุขเรือน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | เทคโนโลยีการออกแบบวงจรเซ็นเซอร |
922 | ดร.พฤฒิพงศ์ เพ็งศิร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การพัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับและเทคโนโลยีสื่อผสมเพื่อส่งเสริมการค้าผลิตภัณฑ์มะขามป้อม |
923 | อาจารย์ปณิธี สุวรรณอมรเลิศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว |
924 | อาจารย์ปวิชญา โภชฌงค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | พัฒนาผลิตภัณฑ์ |
925 | อาจารย์น้ำอ้อย ปัญญา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การผลิตพืชระบบ GAP (พืชสมุนไพร ข่า ตะไคร้) |
926 | รศ.ดร.คริษฐ์สพล หนูพรหม | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ความเชี่ยวชาญ : พืชศาสตร์ |
927 | ผศ.ปริยากร บุญส่ง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ความเชี่ยวชาญ : ธุรกิจเกษตรเกษตร |
928 | นายฑณัช บูรณวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ความเชี่ยวชาญ : พืชศาสตร์ |
929 | นางสาวจิรรัชต์ กันทะขู้ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การรอบแห้งผักผลไม้ , การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
930 | นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การทำลูกประคบเพื่อสุขภาพ การนวดคอ บ่า ไหล่เพื่อความผ่อนคลาย |
931 | นายวินัฐ จิตรเกาะ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ |
932 | นางสาวรจนา พิทักษ์ธันยพร | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ |
933 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชาวลิต อุปฐาก | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | มีความเชี่ยวชาญในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ อาหารไทย ขนมไทย การแกะสลักผักผลไม้ เป็นต้น |
934 | นายชลณัฐ เสาทอง | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร มีความรู้ความสามารถในการสื่อสารองค์กรโดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร รวมถึงการบริหารจัดการช่องทางการสื่อสารองค์กรที่มีความเหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดในการสื่อสารองค์กร และมีความรู้ความสามารถในการสื่อสารการท่องเที่ยว โดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดในการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม |
935 | นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน |
936 | นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบของที่ระลึก การออกแบบลวดลายผ้า การพิมพ์ผ้า |
937 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์วรรณ สรรพสัตย์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เรื่องการเลี้ยงผึ้งโพรงไทยตามวิถีภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์ จากผลิตภัณฑ์ผึ้ง http://www.science.up.ac.th/downloads/1647831490.pdf |
938 | ดร.อัญชลี จันทาโภ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านสุขภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพยาบาลมารดา ทารก และการจัดการเครือข่ายสุขภาพ |
939 | อาจารย์สรณ์สิริ รวีโรจน์วรกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านอุตสาหกรรมบริการ การท่องเที่ยว การโรงแรม ด้านการบริการอาหาร และเครื่องดื่ม ด้านจิตวิทยาบริการและการให้บริการลูกค้า |
940 | อาจารย์ฐิรรัตณ์ ศรีคงจันทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ออกแบบดีไชน์ร้านค้า จัดแสดง ร้านค้าในห้างสรรพสินค้า ออกแบบบรรจุภัฑณ์ ออกแบบฉลาก ตราสัญลักษณ์ ออกแบบภูมิทัศน์ ออกแบบภูมิทัศน์ พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว |
941 | ผศ.ดร.อรจิรา ธรรมไชยางกูร | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว และการประเมินผลความสำเร็จการดำเนินงาน |
942 | นายอรรถการ สัตยพาณิชย์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | 1) ด้านการสื่อสารการตลาด และสร้างตราสินค้า 2) ด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน |
943 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว |
944 | ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
945 | ผศ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล | มหาวิทยาลัยนครพนม | การใช้ฮอร์โมนกระตุ้นการเป็นสัดแม่โค ชนิดสังเคราะห์แบบฉีด |
946 | นางสาวพัชญทัฬห์ กิณเรศ | มหาวิทยาลัยนครพนม | เทคนิคการแปรรูปอาหารด้วยตู้อบแห้งพลังแสงอาทิตย์ |
947 | ผศ.ดร.คมกฤษณ์ ชูเรือง | มหาวิทยาลัยนครพนม | ระบบเกษตรอัจฉริยะ เช่น โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ โรงเรือนปลูกผัก และระบบน้ำใต้ดิน |
948 | ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา | มหาวิทยาลัยนครพนม | การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการผลิต (GAP/อินทรีย์) การบริหารจัดการชุมชน เพื่อส่งเสริมการเกษตรให้ได้มาตรฐาน |
949 | อาจารย์นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านหัตถเวช ด้านการนวดต่างๆ นวดเพื่อการรักษาอาการต่างๆเป็นต้น |
950 | พทป.สรัญญา ชะงัดรัมย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | แปรรูปสมุนไพร ดูแลให้คำปรึกษาที่คลินิกกัญชา |
951 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม |
952 | ผศ.ชูชัย พิทักษ์เมืองแมน | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การถ่ายภาพโฆษณาสินค้าเพื่อใช้กับการขายออนไลน์ การคำนวณต้นทุน การทำบัญชีครัวเรือน |
953 | นางสาวศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การตลาดดิจิทัล การตลาดออนไลน์ การจัดการการค้าปลีกและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การบริหารธุรกิจการตลาด |
954 | ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การเตรียมสิ่งทอ - กระบวนการทําความสะอาด การฟอก การย้อมสีธรรมชาติ การพิมพ์ การตกแต่งสําเร็จเส้นใย/เส้นด้าย/ผืนผ้า แยกประเภทโครงสร้างผ้า ผ้าทอ ผ้าถัก ออกแบบลวดลายผ้าทอ - ลายขัด ลายสอง ฯลฯ ทดสอบคุณสมบัติของผ้า/เส้นใย เช่น ทดสอบความคงทนของผ้า และคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี และที่เกี่ยวข้อง |
955 | นางสาวนิตยา วันโสภา | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | สร้างแบบเสื้อผ้าบุรุษและเสื้อผ้าสตรี ออกแบบเครื่องแต่งกายเสื้อผ้าสตรี |
956 | นางสาวฐิติมา พุทธบูชา | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ออกแบบและตัดเย็บ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายสําหรับสุภาพสตรี |
957 | นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การออกแบบลวดลายผ้า พัฒนาคุณสมบัติผ้า ด้านสิ่งทอ |
958 | นางสาวกรชนก บุญทร | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | - การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ - การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ - แนวโน้มแฟชั่น (Trend) การออกแบบตราสินค้า |
959 | ผศ.ประมวล แซ่โค้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การผลิตพืชผักปลอดภัย |
960 | น.ส. ศยมน พุทธมงคล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - Internet of Thing - Mobile Application - Embedded Systems |
961 | ผศ. นเรศ ขวัญทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - การออกแบบ Web Application - การออกแบบระบบฐานข้อมูล - การออกแบบและวิเคราะห์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การออกแบบ Application ด้วยภาษา C , VB |
962 | นายภูมินทร์ อินทร์แป้น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | มีความเชี่ยวชาญด้านการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ |
963 | นายสิทธิศักดิ์ โรจชะยะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - การโปรแกรมคอมพิวเตอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ - การออกแบบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า - นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และเทคโนโลยี |
964 | นางสาวศวรรณรัศม์ อภัยพงค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | การผลิตสื่อการเรียนการสอนแอนนิเมชั่น 2 มิติ |
965 | นางสาวศิรินันทร์ นาพอ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - ระบบค้นคืนสารสนเทศ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ - ระบบให้คำแนะนำ |
966 | อาจารย์สุขุม คงดิษฐ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การตลาด การท่องเที่ยว |
967 | นางสาวภคพร สาทลาลัย | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย |
968 | ดร.รัฐกร มิรัตนไพร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การเลี้ยงโคเนื้อโคนมครบวงจร/ อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง |
969 | น.ส.อัยรา พันอนุ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | แปรรูปสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม การสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) การเพิ่มศักยภาพและยกระดับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (เกษตรแปรรูป) |
970 | นายพงษ์สิทธิ์ พิริ | วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี | การจัดโปรแกรมทัวร์ การเป็นวิทยากร มัคคุเทศน์ |
971 | กัญญา ภัทรกุลอมร | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบลวดลายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้า |
972 | อ.กัลยาภรณ์ จันตรี | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ผู้เชี่ยวชาญด้านเคมีและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง |
973 | อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช |
974 | นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การทำแชมพูสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การสกัดน้ำมันสมุนไพร |
975 | นายปรัชญาณินทร์ วงศ์อทิติกุล | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การพัฒนาผลิตภัณฑ์(อุปโภคและบริโภค) กาแฟ ชา หัตถกรรมพื้นบ้าน |
976 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน |
977 | นิเวศ จีนะบุญเรือง | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจ, การจัดการนวัตกรรม, การจัดการโลจิสติกส์, การพัฒนาผู้ประกอบการ startup, การออกแบบและพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมสำหรับธุรกิจ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง สามารถออกแบบและพัฒนารูปแบบธุรกิจกลยุทธ์ธุรกิจที่ทำให้ผู้ประกอบการมีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถทำให้เกิดการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน |
978 | ดรัณภพ อุดแน่น | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานเกี่ยวกับสินค้าเกษตรเพื่อศึกษาวิธีการดำเนินงานที่ควรปรับปรุงให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นพร้อมทั้งลดต้นทุนและเพิ่มช่องทางจัดจำหน่าย |
979 | ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ | มหาวิทยาลัยพะเยา | กรรมวิธีการผลิตข้าวเหนียวหุงสุกเร็ว : คุณภาพและสมบัติทางเคมีกายภาพ |
980 | ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาทับทิมเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ |
981 | ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การพัฒนากระบวนการผลิตขนมแผ่นจากดอกเก๊กฮวย |
982 | รศ.ดร.อัจฉรา ดลวิทยาคุณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | การแปรรูปเสาวรส |
983 | หทัยรัตน์ หอมไกรลาศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | การท่องเที่ยว เส้นทางท่องเที่ยว การพัฒนาของที่ระลึก |
984 | ราตรี พระนคร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | สมุนไพร |
985 | ดร.เจนจิรา ฝั้นเต็ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | - การบริหารจัดการการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงชุมชน |
986 | ผศ.ดร.กฤษฏิ์พนธ์ พรรณรัตนชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | นวัตกรรมทางการเกษตรและพลังงานทดแทน -โดรนเพื่อการเกษตร |
987 | อาจารย์ มานะ อินพรมมี | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์- งานเฟอร์นิเจอร์ - การเคลือบผิวเฟอร์นิเจอร์ - การขึ้นรูปเฟอร์นิเจอร์ |
988 | อาจารย์สุธิรา เบญจานุกรม | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | ทดสอบแรงดัดและแรงดึงของซีเมนต์และมอร์ต้าร์ หาแรงดัดและแรงดึงของซีเมนต์และมอร์ต้าร์ |
989 | นายณัฐวุฒิ เงาะหวาน | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | คหกรรมศาสตร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โภชนาการ |
990 | อาจารย์อนุกิจ เสาร์แก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | iot Smart city, iot ควบคุมทางการเกษตร,iot งานอุตสาหกรรม, iot environment monitoring, Mobile Application Devloper |
991 | ผศ. กาญจนา รัตนธีรวิเชียร | มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง | การตลาดออนไลน์ |
992 | อาจารย์สุธาทิพย์ ไชยวงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การเลี้ยงสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ไก่พื้นเมือง |
993 | นางปราโมทย์ ทิมขำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | ด้านการจัดการดิน และปุ๋ยในพืชเศรษฐกิจ การเพาะเห็ด |
994 | ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การเพาะเลี้ยงปลานิลหมัน |
995 | ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | กบคอนโดและกบนอกฤดูหนทางสู่ความพอเพียงวิถีเพียงพอที่ยั่งยืนแด่พ่อหลวงไทย |
996 | ดร.วราภรณ์ กุศลารักษ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | กระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
997 | ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล | มหาวิทยาลัยพะเยา | การแปรรูปผักและผลไม้ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ |
998 | อาจารย์ชัยวัฒน์ โพธิ์ทอง | มหาวิทยาลัยพะเยา | การบำบัดดินที่ปนเปื้อนโลหะหนักด้วยวิธีทางเคมี การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการดูดซับ และกระบวนการดูดซับทางชีวะ |
999 | ดร. ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การพัฒนาอาหารหมักจากเมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เสริมด้วยผลไม้เศรษฐกิจตามฤดูกาลเพื่อเลี้ยงโคขุน |
1000 | รศ.ดร.โชค โสรัจกุล (มิเกล็ด) | มหาวิทยาลัยพะเยา | อาหารสัตว์หมักจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร |
1001 | ผศ.ดร.ไวพจน์ กันจู | มหาวิทยาลัยพะเยา | การพัฒนาประชากรลูกผสมกลับข้าวเหนียวพันธุ์สันป่าตอง 1 ให้มียีนความหอม ยีนต้านทาน โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง โดยใช้วิธีการผสมกลับร่วมกับการใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก |
1002 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญยุทธ์ กาญจนพิบูลย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | ระบบสมองกลฝังตัวในงานเกษตรกรรม ระบบควบคุมอัตโนมัติผ่านอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (IoT) ระบบผลิตกำลังไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์กำลัง |
1003 | ดร.สุทธิดา ปัญญาอินทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
1004 | นายพุฒิธร ตุกเตียน | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ช่างโลหะ/ วิศวกรรมวัสดุ |
1005 | ดร.สุวิมล บัวทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การท่องเที่ยว |
1006 | ดร.ทวีสินธุ์ ตั้งเซ่ง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การท่องเที่ยว |
1007 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพศาล คงเรือง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | |
1008 | นายบรรจง อูปแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม |
1009 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณิดา โขนงนุช | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | โลจิสติกส์ การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม |
1010 | อาจารย์ชิตณรงค์ เพ็งแตง | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Internet of Things (IoT) Software Engineering Automation |
1011 | อาจารย์ ดร. นพดล สีสุข | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | ฟิสิกส์ประยุกต์ ออกแบบวงจรไฟฟ้า |
1012 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กันตภณ โล่นพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ระบบควบคุมอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม พีแอลซี (โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์) ไมโครคอนโทรลเลอร์ |
1013 | อาจารย์จิรา ธรรมนิยม | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Concrete Reinforced concrete |
1014 | ผศ.ดร.ฐิติพงศ์ เครือหงส์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี | ตัวนำยอดอุณหภูมิสูง |
1015 | นายพีรวัจน์ ชูเพ็ง | มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี | โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง |
1016 | เชาวลีย์ ใจสุข | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | พันธุศาสตร์สัตว์น้ำ การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาแบบแช่เย็น |
1017 | นวัตกรรมเพื่อเกษตรปลอดภัยครบวงจร (พืชและสัตว์) | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การประเมินห่วงโซ่คุณค่า การจัดทำแผนธุรกิจระดับชุมชน และการศึกษาความเป็นไปด้วยของโครงการทางด้านการจัดการ |
1018 | การพัฒนาการปลูกมะขามเทศด้วยระบบรดน้ำอัตโนมัติผ่านส | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | ด้านที่ปรึกษาชุมชน ด้านเกษตรทางเลือกใหม่แบบใช้เทคโนโลยีควบคุม การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร |
1019 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เมตไตรพันธ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | - การประมวลผลและการรับรูปภาพ (Digital Image Processing) - การออกแบบและพัฒนาระบบการควบคุมอัตโนมัติ PLC |
1020 | นายอภิเดช บุญเจือ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา | การทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร |
1021 | ดร.พิชญ์ศักดิ์ จันทร์กุศล | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | ระบบจัดการน้ำโดยน้ำผ่านระบบพลาสมาโอโซไนเซอร์ |
1022 | ดร.ศิริพรรณ จีนะบุญเรือง | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุุมชน การจัดการด้านบรรจุภัณฑ์ การสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การตลาดในรูปแบบดิจิทัล |
1023 | ผศ.วาสนา แก้วโพธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | แปรรูปข้าว แปรรูปปลานิล แปรรูปผักและผลไม้ การยืดอายุการเก็บพริกแกง ผลิตภัณท์ขนมอบ |
1024 | อาจารย์อุส่าห์ บุตรทา | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้ากำลัง |
1025 | นายภูริศักย์ จตุพศ | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้ากำลังและระบบโซล่าเซลล์ |
1026 | นายนิพนธ์ อ่อนจันทร์ | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้า |
1027 | นายธนากร บุญเจริญ | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้า |
1028 | นายณัฐวุฒิ เกิดศิริ | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้ากำลัง |
1029 | นายต่อศักดิ์ อุทรา | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ไฟฟ้ากำลัง โซล่าเซลล์ |
1030 | นายสุพรรณพงษ์ คู่เจริญถาวร | วิทยาลัยเทคนิคนครนายก | ระบบไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ทางการเกษตร |
1031 | นางสาวพัชรินทร์ อินทมาส | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | วิศกรรมไฟฟ้า |
1032 | ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ มครเพศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี | เทคโนโลยีการผลิตมังคุดและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมังคุด |
1033 | ผศ.ทองจวน คุณพุทธิรพี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี | ทำน้ำมังคุด |
1034 | ผศ.วรัญญา โนนม่วง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี | การแปรรูปผักผลไม้ |
1035 | ผศ.ดุสิต ศรีวิไล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี | แพลงก์ตอน / ชีววิทยาทางทะเล / การอนุรักษ์สัตว์น้ำและทรัพยากรทางทะเล |
1036 | ผศ.นฤมล เวชกูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี | การจัดการเลี้ยงดูสุกร |
1037 | ดร. ณัฐวุฒิ วิทา | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การท่องเที่ยว การจัดการการท่องเที่ยว ระบบบริการจัดการโรงแรมและโฮมเตย์ |
1038 | อ.รัฐทิตยา หิรัณยหาด | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การพัฒนาการท่องเที่ยวทางสังคมและวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย การท่องเที่ยวชุมชน |
1039 | ดร. ณรงค์ พันธุ์คง | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | เทคโนโลยีสารสนเทส ระบบธุรกิจออนไลน์สำหรับผู้ประกอบการ การพัฒนาซอฟแวร์และแอฟพลิเคชั่น การใช้คิวอาร์โค้ดเพื่อธุรกิจ |
1040 | ดร. จินดารัตน์ โตกมลธรรม | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง การพัฒนาอาหารท้องถิ่น และพืชผักพื้นบ้าน |
1041 | อ.ณรงค์ศักดิ์ พิทักษ์ตันสกุล | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การจัดการขยะ การปลูกไม้ผล การจัดการดิน |
1042 | ผศ. ธีรเดช เทวาภินันท์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาคิวอาร์โค้ด |
1043 | ผศ.ดร.นิตยา วานิกร | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | เทคโนโลยีการเกษตร การบริการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การกำจัดศัตรูพืช |
1044 | อ.พันธ์ทิพย์ เลิศบุรุษ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ การเฝ้าระวังระบบน้ำทางการเกษตร การประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางน้ำ |
1045 | อ.จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การพัฒนาเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ การพํฒนาอาหารพื้นบ้านชาติพัธุ์ วัฒนธรรมไทยทรงดำ |
1046 | ดร.จุฑาภรณ์ ลิ่มสุวรรณมณี | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การจัดทำตำรับอาหาร เพื่อสุขภาพ |
1047 | นายณัฐอมร จวงเจิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม |
1048 | นายณัฐอมร จวงเจิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม |
1049 | ดร.ปิยมาสฐุ์ ตัณฑ์เจริญระตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเลี้ยง การดูแล การรักษา สัตว์ปีก |
1050 | ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเลี้ยง การดูแล การรักษา สัตว์สวยงาม และสุกร |
1051 | นายสมเกียรติ ตันตา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น |
1052 | นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบ พัฒนา และสร้างเครื่องจักร |
1053 | นายกุลวิชญ์ พานิชกุล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน |
1054 | นายจตุพร โปธา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | มีความเชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพ การตัดต่อวิดีโอ การทำวิดีทัศน์ |
1055 | นายธิติวัฒน์ ตาคำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การออกแบบผังภาคเมือง ด้านภูมิทัศน์ |
1056 | นาย ทวีสิน ปัญญาสีห์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การออกแบบวางผังการจัดสวน |
1057 | นายสุวรรณี เจียรสุุวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร |
1058 | นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence)หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาติ |
1059 | รองศาสตราจารย์นันทรัตน์ นามบุรี | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | แนวคิด เพื่อการพัฒนา การบริหารจัดการการท่องเที่ยว |
1060 | นางสาวศิริพร อ่ำทอง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด |
1061 | รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล |
1062 | รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช |
1063 | ผศ.นภา ขันสุภา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา |
1064 | ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว) |
1065 | นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์พืชผัก |
1066 | ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช |
1067 | ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา |
1068 | นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ | วิทยาลัยชุมชนพังงา | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน / คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ /การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น |
1069 | ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์ข้าว |
1070 | อ.ดร.เขวิกา สุขเอี่ยม | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การดูแลและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความน่าสนใจ การพัฒนาปรับปรุงสินค้าและบริการ |
1071 | นายกวินท์ คำปาละ | วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู | การออกแบบลายขิด |
1072 | นายกวินท์ คำปาละ | วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู | การออกแบบและการผลิตผ้าขิดสลับหมี่ |
1073 | นายกวินท์ คำปาละ | วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู | การพิมพ์ลายด้วยสีธรรมชาติ (ECO PRINT) |
1074 | นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี | วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู | การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ |
1075 | ผู้ช่วยศาสตราจราย์ธันวา ไวยบท | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | ความเชี่ยวชาญ: |
1076 | นายมนตรี ทองเชื้อ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | ความเชี่ยวชาญ:การผลิตสัตว์, การจัดการฟาร์ม |
1077 | รศ.ดร.มานะ อมรกิจบำรุง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เทคโนโลยีพลังงานเเละวัสดุ |
1078 | ผศ.ดร.จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เทคโนโลยีพลังงาน-อุณหภาพ |
1079 | ดร.รุ่งโรจน์ สงค์ประกอบ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | เทคโนโลยีพลังงานสิ่งเเวดล้อมเเละวัสดุ |
1080 | มติ นรารมย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | วิศวกรรม |
1081 | นายสมพร หงษ์กง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | วิศวกรรมเครื่องกล |
1082 | นางสาวสุกัญญา คำหล้า | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | ทรัพยากรการประมง |
1083 | นายอมร ดอนเมือง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร | วิศวกรรมเครื่องกล |
1084 | ผศ.ดร.อรไท ชั้วเจริญ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติประยุกต์ สถิติขั้นสูง |
1085 | ผศ.ดร.ณีรนุช ควรเชิดชู | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | บูรณาการเส้นใยนาโนและสมุนไพรเพื่อใช้รักษาบาดแผล และความงามของผิวพรรณ |
1086 | ผศ.ดร.วชิราภรณ์ อาชวาคม | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | - |
1087 | รศ.ดร.บุญเอก ยิ่งยงณรงค์กุล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การสกัด การแยก และการวิเคราะห์สารสำคัญในสมุนไพร |
1088 | ผศ.ดร.ลินดา บุหงาเรือง | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การใช้ประโยชน์จากพืชและสมุนไพร |
1089 | อาจารย์ อธิปวัฌณ์ อมรปัญญานันท์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง, การจัดการโคเนื้อและโคนม, การจัดการอาหารโคเนื้อและโคนม, สูตรอาหารสัตว์ |
1090 | ผศ.ดร.สัญญา กุดั่น | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การประยุกต์ใช้สารธรรมชาติ จุลินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ในการเกษตรและอุตสาหกรรม |
1091 | อาจารย์ จิรเวฐน์ เพ็ชร์สุทธิ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ขยายพันธุ์พืช การผลิตผัก ไม้ดอกไม้ปรัดับ การแปรรูปพืชผักการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก |
1092 | ผศ. เกษม พฤกษะวัน | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | สาขาเซรามิก |
1093 | อาจารย์ อรรถพล ตะเระ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | โลหะวิทยาและการกัดกร่อน |
1094 | อ.ดร.นวรัตน์ วรอวยชัย | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การกัดกร่อน โลหะผง |
1095 | อ.ดร.วิชิน สืบปาละ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล การจัดการทรัพยากรประมง |
1096 | รศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | นิเวศวิทยาทางทะเล นิเวศวิทยาแนวปะการัง ชีววิทยาปะการัง การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง |
1097 | ผศ.ดร.มาฆมาส สุทธาชีพ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | นิเวศวิทยาทางทะเล, การจัดการสิ่งแวดล้อม, การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง |
1098 | สุทธิพงษ์ โสภา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การพัฒนาสมรรถนะบุคคลในงานอุตสาหกรรม, Light Weight Materials |
1099 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แววดาว พรมเสน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | - งานวิจัยเชิงปริมาณ - ผู้ช่วยจัดกระบวนกร (Facilitator) - การบัญชี |
1100 | ดร.อัญชสา สีนวนแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | |
1101 | ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม |
1102 | ดร.สุภาวดี แช่ม | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์ |
1103 | นางปาริชาติ ณ น่าน | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ |
1104 | ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหารหมักดอง จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ |
1105 | ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช |
1106 | ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา |
1107 | นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การปรับปรุงพันธ์พืชผัก |
1108 | รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช |
1109 | รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล |
1110 | นางสาวศิริพร อ่ำทอง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด |
1111 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติ เอี่ยมชื่น | มหาวิทยาลัยพะเยา | ภูมิสารสนเทศในการน้ำเพื่อชุมชนการเกษตร |
1112 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญฤทธิ์ สินค้างาม | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีการเกษตร |
1113 | นางสาวนภท์ชนก ขวัญสง่า | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ |
1114 | นายนวัตกร อุมาศิลป์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ |
1115 | นางสาวณัฐชนา นวลยัง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ |
1116 | นายกิตติกร ขันแกล้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - พลังงานทดแทน - วงจรไฟฟ้า - ปฏิบัติการวงจรไฟฟ้า |
1117 | นายคณิศร บุญรัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | - ระบบส่องสว่าง - ฮาร์มอนิกส์ในระบบแสงสว่าง |
1118 | นายสุรศักดิ์ เกตุบุญนาค | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | ระบบเครือข่าย |
1119 | ดร.เดือนแรม แพ่งเกี่ยว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า |
1120 | นายศุภชัย ชุมนุมวัฒน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน พลังงานทดแทน ระบบความร้อนและท่อความร้อน |
1121 | ว่าที่ร้อยตรี บุญญฤทธิ์ วังงอน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบน้ำในโรงเรือน |
1122 | นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1123 | ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่ |
1124 | ดร.อัษฎาวุธ สนั่นนาม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านการผลิตและการจัดการฟาร์มสุกร |
1125 | ดร.สุจิตตรา อินทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ |
1126 | นายปิยพงษ์ วงศ์ขันแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตรAgricultural System & Engineering |
1127 | นายวรกฤช ดอนคำเพ็ง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรมบ่อก๊าซชีวภาพสำหรัครัวเรือน เครื่องบรรจุก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน และออกแบบและสร้างเครื่องจักรงานอุตสาหกรรม |
1128 | อ.บุญธรรม แสงแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ใหญ่ |
1129 | อ.สมยศ ศรีเพิ่ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การผลิตไม้ดอก ไม้ผล |
1130 | ดร.ชนะดล สุภาพงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม |
1131 | นวลนพมล ศรีอุทัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม |
1132 | เสกศักดิ์ น้ำรอบ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ |
1133 | ผศ.ชาญณรงค์ ศรีทรงเมือง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การจัดระบบปลูกผักพื้นบ้านเพื่อเศรษฐกิจชุมชน การจัดระบบการปลูกถั่วฝักยาวที่มีผลต่อปริมาณของเพลี้ยอ่อนถั่ว (Aphis glycans Matsumura) และศัตรูธรรมชาติที่สำคัญของเพลี้ยอ่อน |
1134 | อาจารย์ ดร.ศิโรรัตน์ เขียนแม้น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของผลผลิตแห้วอินทรีย์ |
1135 | ผศ.ดร.บงกช สุขอนันต์ | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | หุ่นยนต์ออกแบบเพื่อเคลื่อนที่ในโรงเรือน |
1136 | ผศ.สุวันชัย สินโพธิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | เทคโนโลยีการเกษตร |
1137 | อาจารย์รสสุคนธ์ แย้มทองคำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การท่องเที่ยวชุมชน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ - พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น - บรรจุภัณฑ์ - การตลาด |
1138 | ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านเคมี |
1139 | ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | 1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ 2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง 3.สีย้อมอินทรีย์ |
1140 | Ms.Sitthichai Saeho | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | ผู้เชี่ยวชาญการเลี้ยงกุ้งในต่างประเทศ |
1141 | นางสาววิไล สุทธิจิตรทิวา | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ด้านคหกรรมศาสตร์ |
1142 | นางสาวสมใจ แซ่ภู่ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การตลาด ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ |
1143 | นางสาวฉันทนา ธนาพิธานนท์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้า |
1144 | ผศ.ดร.อภิญญ์พัทร์ กุสิยารังสิทธิ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ประชาสัมพันธ์ โฆษณา สื่อสารการตลาด งานชุมชน |
1145 | นางสาวไอรดา สุดสังข์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ |
1146 | นางสาวเสาวนีย์ รัฐนิธิคุณานนท์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทผ้า การสร้างแบบ ตัดเย็บ |
1147 | นางสุดากาญจน์ แยบดี | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ผ้าและการออกแบบตัดเย็บ ของที่ระลึก แปรรูปจากผ้าพื้นเมือง |
1148 | ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ |
1149 | นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ออกแบบแฟชั่นเสื้อผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์วัสดุธรรมชาติ |
1150 | ดร.นิตินันท์ ศรีสุวรรณ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การท่องเที่ยว |
1151 | นายญาณาธร เธียรถาวร | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | Creative Tourism Cultural Tourism CBT |
1152 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลพร ศรีฟ้า | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | เทคโนโลยีความจริงเสมือน, ความจริงเสริม, การถ่ายภาพใต้น้ำ |
1153 | อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การเตรียมบ่อเพาะพันธุ์ปลาไหลนา |
1154 | นายศิริชัย สาระมนัส | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ |
1155 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวโรฒ บุญราศรี | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | นวัตกรรมยางพารา ถุงมือผ้าเคลือบยางฟองน้ำ |
1156 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ตาลดี | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | ลำไยเพิ่มมูลค่า สารสกัดจากลำไย และโยเกิร์ตเสริมโพลิแซคคาไรด์ลำไย |
1157 | นายศิริชัย สาระมนัส | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ |
1158 | ดร.นพดล เดชประเสริฐ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | บริหารธุรกิจ และการพัฒนาธุรกิจสาขาวิชาการจัดการ การตลาดดิจิทัล และการวิจัย |
1159 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | สุขภาพคน จากสุขภาพสัตว์ |
1160 | ดร.ศุภฤทัย อิฐงาม | มหาวิทยาลัยบูรพา | การผลิตไซรัปอ้อย |
1161 | สนอง กลิ่นเกษร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การถ่ายภาพพื้นผิวและคุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม |
1162 | สุชัญญา มิลาวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | วิเคราะห์วัสดุด้วยเทคนิค Raman Spectrometer |
1163 | พาณิน พูลจักร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | วิเคราะห์วัสดุด้วยเทคนิค UV-Visible Spectrophotometer |
1164 | เอกภพ เกตุสมบูรณ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด |
1165 | นาย ธวิช ตันฑนะเทวินทร์ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | ด้านคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ |
1166 | นาย อภิชาติ พงษา | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | แอปพลิเคชันบัญชีคำนวนต้นทุน |
1167 | รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การวิเคราะห์ระบบเพื่อการวางแผนและจัดการทรัพยากรทางน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและเหตุการณ์รุนแรง(อุทกภัยและภัยแล้ง) การจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมน้ำบาดาล |
1168 | อาขารย์ชญานิน วังตาล | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน |
1169 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์ |
1170 | รองศาสตราจารย์ ดร.ฟ้ารุ่ง สุรินา บุญทิศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | ดาราศาสตร์ การดูดาว ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ อบรมมัคคุเทศก์ชุมชนให้เป็นนักเล่าเรื่องดาวดาว การประยุกต์ใช้ดาราศาสตร์ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การตลาด ผลิตภัณฑ์ ฯลฯ |
1171 | อาจารย์ พรรณพฤกษา จะระ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | การออกแบบภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรม |
1172 | นางสาวธันยกานต์ คูณสิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ทรัพยากรประมง การเลี้ยงปลา |
1173 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติกร จินดาพล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ประมง ทรัพยากรประมง |
1174 | อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ | ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา |
1175 | ผศ.ชำนาญ พร้อมจันทึก | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | ไฟฟ้า |
1176 | ดร.ศานตมน ล้วนวุฑฒิ | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | Electrochemical properties |
1177 | อาจารย์ปริณุต ไชยนิชย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา นิเทศศาสตร์สารสนเทศ ประชาสัมพันธ์และการพูด |
1178 | อาจารย์วรรษา พรหมศิลป์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและบริการ |
1179 | อาจารย์ ดร.ธารนี นวัสนธี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ |
1180 | อ.ดร.สุกาญจนา กำลังมาก | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | 1.สาขาการแพทย์แผนไทย -องค์ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การนวดไทย เภสัชกรรมไทย ผดุงครรภ์ไทย และเวชกรรมไทย 2. สาขาเภสัชศาสตร์ -การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการนำส่งยา โดยใช้องค์ความรู้ ภูมิปัญญา มาประยุกต์ใช้ร่วมกับเทคโนโลยีเภสัชกรรม และการแพทย์แผนไทย |
1181 | อาจารย์ ดร.พรวิชัย เต็มบุตร | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | 1.การแปรรูปสินค้าเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง แปรรูปสินค้าเกษตร สู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ทางด้านอาหารและเครื่องสำอาง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตั้งแต่ การแปรรูป คิดค้นสูตร ออกแบบสูตร ทดลองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น 3.การทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทดสอบคุณสมบัติทางเคมี-กายภาพ คุณสมบัติความคงตัว ทดสอบคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย 4.ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ระบบนำส่งยา การศึกษา ค้นคว้า ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลไกการออกฤทธิ์ของสารสำคัญ ตัวยา |
1182 | ดร.พท.พิรุณรัตน์ แซ่ลิ้ม | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การควบคุมคุณภาพ การศึกษาความคงตัวของสารและผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การศึกษาการต้านเซลล์มะเร็ง การศึกษาฤทธิ์แก้ปวดแก้อักเสบ |
1183 | ดร.พท.ศรสวรรค์ คงภักดี | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | 1.เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมและเภสัชวิทยา การพัฒนาระบบนำส่งสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ต้านอักเสบและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสมุนไพร |
1184 | ดร.พท.ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร |
1185 | นายสิริศักิ์ บุตรกระจ่าง | สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การเพาะเห็ด |
1186 | วิไลวรรณ สิมเชื้อ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | 1.ด้านผ้า การออกแบบและการตัดเย็บ 2.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 3.เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ |
1187 | นายพิชิตร ทองดี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก | การผลิตเครื่องมือเครื่องจรักช่วยในการเพิ่มผลผลิตผ(การพัฒนากระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพ ลดเวลาการผลิต เพิ่มกำลังการผลิตให้มากขึ้นรวมถึงการออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือ อุปกรณ์ในการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน) |
1188 | ผศ.อภิชาติ พันชูกลาง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การจัดการการเลี้ยงจระเข้ |
1189 | ผศ.อภิชาติ พันชูกลาง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การจัดการการเลี้ยงโคเนื้อและการแปรรูป |
1190 | อาจารย์นิพนธ์ มณีโชติ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | ด้านเทคโนโลยีการผลิต |
1191 | นางสุภัทรตรา สุขะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน |
1192 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีการอาหาร |
1193 | ผศ.ดร.สุวลี ฟองอินทร์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Fruit and Vegetable Technology - Phytochemical Analysis - Glass transition and stability of foods - Flavor Chemistry and Analysis |
1194 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | ชีวเคมี ด้านการสกัดสารสำคัญในพืช |
1195 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | ชีวเคมี ด้านการสกัดสารสำคัญในพืช |
1196 | ดร.คุณากร ขัติศรี | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Fruit and Vegetable Processing Technology - Rice and Rice bran oil - Carbohydrate - Fat and Oil - Food Processing |
1197 | ดร.คุณากร ขัติศรี | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Fruit and Vegetable Processing Technology - Rice and Rice bran oil - Carbohydrate - Fat and Oil - Food Processing |
1198 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Postharvest Technology of Fruit and Vegetables - Food Standard - Minimally Processed Fruits and Vegetables, Flavor and Aroma of Horticultural Crop |
1199 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ภัสสร | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีชีวภาพด้านเชื้อรา ชีวเคมีทางด้านการสังเคราะห์ลิปิด และ สารทุติยภูมิในพืช |
1200 | ดร.รวิสรา รื่นไวย์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Fermentation Process, Gene Manipulation in Yeast and Fungi,Lipid Technology |
1201 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ย์ ดร.สุวลี ฟองอินทร์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | - Fruit and Vegetable Technology - Phytochemical Analysis - Glass transition and stability of foods - Flavor Chemistry and Analysis |
1202 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ | มหาวิทยาลัยพะเยา | Microcontroller and Embedded System, Automatic and Smart Systems, Material Physics |
1203 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ | มหาวิทยาลัยพะเยา | Microcontroller and Embedded System, Automatic and Smart Systems, Material Physics |
1204 | ดร.รณกร สร้อยนาค | มหาวิทยาลัยพะเยา | เคมีอาหาร (Food chemistry) ,ผลิตภัณฑ์ขนมหวานและขนมอบ (Confectionery and bakery products) |
1205 | ดร.รณกร สร้อยนาค | มหาวิทยาลัยพะเยา | เคมีอาหาร (Food chemistry) ,ผลิตภัณฑ์ขนมหวานและขนมอบ (Confectionery and bakery products) |
1206 | รศ.ดร.นิวุฒิ หวังชัย | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | การเลี้ยงปลากะพงขาวน้ำจืดในระบบน้ำหมุนเวียน |
1207 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสรา กิจเจริญ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | ระบบการจับคู่ผสมพันธุ์ปลานิล |
1208 | อาจารย์ ดร. สายัณห์ อุ่นนันกาศ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | ฟาร์มต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาว |
1209 | ดร.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การจัดการท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
1210 | ผศ.เมทินี โคตรดี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ |
1211 | อ.วรรณา คำปวนบุตร | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
1212 | ดร.มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การจัดการชุมชน การบริหารการตลาด ต่อยอดสินค้าชุมชน |
1213 | ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น |
1214 | อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น |
1215 | นายสมพงษ์ สุปะมา | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การใช้จุลินทรีย์เพื่อผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ และการพัฒนาแหล่งน้ำ |
1216 | นายสันติ เตือประโคน | มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ | การเลี้ยงจิ้งหรีดในโรงเรือนแบบปิด |
1217 | ผศ.ร่วมฤดี พานจันทร์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1218 | ผศ.ดร.เมธาวี รอตมงคลดี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1219 | รศ.ดร.เอกพล วังคะฮาต | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1220 | นายพัฒนา ภาสอน | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การปลูกพืชผักสวนครัว การปรับแต่งพันธุกรรมพืช |
1221 | ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร |
1222 | ผศ.ชัญญา ทองสวัสดี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น |
1223 | ผศ.ปาริชาติ ศรีสนาม | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น |
1224 | นางชฎาพร เสนาคุณ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร |
1225 | ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช |
1226 | นางพนิดา เหล่าทองสาร | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์ |
1227 | อ.นวรัตน์ เมืองเล็น | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | มาตรฐาน มผช. ตรวจมาตรฐานห้อง Lab |
1228 | ดร.กัมปนาจ เภสัชชา | มหาวิทยาลัยนครพนม | การผลิตอาหารหนูอัดเม็ดใช่เอง ต้นทุนต่ำ |
1229 | ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา | มหาวิทยาลัยนครพนม | ยกระดับผลิตภัณฑ์สับปะรด GI ท่าอุเทน |
1230 | ดร.ธายุกร พระบำรุง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน |
1231 | ผศ.ธันวา ไวยบท | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์(สัตว์ปีก) |
1232 | รองศาสตราจารย์วาสนา เกษมสินธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | การส่งเสริมการมีส่วนร่วมชุมชน การจัดการทุนวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ |
1233 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพิน สมคำพี่ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | ส่งเสริมการเกษตร, เทคโนโลยีการอาหาร |
1234 | ผศ.เรืองฤทธิ์ หาญมนตรี | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | การคัดพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โคขุน ,การประกอบสูตรอาหารต้นทุนต่ า จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น, การจัดการฟาร์ม |
1235 | ผศ.ทาริกา ผาใต้ | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | การเลี้ยงลูกอ๊อก การคัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ |
1236 | ผศ.ทรงทรัพย์ อรุณกมล | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | ทคโนโลยีการเลี้ยงปลา การปลูกพืชไร้ดิน |
1237 | นำยเทพกร ลีลำแต้ม | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | นวัตกรรมอาหารหมักจุลินทรีย์ เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์โค-กระบือ การออกแบบและสร้างเตาพลังงานชีวมวล การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุภายในชุมชน การอบแห้งด้วยลมร้อน |
1238 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต |
1239 | ดร. ชเนษฎ์ วิชาศิลป์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | อุปกรณ์สาหรับพลังงานทดแทน และ พลังงานไฮโดรเจน, เซลล์แสงอาทิตย์ ตัวเก็บประจุและอุปกรณ์พลังงานทดแทน |
1240 | ดร.วิรุณ โมนะตระกูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988 |
1241 | รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ คำผา | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | อาหารสัตว์ และการตลาดปศุสัตว์เกษตร ค้าขายออนไลน์และส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ แปรรูปวัตถุดิบอาหารสัตว์ลดต้นทุนใช้เลี้ยงสัตว์ แปรรูปกากมันสำปะหลังมาหมักยีสต์ใช้เลี้ยงสัตว์ วิทยากรอบรมถ่ายทอดความรู้เกษตรกรทำอาหารลดต้นทุนเลี้ยงสัตว์ และเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เลี้ยงสัตว์ทั่วประเทศ |
1242 | ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากระบวนการผลิต อาหารเฉพาะทาง การนำของเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิต |
1243 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตพืช |
1244 | ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ |
1245 | อาจารย์จิราณี พันมูล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ |
1246 | อาจารย์จง แซ่สง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ |
1247 | นางณัฐสินี ชอบตรง | วิทยาลัยชุมชนพังงา | การจัดการการท่องเที่ยว |
1248 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลทิพย์ กรรไพเราะ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | สอน วิจัย และบริการวิชาการทางด้านการแปรรูปอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เคมีอาหารและศึกษาอายุการเก็บอาหาร รวมทั้งการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร |
1249 | ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65) |
1250 | นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาต |
1251 | นางสาวย่าร่อนะ ศรีอาหมัด | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การเกษตรและการพัฒนาชนบท |
1252 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา |
1253 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสง |
1254 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปผงข้าวแดงปรุงแต่งอาหาร |
1255 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าเพิ่ม |
1256 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ |
1257 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า |
1258 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การทำปุ๋ยอินทรีย์ |
1259 | นาย สุระพล เขียวหวาน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การย่อยสลายฟางข้าว |
1260 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปผลิตภัณฑ์ดินสอพอง |
1261 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปดินสอพอง |
1262 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปดินสอพอง |
1263 | ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปดินสอพอง |
1264 | จิตรลดา ปิ่นทอง | มหาวิทยาลัยบูรพา | ท่องเที่ยวและบริการ |
1265 | ดร.ธนพล อินประเสริฐกุล | มหาวิทยาลัยบูรพา | การจัดการการท่องเที่ยว โรงแรม การบริการ และอุตสาหกรรมการบิน |
1266 | ผศ.ดร.ณัฎฐกานต์ พฤกษ์& | มหาวิทยาลัยบูรพา | การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ, การท่องเที่ยวยั่งยืน, การท่องเที่ยวเกษตร |
1267 | ธินิกานต์ สังข์สุวรรณ | มหาวิทยาลัยบูรพา | การท่องเที่ยวและบริการ |
1268 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มลฤดี สนธิ | มหาวิทยาลัยบูรพา | โรคและพยาธิสัตว์น้ำ |
1269 | รองศาสตราจารย์ ดร.เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล | มหาวิทยาลัยบูรพา | คุณภาพน้ำ, สิ่งแวดล้อมทางน้ำ, นิเวศวิทยาของป่าชายเลน, การประเมินผลก ระทบสิ่งแวดล้อม |
1270 | นางสาวซุฟเฟียนี สนิ | วิทยาลัยชุมชนพังงา | ด้านการจัดหลักสูตรระยะสั้น และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน |
1271 | นายณัฐอมร จวงเจิม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ |
1272 | วิสุทธิ์ กิจชัยนุกูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | การออกแบบลายผ้า |
1273 | อาจารย์ ธีรภัทร์ อนุชาติ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย | เทคโนโลยีท้างด้านอาหาร เทคโนโลยีทางด้านเกษตร เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน |
1274 | นางนิตยา เอกบาง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การส่งเสริมงานด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดการขยะชุมชน |
1275 | นางพรพิมล อริยะวงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การจัดการขยะชุมชน การจัดการบุคคลภาพส่วนบุคคล เศรษฐกิจพอเพียง |
1276 | ดร.ศิริขวัญ ปัญญาเรียน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การจัดการท่องเที่ยวและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน |
1277 | ผศ.ไพโรจน์ ไชยเมืองชื่น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การท่องเที่ยวโดยชุมชน |
1278 | นางสาวเอมอร พิพัฒน์วัฒนะโยธิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การจัดการทางการท่องเที่ยวและการบริการ |
1279 | นางสาวเพียงกานต์ นามวงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและการบริการ |
1280 | ดร.อรทัย บุญทวงค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
1281 | ดร.ปัศนีย์ กองวงค์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
1282 | ผศ.นภาพร ดีสนาม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
1283 | ผศ.นภาพร ดีสนาม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
1284 | ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง | ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน |
1285 | ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | ระบบนำส่งทางผิวหนัง ลิโพโซม นาโนเทคโนโลยี การออกแบบการทดลอง การหาสูตรที่เหมาะสมที่สุด พื้นผิวตอบสนอง นาโนเทคโนโลยีสำหรับเครื่องสำอาง |
1286 | ผศ.เพ็ญนภา มณีอุด | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | ผ้ามัดย้อมรายธรรมชาติ เลือกใช้สีออกแบบลาย |
1287 | นางสาวชุดาภรณ์ ทองจุน | วิทยาลัยชุมชนพังงา | ด้านเศรษศาสตร์และการจัดการ บริหารธุรกิจ |
1288 | นางเบญกาญจน์ นิรัติศัย | วิทยาลัยชุมชนพังงา | ด้านจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน |
1289 | ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร | วิทยาลัยชุมชนพังงา | ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ |
1290 | นายเชาวลิต จันทะวงค์ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อำนวยความสะดวกในการใช้งานประแจขันน็อตและนัท |
1291 | นางสาวอรุณวรรณ มุขแก้ว | วิทยาลัยชุมชนพังงา | คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการชุมชน การท่องเที่ยว |
1292 | นางวรัญญา หัสโรค์ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | นาฬิกาอัจฉริยะใช้ในการตั้งเวลา บอกเวลา ของเครื่องอบข้าว |
1293 | นายธีระ อุ่นเบ้า | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | อุปกรณ์เด็ดก้านพริกในครัวเรือน |
1294 | นายจิรพงศ์ จะเรียมพันธ์ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | เป็นการปิดด้วยทองคำเปลว ทำให้วัตถุหรืองานสถาปัตยกรรมบางสิ่ง เป็นสีทองคำเหลืออร่าม |
1295 | นางอภิญญา เลิศล้ำ | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าจากวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น |
1296 | ดร.พุทธพร บุณณะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การจัดการธุรกิจเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว การจัดการตลาดท่องเที่ยวเชิงเกษตร การนำเที่ยวเชิงเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร สุขภาวะแบบองค์รวม ผู้ดำเนินการสปา Spa Manager |
1297 | อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร |
1298 | นายทนงศักดิ์ ธาตุชัย | มหาวิทยาลัยนครพนม | -เทคนิคการผลิตสุกรในระบบฟาร์มแบบปิด (EVEP) และระบบเปิด - เทคนิกการผลิตโคเนื้อ |
1299 | ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน |
1300 | อาจารย์ กุลสตรี ปริญญา | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ |
1301 | ดร.วาสนา ศรีนวลใย | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การพัฒนาชุมชน การสื่อสารชุมชน |
1302 | นายนิกร สาระการ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | มัคคุเทศก์ ท่องเที่ยวชุมชน |
1303 | นายสมพร สาระการ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | มัคคุเทศก์ ท่องเที่ยวชุมชน การบันทึกข้อมูลผลิตภัณพ์ อ.ย. ขลู่ สครับจากเปลือกหอย |
1304 | อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ | มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต | การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต |
1305 | อาจารย์ธนภัทร วรปัสสุ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | การเลี้ยงปลาหมอ และการเพาะพันธุ์ปลาหมอ การเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย |
1306 | ผศ.ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | การเลือกใช้วัสดุศาสตร์ |
1307 | รศ.ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | เทคโนโลยีเซรามิกส์ |
1308 | รศ.ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | การนวดด้วยลูกประคบ |
1309 | ผศ.ธันวา ไวยบท | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ | เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ |
1310 | อ.อ้อมใจ บุษบง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | ผู้ประกาศทางโทรทัศน์และวิทยุฯ |
1311 | อ.ทิฐฐาน เนียมชูชื่น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | การถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ |
1312 | ผศ.ดร.ฤทัยรัตน์ สุทธิสุวรรณ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพรไทย |
1313 | ดร.ณัฏฐวรวีร์ มานพพงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจแฟชั่นการตลาด - การจัดการ - บริหารรัฐกิจ |
1314 | อาจารย์วรัญตรี ฉลาดสุนทรวาที | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | การสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายกีฬาเพื่อเสริมศักยภาพการออกก าลัง กายประเภทวิ่งเหยาะที่ตอบสนองพฤติกรรมและไลฟ์สไตล์กลุ่มผู้สูงวัยในปัจจุบัน |
1315 | อ.วรรณนิสา แก้วบ้านกรูด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ | วิทยาศาสตร์สุขภาพและความงาม |
1316 | นายพัดยศ เพชรวงษ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร | - นวัตกรรมทางการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงวิถีชุมชน - การจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว - กฎหมายและจรรยาบรรณทางการท่องเที่ยว |
1317 | นางสาวศุภวรรณ กุศลธรรมรัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร | - การท่องเที่ยว - การประสานงาน - การดำเนินเรื่องเอกสารต่าง ๆ - นวัตกรรมทางการท่องเที่ยว - การวิจัยแบบมีส่วนร่วม - การจัดเลี้ยงและงานบริการ - บริหารจัดการเอกสารในเรื่องของการเงิน และพัสดุ - การทำสื่อประชาสัมพันธ์ Infographic |
1318 | นางสาวสุมนา ปานสมุทร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | 1.นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ 2.วัสดุนาโน 3.การเคลือบผิวนาโนคอมโพสิต ใช้ในการเคลือบเนื้อทุเรียนในการแช่แข็งเพื่อยืดอายุของเนื้อทุเรียน และสารชีวภาพ ในการทดแทนสารเคมี |
1319 | นางสาววาริิน กรวยทอง | วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก | การทำไวท์ จากผลไม้ |
1320 | นาง สมพร เกตุผาสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ศึกษาการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตไข่ของเป็ดไข่สาวทีเลี้ยงด้วยหอยเชอรี่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารโดยเก็บข้อมูลน้ำหนักและจำนวนไข่ของเป็ดสาว |
1321 | นางจันทร์เพ็ญ อินทอง | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีการหมักดอง |
1322 | นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ตู้ฟักไข่จากกล่องพลาสติกแบบกลับไข่อัตโนมัติออกแบบและสร้างพัฒนาหาประสิทธิภาพการทำงาน และประเมินความพึงพอใจที่มีต่อตู้ฟักไข่จากกล่องพลาสติกแบบกลับไข่อัตโนมัติ |
1323 | นางสาวศุฐิษา เผ่าจันทวงค์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | โครงการปลูกกระชายตามมาตรฐานGAP(มกอช.) |
1324 | ดร.นุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ธนาคารไข่พัก |
1325 | ดร.นุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีอนุรักษ์พันธุกรรมไรน้ำกาบหอย |
1326 | ดร.นุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีอนุรักษ์พันธุกรรมกุ้งน้ำจืด |
1327 | ดร.นุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การใช้ไรน้ำนางฟ้าอนุบาลลูกปลาบู่ทราย |
1328 | ดร.นุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | กุ้งน้ำจืดไทยและศักยภาพการใช้ประโยชน์ |
1329 | ดร.นุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การเพาะเลี้ยงและผลิตไข่ไรแดงสยาม (Moina siamensis n. sp.). |
1330 | นางสาวศศิรภัทร์ เกาะแก้ว | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีพลังงานทดแทน |
1331 | นางสาวอังควิภา อาจไธสง | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีการผลิตเห็ด |
1332 | นางรักชนก กิมสงวน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีการผสมเทียมปลา |
1333 | ศิริพันธ์ แสงมณี | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล |
1334 | นางจันทร์เพ็ญ อินทอง | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์แยม |
1335 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนา ปัญญาวราภรณ์ | มหาวิทยาลัยบูรพา | Image Processing and Video Coding |
1336 | ดร.จันทร์จรัส วัฒนโชติ | มหาวิทยาลัยบูรพา | เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล |
1337 | ดร. ขวัญใจ หรูพิทักษ์ | มหาวิทยาลัยบูรพา | Plant Breeding |
1338 | ผศ.น.สพ.ประยุทธ กุศลรัตน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การจัดการสุขภาพสัตว์ ปรสิตวิทยา |
1339 | นายชญภพ บุญทาศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย | วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ |
1340 | ผศ.ดร.กุลยา สารชีวิน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การบริหารจัดการโครงการ วางแผนและควบคุมดูแลโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย งานทางด้านสิ่งแวดล้อม วิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรม |
1341 | ดร.ศิริพร มิขำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กราฟิกดีไซน์ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการท่องเที่ยว |
1342 | อาจารย์มีนา ระเด่นอาหมัด | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | มีประสบการณ์ในงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์หัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว |
1343 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | - การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC - นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine) |
1344 | ดร.เสกสรร วงศ์ศิริ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | เคมีอาหาร นํ้านมและผลิตภัณฑ์ ผักผลไม้และ ผลิตภัณฑ์ สีใน อาหารและการ เปลี่ยนแปลง เอนไซม์ในอาหารฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นในอาหาร |
1345 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี บัวระภา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | พืชอาหารสัตว์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก |
1346 | รองศาสตราจารย์ ดร.เกชา คูหา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การวางแผนการทดลอง |
1347 | นางสาวชวันรัตน์ มีคล้าย | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1348 | นางสาวพรรณรพี ธนรพิพรรณ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย | การทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ |
1349 | ผศ.ปกกสิณ ชาทิพฮด | มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร | ความเชี่ยวชาญ : ภาษาและวรรณกรรมไทย, คติชนวิทยา, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, วัฒนธรรมศึกษา, การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรม, เทคโนโลยีสิ่งทอ, การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและภูมิปัญญา |
1350 | นางวรรณิศา ทิพย์ปัญญาไชย | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การแปรรูปอาหาร การวิเคราะห์ทดสอบผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ที่ปรึกษาการยื่นขอการรับรองมาตรฐานอาหารและยา (อย.) ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม |
1351 | อาจารย์ ดร. กัลยรัตน์ พินิจจันทร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การจัดการ การค้า การตลาด |
1352 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยา สุขจันทรา | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | - การพัฒนายกระดับสถานที่ผลิตอาหารให้เป็นไปตามมาตรฐาน - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์ |
1353 | นางสาวปาริชาต ราชมณี | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลโรงงาน |
1354 | พุทธชาติ อิ่มใจ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1355 | ผศ.วันทนีย์ พลวิเศษ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร |
1356 | ว่าที่ร้อยตรีวุธเมธี วรเสริม | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | การเพาะพันธุ์กบนานอกฤดู การสร้างระบบควบคุมอุณหภูมิสำหรับพ่อแม่พันธุ์บนาเพื่อเพาะในฤดูหนาว เพาะขยายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจได้หลายชนิด เพาะขยายพันธุ์ปลาสวยงามได้หลายชนิด |
1357 | อ.ดร.ฐานิดา ศรีหาวงศ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสัตว์ สมุนไพรสำหรับสัตว์ |
1358 | อาจารย์ธนิษฐ์นันท์ บุญศรีชนะ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | การแปรรูปอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
1359 | ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การเลี้ยงใส้เดือน |
1360 | ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การแปรรูปข้าวและการเพิ่มมูลค่าข้าว |
1361 | ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การบริหารจัดการพื้นที่ด้านการเกษตร และที่อยู่อาศัญ |
1362 | อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การผลิตถ่านไบโอชาร์ โดยใช้วิธีการอบไม้ |
1363 | อาจารย์วราภรณ์ จันทร์เวียง | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การแปรรูปมะเขือเทศราชินีอบแห้ง |
1364 | ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การวิเคราะห์คุณภาพทางโภชนาการ |
1365 | ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | ระบบการถ่ายโอนความร้อนการที่พลังงานความร้อนถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า พลังงานความร้อนจะหยุดถ่ายโอนเมื่อวัตถุมีอุณหภูมิเท่ากัน |
1366 | ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | เทคโนโลยีพลังงานเก็บเกี่ยว |
1367 | อาจารย์ กมลรักษ์ แก้งคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การบริหารจัดการเกษตรสมัยใหม่ ออกแบบและแปรรูปผลิตภัณฑ์ ลดต้นทุนการผลิต |
1368 | ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | พลังงานเเละ เทคโนโลยีทางการเกษตร |
1369 | ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | สเปรย์ที่สกัดมาจากมิ้นต์ มีสรรพคุณช่วยในการบรรเทาอาการปวดศรีษะ ลดอาการหวัด ลมหายใจสดชื่น |
1370 | ดร.รัชวุธ สุทธิ | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วยปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยไม่กลับกลอง |
1371 | ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน |
1372 | อาจารย์สุนันท์ สีพาย | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงขึ้นนี้เป็นการนำสมุนไพรที่มีในพื้นที่ คือตะไคร้หอม นำมาสกัดและแปรรูปเป็นเทียนหอมสมุนไพร ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากรหลายๆ คน จนทางกลุ่มได้มาปรับแก้ไขในจุดที่ยังขาดตกบกพร่องให้สมบูรณ์แบบที่สุด |
1373 | ว่าที่ร้อยตรี ธรรมนูญ ม้าวิเศษ | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การแปรรูปผงกล้วยหอมทอง |
1374 | นาง สมพร เกตุผาสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | |
1375 | นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาการเลี้ยงไก่ไข่โดยการเปรียบเทียบสูตรอาหารโดยใช้เปลือกไข่ป่นแทนเปลือกหอยป่นในอัตราส่วนที่ต่างกัน |
1376 | นาง สมพร เกตุผาสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบารี่โดยใช้ใบกระถินป่นแห้งทดแทนมันสำปะหลังป่นแทนแห้งในอาหารสูตร |
1377 | นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาผลผลิต และต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบาบารี่โดยใช้ใบกระถินแห้งแทนกากเมล็ดนุ่นในสูตรอาหาร |
1378 | นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการผลิตการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้มันสำปะหลังป่นทดแทนใบกระถินป่นในสูตรอาหาร |
1379 | นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการปลูกหญ้าเนเปียร์โดยใช่มูลสุกรในระดับที่ต่างกัน |
1380 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม | มหาวิทยาลัยบูรพา | ผลิตการเกษตร |
1381 | ดร.วีรภรณ์ โตคีรี | มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวและการบริการ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ |
1382 | นายปราสาท จุลพวก | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การจัดการดิน การปลูกอ้อย |
1383 | อาจารย์เกศระวี ปานทับ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์ |
1384 | ดร.อริสรา อิสสะรีย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี | การสกัดสารจากธรรมชาติ การสกัดสารเพื่อใช้ทางด้านเวชสำอางค์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์ |
1385 | นายมิตร พุดซ้อน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | ระบบไฟฟ้า และบริหารการจัดการนำ้ |
1386 | นายณรงค์เดช ณ พิโรจน์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การบำรุงรักษาลัตว์เบื้องต้น การเลี้ยงสุกร |
1387 | นายมานิตย์ จันทวงศ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก การขับโดนการเกษตร และการบริหารการจัดการนำ้ |
1388 | นายสมเกียรติ นิตพงศ์สุวรรณ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การผลิตอาหารสัตว์ การเลี้ยงสุกร |
1389 | นางศยามล นิติพงศ์สุวรรณ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การผลิตอาหารสัตว์ |
1390 | นางนุกูล ประเสริฐดี | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การจัดการฟาร์มการเลี้ยงโคนม โคเนื้อการ |
1391 | นายดำรง ด้วงแห้ว | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย | การเพาะเห็ดแบบครบวงจร เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดโคนน้อย |
1392 | ดร.วิไลวรรณ ไชยศร | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐานต่างๆ |
1393 | อาจารย์ ดร.ธนา จักษ์เมธา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร, Anti-inflammatory, Antimicrobial and Anti-cancer activities, Antioxidant activity |
1394 | อาจารย์พิริยา ชนสุต | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร, Anti-estrogenic activities, Anti-cancer activities, Cytotoxic activity, Galactogogue activities, Antioxidant activity |
1395 | ดร. พท. เสถียรพงษ์ ภูผา | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การแพทย์แผนไทย และสมุนไพร |
1396 | ดร.ธัญจิรา เทพรัตน์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | บริหารจัดการและขับเคลื่อนธุรกิจไก่เบขลาจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ |
1397 | ดร.ศุภนนท์ ตู้นิ่ม | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา |
1398 | ผศ.ดร.ประพจน์ มะลิวัลย์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา |
1399 | ดร. สุภัทรา พงศ์ภราดร | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สาหร่ายทะเล |
1400 | ศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา ประเทพ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล หญ้าทะเล สาหร่ายทะเล |
1401 | สพ. ญ. ชญานิศ ดาวฉาย | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในทะเลไทย |
1402 | ดร. เอกลักษณ์ รัตนโชติ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง |
1403 | นายปิยะลาภ ตันติประภาส | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ชีววิทยาและนิเวศวิทยาหญ้าทะเล |
1404 | นางสาวจันทร์มณี ปัญญาไว | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | นิเวศวิทยาระบบนิเวศหญ้าทะเล และ พะยูน |
1405 | รศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก การจัดการฟาร์ม และการแปรรูปแพะ |
1406 | นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การสกัดสมุนไพร |
1407 | นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | |
1408 | นาง สมพร เกตุผาสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ผลการเสริมขมิ้นชันผงในอาหารไก่ไข่อินทรีย์เพื่อเพิ่มสีไข่แดง |
1409 | นาง สมพร เกตุผาสุข | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงโดยใช้ผักตบชวาป่นแห้งแทนใบมันสำปะหลังป่นแห้งในสูตรอาหารเป็ดปักกิ่ง |
1410 | นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดชนิดต่างๆภายใต้แสงเทียมในระบบโรงเรือน |
1411 | นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาอัตราการงอกของพริกซุปเปอร์ฮ็อตที่ใช้สารSPEED B1 EXTRA PLUS ต่างอัตราส่วน |
1412 | นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ศึกษาอัตราการงอกของคื่นฉ่ายโดยใช้วัสดุเพาะต่างกัน |
1413 | นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท |
1414 | นายสมบูรณ์ มัจฉา | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน |
1415 | นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | การนวดด้วยลูกประคบสมุนไพร |
1416 | ศ. ดร.นพิดา หิญชีระนันทน | สำนักงานปลัดกระทรวง | Chemical modification of rubbers and polymers ,Upgrading of pyrolysis oils derived from biomass or solid wastes |
1417 | รศ. ดร.ศิริลักษณ์ พุ่มประดับ | สำนักงานปลัดกระทรวง | Polymer Science and Technology; Rubber Science and Technology; Composite materials and Reinforcement; Reclaimed rubber; Rubber for carbon dioxide capture |
1418 | รศ. ดร.กนกทิพย์ บุญเกิด | สำนักงานปลัดกระทรวง | Smart materials utilizing the piezoelectric and dielectric properties , Polymers and composite materials for electronic application ,Bio-nanocomposites ,Cellulose |
1419 | รศ. ดร.กนกทิพย์ บุญเกิด | สำนักงานปลัดกระทรวง | การพัฒนายางธรรมชาติสำหรับการใช้งานขั้นสูง , การพัฒนาสารตัวเติมสำหรับยางจากวัสดุเหลือทิ้งจากเกษตรกรรม ,การพัฒนาโฟมยางสำหรับใช้เป็นวัสดุตกแต่งอาคาร ,การพัฒนาเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์ |
1420 | รศ. ดร.ศิริลักษณ์ พุ่มประดับ | สำนักงานปลัดกระทรวง | Polymer Science and Technology; Rubber Science and Technology; Composite materials and Reinforcement; Reclaimed rubber; Rubber for carbon dioxide capture |
1421 | ศ. ดร.ดวงดาว อาจองค์ | สำนักงานปลัดกระทรวง | Biobased and biodegradable plastics , Nanocelluloses, nanostarches, and nanofibers , Polymer composites and nanocomposite materials ,Materials recycling and agricultural wastes utilization, Mechanochemistry and microwave assisted chemistry and processing |
1422 | ศ. ดร.สุวบุญ จิรชาญชัย | สำนักงานปลัดกระทรวง | Supramolecular chemistry , Biopolymers: chitosan ,Nanomaterials ,Bioplastics , Polymer electrolyte membrane fuel cells |
1423 | รศ. ดร.ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์ | สำนักงานปลัดกระทรวง | Bioplastics compounding ,Reactive blending of bioplastics ,Modification of bioplastics ,Novel methods for bioplastics fabrication ,shelf-life of bioplastics ,Carbon dioxide derived plastics ,Silica derived from rice husk ash and its application in life science |
1424 | Assoc. Prof. Dr Stephan Thierry Dubas | สำนักงานปลัดกระทรวง | Polymer nano-thin films , Nanoparticles synthesis , Polyelectrolyte multilayers ,Active membranes for energy devices , Layer-by-layer |
1425 | นายวรุณ วารัญญานนท์ | สำนักงานปลัดกระทรวง | Specialize in leading an academic-to-business collaboration ,Specialize in municipal waste management and implementation ,Specialize in Industrial chemical cleaning and hazardous chemical decontamination services ,Specialize in Mercury decontamination and waste management ,Lead a successful business expansion in Indonesia in 2015, Vietnam in 2014, and Singapore in 2009 ,Initiating and lead a successful Merger and Acquisition agreement ,Over 10 years of experiences in managing project-based business ,Specialize in overseas business expansion |
1426 | อาจารย์ดวงดาว ภูครองจิตร | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การแปรรูปผลิตภัณฑ์หน่อไม้ |
1427 | อาจารย์สิทธิศักดิ์ เตียงงา | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การเลี้ยงปลาดุกและการแปรรูป |
1428 | ศ. ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล | สำนักงานปลัดกระทรวง | - Electroanalytical chemistry - Flow analysis - Biomarker detection - Nanomaterials - Microfluidic devices |
1429 | อภิชาติ สุวรรณชื่น | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | |
1430 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ | มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization |
1431 | ผศ.ดร. สมพร ศรีวัฒนพล | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มโลจิสติก การวางระบบเซนเซอร์สำหรับวัสดุพืชผลเกษตรกรรม |
1432 | อาจารย์ สินมหัต ฝายลุย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ พลาสติกเพื่องานอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนวิทยาศาสตร์ อากาศยานจำลองและขนาดเล็ก |
1433 | รศ. ดร.ประมุข อุณหเลขกะ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | "Power System and Protection, Energy Storage, System Energy Management, Risk Assessment" |
1434 | ดร.สุวิทย์ สมสุภาพรุ่งยศ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | Internet of things, Electrical |
1435 | ผศ. ดร.วารุณี ศรีสงคราม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยี, การควบคุมระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ( ระบบ IOT /นิวเมติก / โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์/ การควบคุมระบบต่างๆ), พลังงานทดแทน ( การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ /พลังงานลม ),งานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง (การวิเคราะห์การเกิดทรานเซียนบนอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง , การตรวจวัดการเกิดดีสชาจน์) |
1436 | ผศ.ประวิทย์ ตฤณรัชตเมธี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | อุตสาหกรรมการผลิต ระบบการผลิต การวางแผน การจัดการ การลดต้นทุนกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ |
1437 | ดร.นฎาภัสส์ คุ้มกลาง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | แปรรูปอาหาร, การผลิตเอทานอลจากกระบวนการ fermentation และการทำให้บริสุทธิ์ สารสกัดการต้านอนุมูลอิสระ การต้านการอักเสบ |
1438 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | โภชนาการอาหารม้า |
1439 | นางสาวกมลพร สิทธิไตรย์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยี่ทางการเกษตร |
1440 | ดร.เผชิญวาส ศรีชัย | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด |
1441 | ดร.เผชิญวาส ศรีชัย | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด |
1442 | ดร. วรินพร กลั่นกลิ่น อาจารย์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร |
1443 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ทองท้วม | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | พลังงานทดแทน, |
1444 | ศิริภรณ์ โคตะมี | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิเคราะห์คุณภาพสัตว์น้ำ |
1445 | ดร.วิวรรธน์ แก่นสา | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | การแปรรูปพืชผลทางการเกษตร สัตว์ ผลไม้ ฯลฯ |
1446 | อาจารย์อพิศรา หงส์หิรัญ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1447 | ผศ.ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชียวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ และปลาสวยงาม |
1448 | ผศ.ดร.จารวี เลิกสายเพ็ง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1449 | อาจารย์วรกฤช ดอนคำเพ็ง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรมบ่อก๊าซชีวภาพสำหรัครัวเรือน เครื่องบรรจุก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน และออกแบบและสร้างเครื่องจักรงานอุตสาหกรรม |
1450 | อาจารย์ณวรรณพร จิรารัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตสัตว์ |
1451 | อาจารย์จันทรา สโมสร | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม และการผลิตอาหารสำหรับโครีดนม |
1452 | ดร.พรศิลป์ แก่นท้าว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงโค-กระบือ |
1453 | อาจารย์รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการความรู้ และการวิเคราะห์ผลกระทบ |
1454 | อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด | การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงแมลงโปรตีนเพื่อเป็นอาหารสัตว์ |
1455 | ผศ.ดร.นววรรณ ทองมี | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Electroceramics, Ferroelectric ceramics, Materials characterizations and processing |
1456 | ผศ.ดร.ธนวัตร์ คล้ายแท้ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Physics/Material Sciences, Electroceramics, Ferroelectric ceramics, Materials characterizations and processing |
1457 | ผศ.ดร.ไกรลาส มาตรมูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Digital Signal Processing, Electronics and Computer Programming, Physics/Material Sciences, Ferroelectric ceramics, Materials characterizations and processing |
1458 | ผศ.ดร.กฤษ สุจริตตั้งธรรม | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Electroceramics, Material Sciences, Biopolymer materials, Material processing, Material characterization |
1459 | รศ.ดร.รัตน์ติพร สำอางค์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Applies Physics, Material Sciences, Electroceramics |
1460 | นายกษมะ ดุรงค์ศักดิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม | Physics/Material Sciences, Nuclear Technology, Industrial Radiation Application, MCNP Simulation |
1461 | จิระศักดิ์ ธาระจักร์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | เทคโนโลยีวัสดุ |
1462 | ผศ.ดร.วรนุช ดีละมัน | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การแปรรูปของเสียจากภาคการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าลดปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม |
1463 | รศ.ดร. วิไลวรรณ ลีนะกุล | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | อุตสาหกรรมเซรามิก แก้ว วัสดุทดแทนจากของเหลือใช้ทางการเกษตร |
1464 | นางสาวอารีรัตน์ บริบูรณ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ภาษาอังกฤษ / การสอนภาษาอังกฤษ |
1465 | ดร.จรัสพิมพ์ วังเย็น | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ และของที่ระลึก |
1466 | อ.ศักดิ์ชัย อินจู | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | เทคโนโลยีการพัฒนากระบวนการผลิต และออกแบบผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า |
1467 | อ.กิตติวัลย์ ทองอร่าม | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การพัฒนาศักยภาพการผลิต |
1468 | ผศ.ดร.ไชยวัฒน์ ไชยสุต | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | เทคโนโลยีการสกัดสมุนไพรทำเครื่งสำอาง อาหารเสริมจากสมุนไพร |
1469 | ดร.วศิน วงศ์วิไล | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร , องค์ความรู้ในการเลี้ยงจิ้งหรีด |
1470 | พท.ป.รัฐพรรณ สันติอโนทัย | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนเทคโนโลยีทางเครื่องสำอาง ยา และเวชสำอาง |
1471 | นายนำโชค ชมกระโทก | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ |
1472 | อ.ดร.สุวรนี ปานเจริญ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร |
1473 | ผศ.ดร.สุกัญญา พยุงสิน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | ด้านการตลาด |
1474 | อ.ดร.สุธิษา เชญชาญ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | ด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ |
1475 | อ.ดร. สุดารัตน์ ขัดสาย | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | ด้านวิทยาศาสตร์ |
1476 | ผศ.สุไหลหมาน หมาดโหยด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ การปรับปรุงพันธุ์ การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ สารสกัดยับยั้งเชื้อก่อโรคในสัตว์น้ำ |
1477 | ดร.เศรษฐวัฒน์ ถนิมกาญจน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | วิศวกรรมเกษตร |
1478 | รศ.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การพัฒนาระบบการผลิตและระบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน สำหรับโรงงานและผู้ประกอบการโอทอป การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุนดำเนินงาน การออกแบบระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับโรงงาน |
1479 | พิชญ์ชาญ ศรีเจริญ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | เคมี เคมีมีวิเคราะห์ เคมีเครื่องสำอาง วัสดุศาสตร์ การสังเคราะห์ทางเคมี |
1480 | รศ.ดร.ภญ. วรินธร รักษ์ศิริวณิช | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | ปรับปรุงสูตรเบสสบู่ และกระบวนการผลิต |
1481 | ผศ.นฤมลวรรณ สุขไมตร | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม |
1482 | ผศ.ดร.อุษณี จิตติมณี | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การออกแบบและพัฒนาลวดลายผลิตภัณฑ์ |
1483 | ผศ.ดร.สุนทรีย์ วิพัฒครุฑ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี | การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์ |
1484 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เณริศา ชัยศุภมงคลลาภ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | การท่องเที่ยว เทคโนโลยีการสื่อสาร การสื่อสารชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชน การเล่าเรื่องข้ามสื่อ |
1485 | นางสาว ดุริยางค์ คมขำ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคนิคการพูดและการนำเสนอ เทคนิคการเป็นพิธีกร บุคลิกภาพ การเขียนคอนเทนต์ |
1486 | รศ.ดร.รุ่งรวี จิตภักดี | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง | นวัตกรรมการจัดการท่องเที่ยวชุมชน การประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว |
1487 | นายบดินทร์ ยอดประดิษฐ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย | การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร |
1488 | นายคมกริช บุญวงค์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย | ช่างไฟฟ้า |
1489 | อาจารย์สุภภณ พลอยอิ่ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1490 | อาจารย์ปุณณะวุทฒ์ ยะมา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก | มีความเชี่ยวชาญทางด้านสรีรวิทยาทางการสืบพันธุ์ |
1491 | ธรรมรัตน์ บุญสุข | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | มีความเขี่ยวชาญ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมกราฟฟิค การสร้างแบบด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้เครื่องมือเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมเครื่องหนัง |
1492 | นางสาว พรพิมล ควรรณสุ | มหาวิทยาลัยนครพนม | การแปรรูปอาหารฟังก์ชันจากสับปะรด |
1493 | นาง ภัทราวดี วงษ์วาศ | มหาวิทยาลัยนครพนม | ความเชี่ยวชาญในด้านจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร ความปลอดภัยของอาหาร |
1494 | นางสาว กฤติกา ชุณห์วิจิตรา | มหาวิทยาลัยนครพนม | -สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและเทคโนโลยีการการแปรรูปในผัก ผลไม้และสมุนไพร -พิษวิทยาในอาหารและระหว่างการแปรรูปอาหาร -การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ -การตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร |
1495 | อาจารย์ สิริยาพร สาลีพันธ์ | มหาวิทยาลัยนครพนม | การออกแบบแต่งกายรูปแบบอนุรักษ์ การออกแบบแต่งกายแฟชั่น(สมัยนิยม)จากผ้าทอพื้นเมือง |
1496 | นางสาว จรินทร โคตพรม | มหาวิทยาลัยนครพนม | 1.การนำองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมนุนไพร มาประยุกต์ใช้การดูแลสุขภาพอาทิเช่น การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ หรือการแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้น 2.การนำองค์ความรู้ทางการพยาบาลในด้านการป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟู และส่เงสริมสุขภาพ |
1497 | นางสาววนิดา ถาปันแก้ว | มหาวิทยาลัยนครพนม | กระบวนกรค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้า ลายผ้า บรรจุภัณฑ์ผ้าทอ และจักสาน,กระบวนกรวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชนและผู้ประกอบการ, การทำการตลาดออนไลน์, งานด้านการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น |
1498 | ดร.เกชา ลาวงษา | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | ด้านผ้า การออกแบบและการตัดเย็บ การออกแบบแฟชั่นและการจัดการสินค้า |
1499 | นายรุ่งโรจน์ สุพงษ์วิบูลพันธ์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | เทคโนโลยีโรงเรือน เทคโนโลยีเครื่องจักร IoT (Internet of Things) , robot, Smart Farming Technology |
1500 | ผศ.ลักขณา จาตกานนท์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | ผ้าและการตัดเย็บ |
1501 | ผศ.ศรัทธา แข่งเพ็ญแข | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | ด้านผ้าและการตัดเย็บ |
1502 | ผศ.สรรษนีย์ เต็มเปี่ยม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช | ผ้าและการตัดเย็บ |
1503 | รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา มิ่งฉาย | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การพัฒนาพลังงานทางเลือกทางการเกษตร |
1504 | ผศ.ฐิติพร เทียรฆนิธิกูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหารเพื่อให้ได้มาตรฐาน |
1505 | อาจารย์ โอปอลล์ รังสิมันตุชาติ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | เทคโนโลยีการจัดการชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ |
1506 | ผศ.ศรีไพร สกุลไพร | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การตลาดและการขายออนไลน์ |
1507 | ผศ.ดร.สุภาพร พงษ์ธรพฤกษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรสู่การเป็นวัสดุบำรุงดินและอื่น ๆ |
1508 | รศ.ดร.สิริวดี พรหมน้อย | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | เทคโนโลยีการจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนปศุสัตว์ |
1509 | รศ.ดร.สิริวดี พรหมน้อย | มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ | เทคโนโลยีการจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนปศุสัตว์ |
1510 | ดร.สุณิษา คงทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | สารเสริมสุขภาพและอาหารเพื่อสุขภาพ เภสัชวิทยา (pharmacology) |
1511 | ดร.สุณิษา คงทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบสารเสริมอาหารจากพืชกระท่อมชนิดผงไมโครแกรนูลต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและสุขภาพลำไส้ในไก่เนื้อ |
1512 | อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | อายุรศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง |
1513 | อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | พืชอาหารสัตว์ คุณค่าทางโภชนะ |
1514 | น.สพ.จตุรพัฒน์ คำแป้น | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การตัดแต่งชิ้นเนื้อ |
1515 | ว่าที่ร้อยตรีสมหมาย แก้วมณี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ |
1516 | ผศ.ดร.กฤตยา หนูสาย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | กลุ่มสาขา Natural Sciences เทคโนโลยีการสกัดสีจากธรรมชาติสำหรับใส่ในอาหาร การใช้สีจากธรรมชาติในการทำผ้ามัดย้อม |
1517 | ผศ.จุฑาทิพย์ อาจชมพู | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เทคโนโลยีการผลิตหมอนยางพารา ผลิตภัณฑ์ยางพารา |
1518 | นางสาวนวลนพมล ศรีอุทัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | กลุ่มสาขา Natural Science โภชนะศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง,การผลิตโคนม,การผลิตสุกร |
1519 | อาจารย์ศรัณยู เหลาพา | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | การใช้วงจรไฟฟ้าเกียวกับ sensor ของงานอุตสาหกรรมในระบบอัตโนมัติ (PLC (Mitsubishi FX5U)) เพื่อควบคุมขบวนการทำงานใน line อุตสาหกรรม |
1520 | ผศ.ดร.เชิดพงษ์ เชี่ยวชาญวัฒนา | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมเครื่องจักรกล |
1521 | ศ.ดร.ศิริธร ศิริอมรพรรณ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การทำผงแจ่วฮ้อน ข้าวลดเบาหวาน ผงแกงอ่อม ข้าวชงดื่มลดเบาหวานรสกาแฟและรสโกโก้ ชาใบอ่อนข้าว |
1522 | นายธงชัย อุปแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | 1.งานด้านจัดตกแต่งสถานที่ภายใน ภายนอก 2.งานด้านออกแบบด้านภูมิทัศน์ |
1523 | นายกรภัทร เฉลิมวงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา | การควบคุมอัตโนมัติ,เซนเซอร์ทรานสดิวเซอร์ |
1524 | นายปิติพงศ์ เกิดทิพย์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา | ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ |
1525 | ผศ.ดร.เชิดพงษ์ เชี่ยวชาญวัฒนา | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมเครื่องจักรกล |
1526 | อาจารย์ ดร. สุพัตรา บุตรเสรีชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ | เครื่องกลั่นสมุนไพรด้วยระบบไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน |
1527 | ดร.ชณัฐ วิพัทนะพร | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมเครื่องกล |
1528 | ผศ.ดร.โสภา แคนสี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมเครื่องกล |
1529 | ผศ. ดร.วจัสกร กาญจนะ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การบำบัดน้ำเสียเพื่อสิ่งแวดล้อม คาร์บอนเครดิต |
1530 | ผศ.นิดา ชัยมูล | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การบำบัดน้ำเสียเพื่อสิ่งแวดล้อม คาร์บอนเครดิต วิศวะสิ่งแวดล้อม |
1531 | ผศ.ดร.สุรชัย วงชารี | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม |
1532 | ผศ.ดร.จินดาพร จำรัสเลิศลักษณ์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | วิศวกรรมอุณหภาพ และขีวภาพ |
1533 | ดร.วิญญา ดุงแก้ว | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การศึกษาดินเค็มในนาข้าว การปรับปรุงดินเค็ม |
1534 | ผศ.ดร.อิศราวุธ ประเสริฐสังข์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | การแปรรูปอาหาร ออกแบบผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ |
1535 | ดร.ธิติวุทธิ วงค์คำแปง | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | เทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร |
1536 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ภัสสร | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีชีวภาพด้านเชื้อรา ชีวเคมีทางด้านการสังเคราะห์ลิปิด และ สารทุติยภูมิในพืช |
1537 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมนา เหลืองฐิติกาญจนา | มหาวิทยาลัยพะเยา | ชีววิทยาโมเลกุลของพืช การเพาะเลี้ยงและการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อพืช การดูดซึมธาตุอาหารพืช) |
1538 | ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีชีวภาพ |
1539 | อาจารย์ปรียาชนก เกษสุวรรณ | มหาวิทยาลัยพะเยา | ศิลปะและการออกแบบ |
1540 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธงไทย วงศ์วิชัย | มหาวิทยาลัยพะเยา | ออกแบบนิเทศศิลป์ |
1541 | รองศาสตราจารย์ ดร.ไพบูลย์ ปะนาเส | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง |
1542 | รศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร.ฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง |
1543 | ดร.กรทิพย์ กันนิการ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
1544 | รศ.ดร.ดุจฤดี ปานพรหมมินทร์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีชีวภาพด้านการประมง |
1545 | ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล | มหาวิทยาลัยพะเยา | ความปลอดภัยทางอาหาร |
1546 | ดร.วราภรณ์ กุศลารักษ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | ความปลอดภัยทางอาหาร |
1547 | ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ | มหาวิทยาลัยพะเยา | เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง |
1548 | นางสาวจิรรัชต์ กันทะขู้ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร |
1549 | ว่าที่ร้อยตรีฉัตรชัย ศรีเพิ่ม | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์/การผลิตอาหารข้นสำหรับโคขุน/การเลี้ยงโคขุน |
1550 | นายเสกศักดิ์ น้ำรอบ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เทคนิคการเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสุกรขุน |
1551 | ดร.เพียงออ ยี่สา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การออกแบบการทดลอง (Experimental Designs),การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) |
1552 | ดร.อภิรดี โพธิพงศา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | กลุ่มสาขา Life Sciences & Biomedicine,กลุ่มสาขา Natural Sciences |
1553 | อาจารย์สุภิญญา ชูใจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง |
1554 | ดร.สุณิษา คงทอง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | เภสัชวิทยา (pharmacology) |
1555 | ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช | การเชือดแพะตามมาตรฐานม การเตรียมซาก และการตัดแต่งชิ้นส่วน |
1556 | นางสาวปานตะวัน ประจันตะเสน | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | มีความเชี่ยวชาญด้านการออกแบลายผ้า การแปรรูปผ้า |
1557 | นางสาวปานตะวัน ประจันตะเสน | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | มีความเชี่ยวชาญด้านการออกแบลายผ้า การแปรรูปผ้า |
1558 | นายวทัญญู ศรีไสว | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | ความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ยาหม่อง เพื่อบรรเทาอาการแมลงสัตย์กัดต่อย หน้ามือดวิงเวียน คัดจมูกเนื่องจากหวัด |
1559 | นางสิรินทร เขียนสีอ่อน | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | ด้านการผลิต และพัฒนาอาหาร เพื่อบำรุงสุขภาพ |
1560 | นายมนูญ รักษาภักดี | วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น | มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอุปกรณ์ลบคมท่อทองแดงไฟฟ้าไร้สาย |
1561 | ดร.สุนิษา สุกิน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | 1. วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2. วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (นาฏยศิลป์ไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. วุฒิการศึกษาปริญญาเอก การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาศิลปศึกษา (นาฏศิลป์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4. ความเชี่ยวชาญ ศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง นาฏศิลป์ร่วมสมัย การสร้างสรรค์การแสดงนาฏศิลป์ไทยและร่วมสมัย ศิลปวัฒนธรรมชุมชน ท้องถิ่น 5. สาขาความเชียวชาญ ศิลปวัฒนธรรม ศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ |
1562 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวาพร มหาทำนุโชค | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ส.บ. (สาธารณสุขชุมชน), วท.บ. (กิจกรรมบำบัด) วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (การส่งเสริมสุขภาพ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์) ความเชี่ยวชาญ การสร้างเสริมสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ ปัญหาการฆ่าตัวตาย สาขาความเชียวชาญ สุขภาพ [181] |
1563 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกิต ทิมขำ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | เทคโนโลยีการให้น้ำในแปลงกาแฟอย่างมีประสิทธิภาพ |
1564 | ดร.ชนินทร์ แก้วมณี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
1565 | ดร.ณัฐกร ไชยแสน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ |
1566 | ดร.ปัทมา จันทร์เรือง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์ |
1567 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมันต์ สะสอง | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (บช.บ.) การบัญชี วุฒิการศึกษาปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) บริหารธุรกิจ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) การจัดการ ความเชี่ยวชาญ ด้านบริหารธุรกิจ สาขาความเชียวชาญ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน[1553] |
1568 | นางสาวกัลยา พงสะพัง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน | การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า |
1569 | นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์) ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140] |
1570 | นายกฤษธิ์พนธ์ พรรณรัตนชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | ai iot electron |
1571 | ดร.บุุญสิน นาาดอนดู่ | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | process improvement logistics composite materials |
1572 | ดร.จิรพรรณ สัจจารักษ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | 1. ชีววิทยาและวงจรชีวิต (Life cycle) ของปลิงทะเล 2. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์และเทคนิคการกระตุ้นให้ปลิงปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ ๓. การผสมเซลล์สืบพันธุ์และเพาะฟักลูกปลิงระยะวัยอ่อน 4. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะว่ายน้ำ 5. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะลงเกาะ 6. การเตรียมน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับการอนุบาลและการเลี้ยงปลิงทะเลระยะวัยรุ่น 7. เทคนิคและวิธีการบรรจุและขนส่งลูกพันธุ์ปลิงทะเล 8. เทคนิคการบรรจุและการขนส่งพ่อแม่พันธุ์ปลิงทะเล |
1573 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีญาภรณ์ แก้วทวี | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - เทคนิคและวิธีการสร้างอาหารมีชีวิตสำหรับอนุบาลปลิงทะเลระยะวัยอ่อน - วิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารปลิงทะเล - เทคนิคและวิธีการเตรียมบ่อเลี้ยง และการจัดการระหว่างเลี้ยงปลิงทะเลในบ่อดิน - เทคนิคและวิธีการแปรรูปด้วยวิธีการตากแห้ง และการเก็บรักษาปลิงทะเลตากแห้งเพื่อจำหน่าย |
1574 | ศาสตราจารย์ ดร.การุณ ทองประจุแก้ว | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | - เทคนิคและวิธีการตรวจสอบพฤติกรรมของปลิงทะเลที่จะปล่อยเซลล์สืบพันธุ์หลังการกระตุ้น - เทคนิคและวิธีการตรวจสอบความสมบูรณ์และพัฒนาการของลูกปลิงระยะวัยอ่อน |
1575 | อาจารย์ปฏิมาศ เสริฐเลิศ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว สังกัด คณะวิทยาการจัดการ |
1576 | ดร.นัทท์ นันทพงศ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | เทคนิคและวิธีการผลิตและผสมวัตถุดิบอาหารสำหรับปลิงทะเลในบ่อดิน |
1577 | รองศาสตราจารย์ ดร.ล้อมพงศ์ กลิ่นนาวี | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (ชีววิทยา) Carbon Credit |
1578 | อาจารย์สราวุฒิ ดาแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ: - เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) - เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Agricultural Machinery Technology |
1579 | อาจารย์สุรัติ สังข์แก้ว | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | Anti-inflammatory, Anti-inflammatory activities, Antioxidant activity, Phytochemical screening, Natural products, Bioactivities, Phytochemistry |
1580 | รองศาสตราจารย์ ดร.ลักษณ์นารา ขวัญชุม | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มลพิษดินทางการเกษตรและการฟื้นฟู การจัดการคาร์บอนเครดิตภาคเกษตรและป่าไม้ การจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม |
1581 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์ |
1582 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | "1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา 3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน" |
1583 | ชุติภัสร์ เรืองวุฒิ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | "การปฏิบัติการพัฒนาอาหารและผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหาร การปรุงผลิตอาหาร และคุณภาพทางประสาทสัมผัส" |
1584 | ผศ.สุรพงษ์ วงษ์ปาน | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การตลาด การบริหารธุรกิจ |
1585 | ผศ.วิลาสินี ศรีสุวรรณ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการ |
1586 | นายโกศล พิทักษ์สัตยาพรต | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ | วงจรอิเล็กทรอนิกส์ |
1587 | อาจารย์ รัฐพรรณ สันติอโนทัย | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการเภสัชภัณฑ์) ความเชี่ยวชาญ การแพทย์แผนไทย / เครื่องสำอาง / เวชภัณฑ์เภสัชภัณฑ์/ การพัฒนา สารสกัดจากสมุนไพรเพื่อพัฒตาเป็นผลิตภัณฑ์ / Cosmetic nano technology สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] |
1588 | อาจารย์ ทับทิม เป็งมล | มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ | วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศบ.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศม.การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปรด.พัฒนาการท่องเที่ยว (กำลังศึกษา) ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาและการจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน เส้นทางเดินป่า การท่องเที่ยว โดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ การแปรรูป ผลิตผลทางการเกษตรในระบบครัวเรือน การผสมเครื่องดื่ม |
1589 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร พังสุบรรณ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, ชีววิทยาประยุกต์, เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์, เทคโนโลยีการเกษตร |
1590 | อาจารย์ ดร.สุรเดช มัจฉาเดช | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านยางพาราผลิตภัณฑ์ทั้งจากน้ำยางและยางแห้ง |
1591 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การผลิตผึ้งชันโรง |
1592 | อาจารย์สุวรรณา ทองดอนคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การผลิตสัตว์, การจัดการการเลี้ยง/การจัดการฟาร์ม, โภชนศาสตร์สัตว์/อาหารลดต้นทุน, คุณภาพเนื้อสัตว์ |
1593 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ โวทโอสถ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | การผลิตเห็ดแบบครบวงจร |
1594 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน |
1595 | ผศ.ดร.อิศรา ศิรมณีรัตน์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านสุขภาพประชากร |
1596 | อาจารย์สุระจิตร แก่นพิมพ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบเสื้อผ้า ออกแบบลวดลายผ้าต่างๆ ออกแบบผลิตภัณฑ์ |
1597 | ปุณยนุช อมรดลใจ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านสมุนไพร แปรรูปสมุนไพร |
1598 | รุ่งทิวา เทพปิตุพงศ์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบเสื้อผ้า ออกแบบลวดลายผ้าต่างๆ ออกแบบผลิตภัณฑ์ |
1599 | อาจารย์สมพร วาสะศิริ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ |
1600 | ผศ.ประดิษฐ์ คำหนองไผ่ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การแปรรูปอาหารจากภาคเกษตร ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ |
1601 | อาจารย์ยุพา คงพริก | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ |
1602 | ผศ.ดร.วัชระ ดำจุติ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การแปรรูปสมุนไพร พัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร |
1603 | อาจารย์แสงนภา ทองสา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | ด้านเภสัช การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง พัฒนาผลิตภัณฑ์และยาจากสมุนไพร |
1604 | อาจารย์ปาริชาติ แปลงไธสง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร |
1605 | ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ |
1606 | ภญ.ดร.ภัทรานุช เอกวโรภาส | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | การผลิตยา, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ |
1607 | อาจารย์ทวีศักดิ์ ทองไฝ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ |
1608 | นายเสกสม พัฒนพิชัย | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การจัดการน้ำชลประทานที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว แบบเปียกสลับแห้ง และการคํานวณความต้องการน้ำของการเพาะปลูกข้าวในเขตชลประทาน |
1609 | อาจารย์รัญจวน อิสรรักษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การเลี้ยงกระบือและความสมบูรณ์พันธ์ในสภาพการเลี้ยงแบบปล่อยแปลง |
1610 | ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | การจัดการดินและปุ๋ย |
1611 | รศ.ดร.ไสว บัวแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | |
1612 | รศ.ดร.ไสว บัวแก้ว | มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา | |
1613 | อาจารย์ธัญญรัตน์ ศุภการนรเศรษฐ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | ด้านสาธารณสุข ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร การทำสปา |
1614 | นายธง คำเกิด | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา | การท่องเที่ยว, การพัฒนาผลิตภัณฑ์, การตลาด |
1615 | นางสาวณัฐริน รัตนัง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การท่องเที่ยวและการบริการ |
1616 | นางสาวอำพร กันทา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | การท่องเที่ยวและการยริการ |
1617 | อาจารย์สอางเนตร ทินนาม | มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช | การบริหารจัดการ การบริหารการเงินและบัญชี การบริหารจัดการด้านระบบงานของกิจการ |
1618 | ดร.วชิรชัย พบูประภาพ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้ทางยาและเครื่องสำอางค์ |
1619 | ผศ.ศศิธร ตัณฑวรรธนะ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์หรือยาใช้ภายนอก |
1620 | ดร.ณฐภศา เดชานุเบกษา | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | 1.องค์ความรู้ และกระบวนการเทคโนโลยีการพัฒนาการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ 2. องค์ความรู้วางแผน และการทำแผนธุรกิจ แผนการตลาด และโมเดลแผนธุรกิจ 3.องค์ความรู้กระบวนเทคโนโลยีสำหรับการสื่อสารลูกค้า 4.องค์ความรู้กระบวนการเทคโนโลยีการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป |
1621 | 1. อาจารย์วุฒิพล ฉัตรจรัสกูล | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ โฆษณา การสื่อสารการตลาด สื่อสารมวลชน สื่อสารระหว่างประเทศ การเงินและการบัญชี การตลาดดิจิทัล |
1622 | 1. อาจารย์ธวัชชัย สหพงษ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย AR VR XR |
1623 | ๑. อาจารย์ธเนศ ยืนสุข | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ ระบบสมองกลฝังตัว เกษตรอัจฉริยะ |
1624 | 1. อาจารย์ณพรรธนนท์ ทองปาน | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมคอมพิวเตอ์ การจัดการนวัตกรรม ระบบสมองกลฝังตัว |
1625 | ผศ. ดร. ทิพวิมล ชมภูคำ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ระบบสมองกลฝังตัว Deep Learning |
1626 | 1. อาจารย์กฤษดา หินเธาว์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ ระบบสมองกลฝังตัว ระบบเครือข่าย การจัดการนวัตกรรม |
1627 | 1. อาจารย์กาญจนา ดงสงคราม | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย การจัดการนวัตกรรม |
1628 | อาจารย์นัชชา อู่เงิน | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ : การทำสื่อออนไลน์ และการประชาสัมพันธ์การตลาด |
1629 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ : การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์และการเขียนแผนธุรกิจ |
1630 | รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ธนภร อำนวยกิจ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | น้ำมันจากเมล็ดยางพาราในรูปแบบ CLEANSING OIL |
1631 | 1. ผศ. ดร. เหล็กไหล จันทะบุตร | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | ความเชี่ยวชาญ ด้ารการเกษตร ประมง กบ ระบบอัตโนมัติด้านการเกษตร สมาร์ทฟาร์ม |
1632 | ดร.จารุวรรณ เอกสะพัง | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | นวัตกรรมผ้าทออีสาน |
1633 | นางสาวจินดาพร ปัสสาโก | มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือมัดย้อมสีธรรมชาติ |
1634 | ผศ.ธีรวัชร แก้วเปี้ย | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | การลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ และเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง ใช้ในการวางแผนการขนส่ง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของธุรกิจการขนส่ง ทั้งความรวดเร็วในการขนส่ง และการลดต้นทุนการขนส่ง รวมถึงเพิ่มความสามารถในการทำกำไรได้ |