ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 นายกิตติกุล บุญเปลี่ยน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบพื้นที่ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ
2 นางสาวศีตลา กลิ่นรอด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบสถาปัตยกรรมชุมชน
3 นายภูริวัฒน์ ไชยมีสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แนวคิดและทฤษฎีการออกแบบทางสถาปัตยกรรม
4 ดร.อนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีการขยายพันธ์ุพืช ไม้ผล สมุนไพร การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
5 นางสาวฐิรรัตณ์ ศรีคงจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สถาปัตยกรรมและอาคาร
6 นายนพกร ผลาวรรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การติดหุ่นจำลอง, การประเมินเชิงทัศน์
7 นายเรวัฒน์ อามิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แนวความคิดทางสถาปัตยกรรม
8 นายชวาน พรรณดวงเนตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สถาปัตยกรรมศาสตร์
9 นันทวัน หัตถมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การยืดอายุผัก/ผลไม้ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูปทางเกษตร การจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การแยกโมเลกุลดีเอ็นเอ
10 นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
11 นางสาวพาตีเมาะ อาแยกาจิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาประเภท ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ 2.ร่างคำขออนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ(รายละเอียดผลงาน ข้อถือสิทธิ์) 3.ประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา 4.การออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อขอรับการคุ้มครอง
12 นางสาวนัสรี มะแน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาประเภท ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ 2.ร่างคำขออนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ(รายละเอียดผลงาน ข้อถือสิทธิ์) 3.ประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา 4.การออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อขอรับการคุ้มครอง
13 ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เนื้อสัตว์ และการทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตอาหารต่างๆ. 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารทั่วไปและอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
14 นายกิติพงษ์ วุฒิญาณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การวางผังแปลงไม้ผลและเทคโนโลยีระบบน้ำในแปลงปลูก เทคโนโลยีการขยายพันธุ์ไม้ผล การจัดการแปลงปลูกไม้ผล
15 ภัทรวดี เอียดเต็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการ
16 อาจารย์อารยา บุญศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตรเน้นผลิตภัณฑ์จากพืชผักผลไม้ การเกษตร ด้านสารชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
17 อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร
18 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. Horticulture Crop Production 2. Environmental Comtrol Engineering 3. Modelling and Simulation of Plant Response 4. Plant Factory and Plant Propagation 5. Bioremediation
19 วีระ ยุคุณธร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี - เทคโนโลยีพืช ผัก ผลไม้ - การปลูกพืชเสริม
20 สุนทรี ถูกจิตต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบและแฟชั่นและสถาปัตยกรรม
21 สถิตย์ เจ๊กมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การจักสาน การบริหารจัดการชุมชน
22 สายฝน จำปาทอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบแฟชั่น การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
23 ปาริชาติ ศรีสนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
24 กัญจน์ชญา จันทรังษี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
25 ผศ.มนัส จูมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตไม้ผลเมืองร้อน การขยายพันธุ์พืช
26 ผศ.ชัยวุฒิ วัดจัง กรมวิทยาศาสตร์บริการ การยาง
27 นางณิชานันท์ กุตระแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตและขยายหัวเชื้อชีวภัณฑ์ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
28 นางสาวศิริวรรณ ศรีสุธรรม วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโลโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอพื้นบ้าน 5 คุณสมบัติ 1.สะท้อนน้ำ 2.ต้านแบคทีเรีย 3.ต้านยูวี 4.กลิ่นหอม (ลาเวนเดอร์ มะลิ กุหลาบ และPersian Violet) 5.นุ่มลื่น
29 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคนิคการผลิตฝรั่งระบบค้าง
30 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคนิคการบังคับมัลเบอร์รีให้ออกผลนอกฤดูกาล
31 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตสตรอว์เบอร์รีเพื่อทานผลสด
32 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การปลูกพลับบนพื้นที่สูง
33 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การปลูกต้นกาแฟ
34 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคนิคการจัดทรงต้นมะเดื่อฝรั่งเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิต
35 นายเสกสรร สงจันทึก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวหวานในระบบเกษตรอินทรีย์
36 นายอดิศักดิ์ การพึ่งตน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กระเจี๊ยบแดงอินทรีย์
37 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การบังคับกล้วยตกเครือกลางลำต้น
38 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เตือนใจ ศิริพาหนะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร 3. อาหารปลอดภัย 4.การออกแบบบรรจุภัณฑ์
39 ผศ.ดร.วราจิต พยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
40 ดร.ปรีชา ทุมมุ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
41 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
42 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา หนูสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีเคมีวิเคราะห์
43 ผศ.ดร.อรลัดา เจือจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขยายพันธุ์ไม้ผล(การตอน, ทาบกิ่ง, ต่อกิ่ง), การผลิตกล้าผัก
44 ดร.ลัดดาวัลย์ คำมะปะนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขยายพันธุ์พืช, การเพาะกล้าไม้, การเก็บรักษาและยืดอายุผลิตผลสดทางพืชสวน, การตอน การปักชำ การติดตา ต่อกิ่ง การทาบกิ่ง
45 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนากร สร้อยสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม
46 ดร.วิลาสินี บุญธรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีในการทอและพัฒนาลายผ้า เทคโนโลยีการตัดเย็บและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ เทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ
47 อ.ดร.นิรมล สันติภาพวิวัฒนา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การยืดอายุการเก็บรักษาดอกไม้โดยใช้เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการจัดดอกไม้
48 ผศ ดร เขมฤทัย ถามะพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Bio-nanomaterials, Biosensors and Chemical sensors, Forensic science
49 นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
50 นางจิตตะวัน กุโบลา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร
51 นางสาวสุธีรา สุนทรารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การกำจัดขยะแต่ละประเภทให้เหมาะสม (การแปรรูป รีไซเคิล) ออกแบบและแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา
52 นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม
53 นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
54 นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
55 นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
56 อาจารย์พลัฏฐ์ ยิ้มประเสริฐ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์
57 อ.ดร.ปิยาภรณ์ ภาษิตกุล มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การประยุกต์ใช้เอนไซม์
58 ผศ.ดร.นุกูล อินทระสังขา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านจุลชีววิทยา
59 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช สังข์อยุทธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา การสร้างกระบวนการกลุ่ม การสำรวจข้อมูล
60 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท มหาวิทยาลัยมหิดล Horticultural Crop Production, Environmental Control Engineering, Modelling and Simulation of Plant Response, Plant Factory and Plant Propagation, Bioremediation
61 นายชินตะวัน บรรโล วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การสร้างงานศิลปะ ภาพวาด 3 มิติ
62 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
63 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
64 ผศ.สันติ ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการไม้ผล
65 ดร.สัญชัย พันธโชติ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีไม้ผล
66 นางสาวหัสลินดา บินมะแอ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคทางจุลชีววิทยา, อบรมเจลยับยั้งจุลินทรีย์, การทำโยเกิร์ตอย่างง่าย, การผลิตโยเกิร์ตเพื่อสุขภาพ, การเลี้ยงและขยายเชื้อพันธุ์วุ้นสวรรค์อย่างง่าย, อาหารปลอดภัย ห่างไกลเชื้อโรค
67 นางสาวทัศนีย์ รัดไว้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการจัดการสวนไม้ผล / การผลิตพืชไร่/การผลิตไม้ผล/การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
68 ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ
69 ดร.จิรัตน์ เขียวชอุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายพลังงาน กฎหมายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
70 นางสาวพาริณี โลมาอินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดเศรษฐกิจ
71 อ.ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การผลิตฟิล์มเคลือบผิวที่บริโภคได้ (Edible film) จากเพคทินที่สกัดจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
72 ผศ.ดร.หฤทัย ไทยสุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การตรวจสอบการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร
73 ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
74 อ.ดร.เยาวเรศ ชูศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การวิเคราะห์และทดสอบคุณสมบัติขอสารชีวโมเลกุล เช่น คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ
75 ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนา ออกแบบ แปรรูป กระบวนการย้อมสี การตกแต่งสำเร็จผืนผ้าและผลิตสิ่งทอ
76 ดร.ชัชวาล แสงฤทธิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม เทคโนลีการเก็บรักษาและขยายพีนธ์พืชอินทรีย์
77 ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.กนกกรณ์ ศิริทิพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด - การย้อมเส้นไหมด้วยสีธรรมชาติ โดยใช้วัสดุที่ให้สีตามท้องถิ่น เช่น จากต้นไม้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนของใบ เปลือก ผล ซึ่งจะให้ลักษณะของสีที่แตกต่างกันต่างชนิด และส่วนที่นำมาเป็นวัสดุให้สี - เทคนิคการมัดย้อม การย้อมผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยกระบวนการมัดย้อม จะทำให้ผลิตภัณฑ์มีเอกลักษณ์และรูปแบบที่แตกต่างกัน
78 อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
79 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนสัณฑ์ เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย การออกแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
80 อาจารย์รุ่งโรจน์ ยิ่งสง่า มหาวิทยาลัยบูรพา งานทางด้านการผลิตเครื่องประดับ งานหล่อโลหะ งานทำต้นแบบเครื่องประดับ งานรูปพรรณ
81 ผศ.สุภารีย์ เถาว์วงศ์ษา มหาวิทยาลัยบูรพา การออกแบบอัญมณีและเครื่องประดับ / เครื่องประดับไทย / การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
82 นางเกศราภรณ์ จันทร์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยบูรพา อนุกรมวิธานพืชดอก และเฟิน
83 ดร.เบญจวรรณ ชิวปรีชา มหาวิทยาลัยบูรพา คุณสมบัติไม้, นิเวศวิทยาของพืช, อนุกรมวิธานพืชและสาหร่าย, วิทยาเรณู, กายวิภาคของพืช
84 ผศ.ดร.วาสินี พงษ์ประยูร มหาวิทยาลัยบูรพา โปรติโอมิกส์ชีวเคมีของพืชสรีรวิทยาของพืชชีววิทยาโมเลกุล
85 นส.พิมพ์ใจ กอแก้ว มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ชีววิทยา
86 ดร.สุทธิลักษณ์ ขวัญไตรรัตน์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย จุลชีววิทยา
87 ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
88 ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
89 รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
90 รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
91 ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles
92 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
93 นางสาวอำพร ท่าดะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา • ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา เช่น Escherichia coli โคลีฟอร์มแบคทีเรีย และการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพน้ำของกรมอนามัย • ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางจุลชีววิทยา เช่น จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด การปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. • ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพร เช่น จำนวนแบคทีเรียทั้งหมด จำนวนยีสต์และราทั้งหมด Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Enterobacteria • การทดสอบตัวอย่างและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยเทคนิกทางจุลชีววิทยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. • ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางชีววิทยาให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน
94 ผศ.เชาวลิต อุปฐาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร
95 นางปิยะธิดา สีหะวัฒนกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์
96 นางสาววรธร ป้อมเย็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร
97 นายณรงค์ฤทธิ์ บุตรมาตา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การเพิ่มมูลค่าส้มจุกผลไม้อัตลักษณ์
98 นายอุกฤษฎ์ นาจำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส
99 นายกานต์ คำแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - สถาปัตยกรรมศาสตร์ - โครงสร้าง อาคาร หรือที่อยู่อาศัย - การรังวัดอาคารสถานที่โบราณ
100 เจษฎาพล กิตติพัฒนวิทย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ค.อ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วุฒิการศึกษาปริญญาโท ค.อ.ม. (เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความเชี่ยวชาญ -ออกแบบผลิตภัณฑ์ , กราฟิก , บรรจุภัณฑ์
101 ดร.พงษ์พันธุ์ ลีฬหเกรียงไกร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (จุลชีววิทยา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -ความหลากหลายทางชีวภาพสาหร่ายน้ำจืด -นิเวศวิทยาน้ำจืด -การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางน้ำ -สิ่งแวดล้อมทางน้ำ
102 ยิ่งศักดิ์ ชุ่มเย็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การสร้างอุปกรณ์-เครื่องดนตรีไทย,นวัตกรรมการประดิษฐ์พวงกุญแจไม้ฆ้องจิ๋ว
103 ผศ.เสริมศรี สงเนียม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบงานหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น, การวิจัยเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้
104 ดร.นภารัตน์ จิวาลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (เคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ความเชี่ยวชาญ -Physical chemistry, Environmental chemistry, Textile Chemistry, Industrial chemistry, Science teaching - วัสดุดูดซับ, ถ่านกัมมันต์, การย้อมติดเส้นใย
105 ดร.ปมณฑ์ ภูมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท. ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์มลพิษสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
106 ว่าที่ รต.หญิง จินตนา อินภักดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขา ผ้าและเครื่องแต่งกาย สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (อาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ -Textile Products Development / Fashion Design
107 ธัชคณิน จงจิตวิมล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ชีววิทยาของแมลง, ชีววิทยา , ความหลากหลายทางชีวภาพ
108 ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
109 ผศ. ศิวพงศ์ ทองเจือ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, สถาปัตยกรรม, การออกแบบภูมิทัศน์, การวางแผนและออกแบบเมือง / การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน / การออกแบบภูมิสังคมภายใต้แนวคิดศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาบรรพบุรุษ "1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญสถาปนิก เลขที่ ส-สผ. 26 สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับภาคี เลขที่ ภ-สถ. 15729 สาขาสถาปัตยกรรมหลัก (อยู่ระหว่างประกาศผลเป็นระดับสามัญ)"
110 นางสาวพัชราวรรณ เก๊อะเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต สถาปัตยกรรม การออกแบบสถาปัตยกรรม โปรแกรมเขียนแบบ-ออกแบบ การประมาณราคา การนำเสนองานออกแบบ วัสดุก่อสร้าง สถาปัตยกรรม
111 วีรวัฒน์ อินทรทัต มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, เทคโนโลยีพลังงานทดแทน, เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ
112 ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
113 ผศ.ธงเทพ ศิริโสดา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน, เฟอร์นิเจอร์, ออกแบบบรรจุภัณฑ์
114 นายกฤติน วิจิตรไตรธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ แพคเกจจิ้ง กราฟฟิก
115 นางสาวเพ็ญพร วินัยเรืองฤิทธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การสกัดสีจากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
116 นางสาวรดาพร พยัฆฑา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การผลิตไม้ดอกไม้ประดับและไม้ผล
117 นายกิตติ ยอดอ่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช เครื่องหอมไทย น้ำอบน้ำปรุง
118 นายขจร อิศราสุชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การร้อยมาลัย
119 น.ส.นิอร ดาวเจริญพร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การร้อยมาลัย
120 นายอนุสรณ์ ใจทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช จัดดอกไม้
121 นายศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช งานแกะสลัก
122 ดร.เกศทิพย์ กรี่เงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งกาย
123 น.ส.อัชชา หัทยานานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งกาย
124 น.ส.ประพาฬภรณ์ ธีรมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ออกแบบแฟชั่นผ้าและเครื่องแต่งการ
125 น.ส.กฤตพร ชูเส้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การตัดเย็บ
126 น.ส.สุวดี ประดับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การออกแบบ การตัดเย็บ
127 นายเกชา ลาวงษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช แฟชั่นผ้า
128 น.ส.มัลลิกา จงจิตต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การออกแบบและการตัดเย็บ
129 น.ส.ไตรถิกา พิชิตเดช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช เทคโนโลยีการจัดการสินค้าแฟชั่น
130 ดร.วไลภรณ์ สุทธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารและโภชนาการ
131 ผศ.พจนีย์ บุญนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารว่างและขนมไทย
132 รศ.อภิญญา มานะโรจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารไทย
133 รศ.สุนีย์ สหัสโพธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารและโภชนาการ
134 นางสุดจิตร วรรณโชติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารนานาชาติ
135 ผศ.สุพรรณิการ์ โกสุม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช เครื่องดื่ม
136 ผศ.เจตนิพัทธ์ บุณยสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช เบเกอรี่
137 ดร.ชญานนท์ แสงมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตถ่านอัดแท่งและน้ำส้มควันไม้ 2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา
138 อ.เพลินพิศ แจ้งโพธิ์นาค มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตพืช 2. การแปรรูปอาหาร
139 น.ส.ลัดดาวัลย์ กลิ่นมาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร
140 น.ส.สุมภา เทิดขวัญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร
141 น.ส.ปรัศนีย์ ทับใบแย้ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช เบเกอรี่
142 น.ส.บุญยนุช ภู่ระหงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช เบเกอรี่
143 สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ
144 นายอรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชีววิทยาและเกษตรศาสตร์
145 ดร.ชรินทร ศรีวิฑูรย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การตลาด การจัดการสำหรับผู้ประกอบการ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าผลิตภัณฑ์
146 อาจารย์ปณิดา กันถาด มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก
147 นางสาวนาตาลี อาร์ ใจเย็น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สมุนไพรไทยปลาไหลเผือก
148 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำไพ สงวนแวว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย สาขาผดุงครรภ์ จากสภาแพทย์แผนไทย
149 นายสมชาย บุญพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบงานไม้ งานจักรสานจากไม้ไผ่
150 ดร.นงนาถ พ่อค้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี อณูชีววิทยา พันธุวิศวกรรม
151 ผศ.ขนิษฐา พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการแปรรูป
152 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงสิริ สยมภาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1.การผลิตอาหารปลอดภัย 2.การทดสอบตลาดและการทดสอบผู้บริโภค 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ๔. การประเมินคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
153 รองศาสตราจารย์ ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 2.อะโรมาเธอราพี 3.อาหารสุขภาพ
154 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพัตรา พูลพืชชนม์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ๒. การจัดการสถานที่ผลิตตาม GMP ๓. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มผักผลไม้ ๔. การวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบ
155 ผศ.ปราถนา ศิริสานต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ออกแบบและดีไซน์สื่อประชาสัมพันธ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น graphic ออกแบบบรรจุภัณฑ์ Design
156 ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
157 ดร.อรรถพล นาขวา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
158 รศ.บุษบา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การประชาสัมพันธ์ การตลาด สร้างแผนกลยุทธ์การสื่อสาร
159 นายมะยม มานันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้านแพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทย
160 นางอรสินี โครตโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้าน แพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทย และ แพทย์แผนไทยประเภทการนวดไทย
161 นายทองใบ จันทร์พิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้านแพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทย
162 นางเจียมจิตร เสาสุทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้าน แพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมไทย/ แพทย์แผนไทยเภสัชกรรมไทย
163 นางสาวปริยากร โมเฟื่อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย
164 ดร.พีรพงศ์ งามนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food
165 ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โภชนาการ, อาหารเพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การประเมินการยอมรับของผู้บริโภค
166 ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ
167 ผศ.สุนีย์ หทัยวสีวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมสิ่งทอ นวัตกรรมสิ่งทอ ด้านการออกแบบและผลิต ผลิตภัณฑ์สิ่งทอต่างๆ
168 ผศ.ดร.ประดิษฐา ภาษาประเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านงานศิลปะ การประดิษฐ์ เทคนิคการถ่ายภาพ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิถีชุมชน
169 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรีประไพ จุ้ยน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม333
170 ดร.ศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและการสร้างแบรนด์เครื่องแต่งกาย
171 ดร.รัฐ ชมภูพาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การประดิษฐ์เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การจัดดอกไม้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมงานศิลปประดิษฐ์ รวมถึงด้านการวิจัยด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมของสังคม
172 ดร.ชาลิสา อภิวัฒนศร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การย้อมสีธรรมชาติ
173 ดร.อรวรรณ วนะชีวิน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัด การทดสอบฤทธิ์ต่อการทำงานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกลไกการเกิดโรคเบาหวาน (Glucosidase /Amylase) การทดสอบสารพฤษเคมีเบื้องต้น การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์
174 ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. อาหารปลอดภัย 2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 3. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 4. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
175 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนิตชยา พุทธมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การเก็บรักษาในสภาพควบคุมบรรยากาศและสภาพบรรยากาศดัดแปลง ๒. Structure and transpiration of netted melon fruit ๓. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มผักผลไม้
176 ดร. อนงค์นาฏ โสภณางกูร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. การแปรรูปอาหาร/เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 2. วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร 3. บรรจุภัณฑ์อาหาร 4. ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่/เบเกอรี่เพื่อสุขภาพ 5. ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
177 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น
178 ผศ.ดร.ปิยพร ศรีสม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1. การตั้งตำรับเครื่องสำอาง-เวชสำอางจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อควบคุมคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
179 ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก - Ph.D. (Electrical and Information Engineering) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ - ด้านนาโนเทคโนโลยี - ด้านวัสดุศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - ด้านเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
180 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
181 ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร
182 ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
183 นางสาวนงคราญ มหาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท บธ.ม.บริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ 1.วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2.วิศวกรรมอาหาร 3.บริหารธุรกิจ 4.มาตรฐานเกษตรอินทรีย์
184 นายธีรพงค์ หมวดศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ การใช้เครื่องมือวิเคราะห์อาหารทางกายภาพ
185 ดร.เพียงออ ยี่สา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
186 ผศ.ธรรมศักดิ์ พุทธกาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเกษตร เทคโนโลยีไม้ดอก ไม้ผล ทุกชนิด
187 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การเตรียมดินท้องถิ่นนำมาคัดเลือก ตามกระบวนการทดสอบทางเคมีโดยใช้วทน.คือ ชั่ง ตวง วัด ตามสูตร บดผสม เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
188 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์และทดสอบเนื้อดิน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
189 มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบเนื้อดินตามสูตรที่มีความเหมาะสมในการนำมาผลิตสินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
190 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยปลาดุกปรุงสุกในบรรจุภัณฑ์พร้อมบริโภค
191 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบและยืดอายุผลิตภัณฑ์น้ำแกงส้มบรรจุขวด
192 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การควบคุมคุณภาพไข่เค็มดินสอพอง
193 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การใช้สารชักนำการออกดอกของลิ้นจี่
194 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การบังคับลำไยและมะม่วงออกผลนอกฤดูการ
195 นางสาววาสนา ยานารมย์ วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารและการถนอมอาหาร
196 นางสาวสารภี พาหา วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ การใช้โปรแกรม Office,งานฝีมือหัตถกรรม
197 นายวินัฐ จิตรเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยา
198 นางสาวรจนา เชื้อโคกกรวด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา
199 ดร.น้อมจิตต์ สุธีบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช
200 นางเกศรินทร์ เพ็ชรรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช
201 ดร.วรลักษณ์ ปัญญาธิติพงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช แปรรูปอาหาร
202 ดร.ธนภพ โสตรโยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร แปรรูป วิทยาศาสตร์
203 น.ส.ดวงกมล ตั้งสถิตพร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช
204 นายนพพร สกุลยืนยงสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช
205 ดร.ศุภัคษร มาแสวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช แปรรูปอาหาร
206 อาจารย์กัลย์สุดา ดวงศรีแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี จุลชีววิทยาทางอาหารและการเกษตร
207 นายสุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจวิเคราะห์อาหารทางจุลชีววิทยา
208 นายชัยยุทธ ปิยวรนนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การวิเคราะห์ภัยอันตรายของสารเคมี ของเสียทางเคมี รวมถึงการทำแผนฉุกเฉินด้านความปลอดภัย
209 วรรทณา สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
210 นริศ สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
211 ปริยาภรณ์ อิศรานุวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีด้านอาหาร การถนอมอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
212 พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สัตววิทยา, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, กีฏวิทยาทางการแพทย์และสัตวแพทย์ , อนุกรมวิธานของสัตว์, ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด, นิเวศวิทยา, พิษวิทยาของสารฆ่าแมลง, เนื้อเยื่อวิทยา
213 ปานใจ สื่อประเสริฐสิทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สิ่งทอนาโนเทคโนโลยี เช่น ผ้าทอ เสื่อทอ
214 ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
215 ณัชชลิดา ยุคะลัง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสมุนไพร การจัดการสาธารณสุข
216 วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
217 อาคม เสงี่ยมวิบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
218 ปรีชา นวลนิ่ม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
219 สรัญญา ภักดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบลายผ้า สิ่งทอจากลายธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ
220 อภิเชษฐ์ ตีคลี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรม การออกแบบของที่ระลึก เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบบรรจุภัณฑ์
221 อัศวิน อมรสิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหารทุกชนิด การทำอุจากข้าว ข้าวผงชงดื่ม
222 สุรศักดิ์ ขันคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีววิทยา ด้านพืชและสัตว์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ
223 อาจารย์ทัศนียา นิลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม, การออกแบบลวดลายและการตัดเย็บ
224 น.ส.สุกัญญา จันทกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์ แกะสลักผักและผลไม้
225 รศ.อภิรัติ โสฬศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การจัดดอกไม้พื้นฐาน พานพุ่มดอกไม้สด
226 น.ส.รุ่งฤทัย รำพึงจิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก จัดดอกไม้
227 น.ส.สมปรารถนา สุขสละ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
228 ดร. ณัฎวลิณคล เศรษฐปราโมทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การแปรรูปอาหาร
229 ดร.นิตยา ภูงาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร และเคมีอาหาร
230 ผศ.ดร.สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ด้านอาหารและการเกษตร โปรไบโอติกและยีสต์
231 อ.รัตนเรขา อัจฉริยะพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านผ้าทอ การออกแบบลายผ้าทอ การย้อมสีผ้าจากวัสดุธรรมชาติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทออีสาน
232 รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การพัฒนาเส้นใยและสีย้อมธรรมชาติ การปรับปรุงทางเคมีพอลิเมอร์ธรรมชาติ
233 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรินทร คุ้มเขต มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ ชุมชนและศิลปะวัฒนธรรม
234 ผศ. ดร.รุ้งลาวัลย์ เอี่ยมกุศลกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มมูลค่าสินค้าจากชาอัสสัม
235 อาจารย์ชนาพร รัตนมาลี มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตเห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดบด เห็ดกระด้าง การแปลรูปเห็ด
236 นายประยูร ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีการเกษตร ,เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก
237 รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก
238 ผศ.ศรีชนา เจริญเนตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแบบจุภัณฑ์สินค้าในท้องถิ่น ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ออกแบบลวดลายผ้า
239 อาจารย์ศศิวัลย์ พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา มาตรฐานอาหาร, การจัดการ, วิทยากรชุมชน
240 อาจารย์ดำรงค์ศักดิ์ หัตถศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการอาหาร,การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
241 ดร.สุวิทย์ แพงกันยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พัฒนาเทคโนโลยี
242 ผศ.ดร.บุศราภา ลีละวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแปรรูปข้าวและธัญพืช วิศวกรรมแปรรูปอาหาร สมบัติทางรีโอโลยีของอาหาร การพัฒนาผลิตภัรฑ์จากพืช
243 ผศ.ดร.กฤติยา เขื่อนเพชร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแปรรูปอาหารจากข้าว ผลิตภัณฑ์จากข้าว
244 ดร.รัชดาภรณ์ บุญทรง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบตราสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อความเป็นอัตลักษณ์ การออกแบบศาลาไม้ไผ่ขนาดเล็กจากเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น
245 อาจารย์มลชฎาภร สุขการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเครื่องเคลือบและเครื่องปั้นดินเผา การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
246 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม การออกแบบบรรจุภัณฑ์
247 อาจารย์สุเพ็ญ ด้วงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการยืดอายุผลิตภัณฑ์ กระบวณการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์
248 ผศ.ณฐมน เหมือนคิด มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการยืดอายุผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์
249 ดร.ปวีณา ดีกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม การแปรรูปข้าว
250 ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การผลิตเครื่องสำอาง
251 อาจารย์สุผาณิต วิเศษสาธร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สถาปัตยกรรม
252 รองศาสตราจารย์ สุปราณี แก้วภิรมย์ คณะวิทยาศาสตร์ ม มหาวิทยาลัยบูรพา วิจัยสูตรคอมพาวด์พลาสติก
253 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตฤณ กิตติการอำพล คณะศึกษาศาส มหาวิทยาลัยบูรพา ประติมากรรมเพื่อการบำบัดเด็กออทิสติก
254 ดร.สุรินทร์ อินทะยศ คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิท มหาวิทยาลัยบูรพา อัญมณีและเครื่องประดับ
255 ผศ.ดร.บุศราภา ลีละวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำ
256 นางสาวศุกฤชชญา เหมะธุลิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร พัฒนาผลิตภัณ์นวัตกรรมอาหาร การยืดอายุการเก็บผลิตภัณฑ์อาหาร
257 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร และการเก็บรักษา ด้วยการนำ วทน. มาใช้
258 ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
259 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอนอาหารและบรรจุภัณฑ์
260 น.ส.ชณิชา จินาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอมอาหาร และการเก็บรักษา ด้านการตรวจคุณภาพอาหาร
261 นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ด้านอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ด้านออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการนำ วทน. มาใช้
262 น.ส ธัญลักษณ์ บัวผัน (จบปริญาโทการแปรรูป และวิจัย) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การพัฒนาและแปรรูปด้านอาหาร การทดสอบทางประสาทสัมผัส ทางเคมี ทางการยภาพ ด้านอาหาร
263 ชลันธร วิชาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
264 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย มหาวิทยาลัยพะเยา กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กฎหมายคุ้มครองแบบผังภูมิของของวงจรรวม กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชเน้นที่กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และกฎหมายคุ้มครองกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืช
265 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย มหาวิทยาลัยพะเยา กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กฎหมายคุ้มครองแบบผังภูมิของของวงจรรวม กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชเน้นที่กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืช
266 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชาติ วัชรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน
267 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชาดา สวัสดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน
268 อาจารย์เจนจิรา เดชรักษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์จุลินทรีย์ในดินและน้้า การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์
269 ผศ.ดร.ราตรี แจ่มนิยม มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี อัตลักษณ์ด้านภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์
270 ดร.บุษบา ทองอุปการ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการด้านแรงงาน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
271 อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
272 นายกมลภัทร์ รักสวน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ออกแบบสิ่งทอและแฟชั่น
273 นายวัสสกร มณีนิล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ แกะสลักผักผลไม้ อาหารไทย ขนมไทย
274 นายเจตนิพิฐ เนียมสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เบเกอรี
275 อาจารย์ธนวิทย์ ลายิ้ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ขนมไทย อาหารไทย
276 อาจารย์สุรีย์รัตน์ เอมพรหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เบเกอรี่ เบเกอรี่และการตกแต่ง อาหารว่าง การจัดการงานครัว การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
277 นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ 2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology)
278 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
279 ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ มหาวิทยาลัยพะเยา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารสำหรับผู้สูงอายุ และผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ออนาคตจากแมลง เช่น จิ้งหรีด
280 นางสาวรุ่งนภา ปวงอุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา หลักการออกแบบเบื้องต้น
281 นางสาวณัฐรุจา สิงห์เพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การตัดเย็บและการสร้างแพทเทิร์น
282 นางสาวอุบลลักษณ์ กุณา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปักผ้า
283 อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จัดดอกไม้ ศิลปะการประดิษฐ์ตุงล้านนา
284 ผศ.ดร.ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นมมะพร้าวอัดเม็ดที่ใช้บริโภคเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง
285 อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การฟ้อนรำ
286 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรนุช คำแปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีศิลป์
287 อาจารย์ พิษณุ เจนดง มหาวิทยาลัยพะเยา กฎหมายธุรกิจ และ กฎหมายแรงงาน
288 นายปฐมศร จุฑะกนก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025
289 น.ส.ธนัชพร เฟื่องงามพร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา
290 อาจารย์ธนิกา หุตะกมล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การออกแบบลวดลายสิ่งทอ ลวดลายมัดล้อม การตัดเย็บหน้ากากอนามัย
291 คืนจันทร์ ณ นคร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร,วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ, เครื่องดื่มและอาหารสุขภาพ, เทคโนโลยีแป้ง, Extrusion technology
292 ผศ.ดร.เพ๊ญวิสาข์ พิสิฏฐศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ
293 น.ส.นฤมล โต้ตอบ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ด้านวิศวกรรมศาสตร์
294 นางสาวกฤษชนก ศุขเกษม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โภชนาการ การสาธิตอาหาร เบเกอรี่
295 ผศ.วิภาวัน จุลยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เบเกอรี การแกะสลัก
296 ผศ.กมลวรรณ สีใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนาลวดลายไทยสำหรับงานประดิษฐ์
297 นางกฤษณา ชูโชนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การศึกษาและทดลองสูตรดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ 5 สูตร ประเมินคุณสมบัติและคัดเลือก นำไปศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการให้ความร้อนดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ในไมโครเวฟที่เวลา 3, 8, 13 และ 18 วินาที ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านดินปั้นทดลองและประเมินความพึงพอใจ นำดินปั้นจากโอเอซิสที่พัฒนาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์งานใบตองและประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์จากกลุ่มลูกค้าของร้านขายผลิตภัณฑ์ดินปั้นหรืองานใบตองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ดินปั้นจากโอเอซิสสูตรที่ 4 ให้ความร้อนแต่ละครั้งเป็นระยะเวลา 8 วินาที มีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ในงานใบตอง ผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และกลุ่มผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมาก
298 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกกะปิสำเร็จรูปพาสเจอร์ไรซ์แบบพกพา
299 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกกะปิสำเร็จรูปชนิดผงแบบฉีกใช้ครั้งเดียว
300 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การพัฒนาผลิตภัณฑ์กะปิผงแบบผงฉีกใช้ครั้งเดียว
301 ผศ.จิราภา พงศ์ศุภสมิทธิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผ้าพื้นเมืองของ ชาวเขาเผ่าเย้า จังหวัด พะเยา งานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาด้านวิถีชีวิต ของชาวเขาเผ่ากระหร่าง จังหวัด เพชรบุรี งานวิจัยเรื่อง การศึกษาสุขภาพจิตของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อนักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น
302 ผศ.วินิทร สอนพรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การออกแบบและทำแบบตัดเสื้อผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้า
303 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายชูหมัก
304 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายชูหมัก
305 นางสาวรพีพรรณ เป้งกระโทก วิทยาลัยเทคนิคนครนายก บัญชี
306 นายเรวัตต์ หน่ายมี วิทยาลัยเทคนิคนครนายก การก่อสร้าง
307 อาจารย์ทัศนีย์ รัดไว้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การผลิตพืชผัก และการขยายพันธุ์พืช
308 อาจารย์วิจิตรา เฉิดฉิ้ม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีชีววิทยา
309 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การผลิตไม้ผล
310 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืช
311 นายเฉลิมชัย ทิพยัค มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การตัดแต่งซากปศุสัตว์เพื่อเพิ่มมูลค่า
312 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุสิดา หนูทอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๑. การแปรรูป และการควบคุมคุณภาพอาหาร ๒. เทคโนโลยีและการแปรรูปผักและผลไม้
313 รศ.ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นวัตกรรมการเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดที่เตรียมด้วยเทคโนโลยี green extraction และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
314 ภก.วิวิศน์ สุทธิธรรมสถิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดด้วยวิธี microwave extraction
315 ภก.ธงธรรม สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
316 นายณัฏฐ์ เศวตรพีพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - อุตสาหกรรมการผลิต - การบริหารจัดการ - SME-Coaching
317 ดร.ชูขวัญ เตชานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
318 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง เล็กจริง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
319 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารมี หนูนิ่ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - จุลชีววิทยาอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
320 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปรรูปมะม่วงน้ำดอกไม้
321 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการเลือกใช้และทดสอบผลิตภัณฑ์น้ำพริกเผา
322 นางสาวอังคณา ไพสิฐเฟื่องฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การใช้ประโยชน์จากเชื้อจุลินทรีย์ และการแก้ไขปัญหาในกระบวนการผลิตที่มีสาเหตุจากเชื้อจุลินทรีย์
323 นางวิมล อำนาจผูก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและ โภชนาการ เทคโนโลยีอาหาร และทางด้านการทดสอบหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้พ และสิ่งแวดล้อม
324 นายณัฐกิตติ์ มาฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำเสนอให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆร่วมกัน
325 นายสุทธิ มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด"
326 ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาตรฐานการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ การเเปรรูป พัฒนากระบวนการผลิต
327 รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
328 รศ.คนธาภรณ์ เมียร์แมน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้กลึง
329 นายภูมิรพี คงฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้กลึง
330 อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบ
331 ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
332 ผศ.ดร.พันธ์ทิพย์ ตันอร่าม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การใช้สารสกัดใบเหมียดแอ่เป็นสารช่วยย้อมติดสีไหม
333 ผศ.ดร.แววดาว ดาทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การป้องกันแมลงศัตรูพืชในนาข้าวด้วยชีววิธี และการใช้สารเคมี ในนาข้าวหอมมะลิด าและข้าว สังข์หยดโคราช บริเวณพื้นที่อ าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
334 ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
335 ดร.สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ
336 นางสาวสุกัญญา ทับทิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านฟิสิกส์ทางการเกษตร ฟิสิกส์พลังงาน ชีวมวลและวิจัยในชั้นเรียนทางฟิสิกส์
337 ดร.อรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา แบคทีเรียดื้อยา และยีนดื้อยา
338 ดร.ลือชัย บุตคุป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การถ่ายทอดเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์
339 ดร.นุชสุภา สุนทมาลา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทบสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและสมุนไพร
340 นายคมศร เลาห์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนากระบวนการต้มเกลือ การผลิตดอกเกลือ และชุดตรวจสอบความเค็ม
341 นางสาวมนชยา เจียงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
342 นางสาวบุษกร คงเอียด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
343 นางศิริรัตน์ ดีศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
344 ดร.ทัตดาว ภาษีผล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารทุกชนิด
345 อังคณา จันทรพลพันธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหารทุกชนิด
346 อ.วรัญญู แก้วดวงตา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกพืชทุกชนิด
347 อ.บุษบา ธระเสนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหาร
348 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา เดชะรัตนางกูร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. Food Processing and Product Development 2. Hydrocolloid and applications 3. Rice and rice products
349 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ สิมะไพศาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
350 อาจารย์ อิศรพงษ์ พงษ์ศิริกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การเเปรรูปอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การถนอมอาหาร
351 อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
352 อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัดสุศาสตร์
353 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิภาวรรณ์ จิตโสภากุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในไนโตรเจนเหลว การปรับปรุงพันธุ์ และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้
354 อาจารย์ พูนศิริ หอมจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านเคมี
355 นายฐิติกร วงศ์เลื่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านออกแบบกระเป๋า หมวก เสื้อผ้า รวมถึงการแปรรูปจากวัตถุดิบธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น มาเป็นผลิตภัณฑ์ ของใช้ของตกแต่าง เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น
356 ผศ.กฤติน ชุมแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แปรรูปอาหาร ขนม
357 นางปัญจลักษณ์ หรีรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเครื่องเคลือบดินเผา
358 ผศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การนำไมโครและนาโนแคปซูลในการปรับคุณสมบัติของผ้า เช่นการปรับสภาพความร้อน ให้มีกลิ่น ผ้ากันยุง เป็นต้น และด้านอาหารเช่นเทคนิคการกักเก็บสารสำคัญของอาหารโดยใช้พอลิเมอร์ เป็นต้น
359 อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
360 ผศ.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้เทคนิคทางทางชีววิทยาโมเลกุลในการพัฒนาชุดตรวจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร พัฒนาสารถนอมอาหารทางชีวภาพ
361 ผศ.ชมภู่ ยิ้มโต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูปอาหาร ตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์
362 อาจารย์นวพร ลาภส่งผล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เคมีอาหาร เคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์กลิ่นในอาหาร โปรตีนไฮโดรไลเซท การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ไอศกรีม
363 ผศ.นันท์ชนก นันทะไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การเก็บรักษาผลิตผลสดทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว 2. การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุมและสภาพบรรยากาศดัดแปลง 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
364 อาจารย์พรพาชื่น ชูเชิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โภชนาการ โภชนบำบัด เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว สารต้านอนุมูลอิสระในข้าวเหนียวดำ ความรู้ด้านโภชนาการและโภชนบำบัด
365 ผศ.ดร.พรรณราย รักษ์งาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทดสอบสมบัติสิ่งทอ สมบัติเส้นใยและผ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบสมบัติวัสดุสิ่งทอ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตสิ่งทอ
366 อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น
367 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
368 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย พรมาลัยรุ่งเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, การเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์
369 ดร.สวรักษ์ จันทรเทพธิมากุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีการจัดการความปลอดภัยอาหาร
370 นายธัชพล ภัทรจริยา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวการออกแบบผลิตภัณฑ์ /งานไม้/ บรรจุภัณฑ์
371 ผศ.ดร.ศุภัครชา อภิรติกร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญ : เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล
372 นางสาวจิรรัชต์ กันทะขู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การรอบแห้งผักผลไม้ , การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
373 ดร.ปิยสุดา เทพนอก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้ำ
374 นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโน การทำผ้านุ่ม ผ้าหอม โดยใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย
375 นายธีระ ธรรมวงศา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
376 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชาวลิต อุปฐาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีความเชี่ยวชาญในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ อาหารไทย ขนมไทย การแกะสลักผักผลไม้ เป็นต้น
377 นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน
378 นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบของที่ระลึก การออกแบบลวดลายผ้า การพิมพ์ผ้า
379 อาจารย์ฐิรรัตณ์ ศรีคงจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ออกแบบดีไชน์ร้านค้า จัดแสดง ร้านค้าในห้างสรรพสินค้า ออกแบบบรรจุภัฑณ์ ออกแบบฉลาก ตราสัญลักษณ์ ออกแบบภูมิทัศน์ ออกแบบภูมิทัศน์ พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว
380 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
381 นางสาวนภาพร ภู่เพ็ชร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1. คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมพื้นฐานช่วยในการพัฒนางาน การออกการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการฐานข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการวางแผน การศึกษา การวิเคราะห์ การทดสอบ การประเมินผล และการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการใช้งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 2. ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการพัฒนา และปรับปรุงสูตรอาหาร ให้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแตกต่างจากที่มีอยู่เดิม และตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
382 ผศ.ดร.หทัยกาญจน์ กกแก้ว มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากข้าว และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว
383 ผศ.ดร. ตรี วาทกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพ การการออกแบบบรรจุภัณฑ์
384 นางสาวนิอร ดาวเจริญพร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
385 ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การเตรียมสิ่งทอ - กระบวนการทําความสะอาด การฟอก การย้อมสีธรรมชาติ การพิมพ์ การตกแต่งสําเร็จเส้นใย/เส้นด้าย/ผืนผ้า แยกประเภทโครงสร้างผ้า ผ้าทอ ผ้าถัก ออกแบบลวดลายผ้าทอ - ลายขัด ลายสอง ฯลฯ ทดสอบคุณสมบัติของผ้า/เส้นใย เช่น ทดสอบความคงทนของผ้า และคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี และที่เกี่ยวข้อง
386 นางสาวนิตยา วันโสภา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สร้างแบบเสื้อผ้าบุรุษและเสื้อผ้าสตรี ออกแบบเครื่องแต่งกายเสื้อผ้าสตรี
387 นางสาวฐิติมา พุทธบูชา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบและตัดเย็บ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายสําหรับสุภาพสตรี
388 นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบลวดลายผ้า พัฒนาคุณสมบัติผ้า ด้านสิ่งทอ
389 นางสาวกรชนก บุญทร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ - การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ - แนวโน้มแฟชั่น (Trend) การออกแบบตราสินค้า
390 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
391 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการเกษตร
392 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
393 ผศ.ประมวล แซ่โค้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การผลิตพืชผักปลอดภัย
394 อาจารย์ ดร.วราภรณ์ แก้วคอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพาะเห็ดโดยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่น และใช้ประโยชน์และการแยกเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า
395 ผศ.ดร.สมบูรณ์ คำเตจา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ความหลากหลายทางชีวภาพด้านสัตว์ โดยเฉพาะกลุ่มนกในเขตภาคเหนือ การถ่ายภาพสิ่งมีชีวิตด้านวิทยาศาสตร์ การสำรวจทรัพยากรชีวภาพ
396 นางสาวภคพร สาทลาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
397 กัญญา ภัทรกุลอมร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบลวดลายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้า
398 นางสาวนัฎสฬิณ รสจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ตัวแทนทรัพย์สินทางปัญหา
399 นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำเทมเป้ อาหารเพื่อสุขภาพ
400 อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
401 นายปรัชญาณินทร์ วงศ์อทิติกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์(อุปโภคและบริโภค) กาแฟ ชา หัตถกรรมพื้นบ้าน
402 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
403 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติชัย จันธิมา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปรสิตวิทยา, นิเวศวิทยาน้ำจืด ความหลากหลายและอนุกรมวิธานของพยาธิใบไม้ ระบาดวิทยาของพยาธิใบไม้ในโฮสต์กึ่งกลาง ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำกับโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้
404 คุณรัตนา นวลทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย./สถานที่ผลิต
405 อาจารย์ นิรุต ขันทรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ งานประยุกต์ศิลป์, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์, ศิลปะดอกไม้
406 อาจารย์ ธเนศ เรืองเดช มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ศิลปะประดิษฐ์
407 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การแปรรูปอาหาร
408 นางสาวพรนับพัน อัศวมงคลศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การแปรรูปอาหาร
409 อาจารย์ มานะ อินพรมมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์- งานเฟอร์นิเจอร์ - การเคลือบผิวเฟอร์นิเจอร์ - การขึ้นรูปเฟอร์นิเจอร์
410 ผศ.ทิวา แก้วเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ กราฟิกและผลิตภัณฑ์ OTOP- ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก - ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม - งานผลิตภัณฑ์ต่างๆ
411 นายณัฐวุฒิ เงาะหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คหกรรมศาสตร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โภชนาการ
412 อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
413 รศ.ธิติมา คุณยศยิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก การพัฒนากระบวนการผลิตเซรามิก
414 อาจารย์ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
415 อาจารย์วรภรณ์​ วงค์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การแปรรูป​อาหาร​, การใช้สีธรรมชาติในอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์​ขนมอบ และอาหาร
416 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารและน้ำทางด้านจุลชีววิทยา
417 ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผักและผลไม้ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
418 ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผักและผลไม้ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
419 รศ.ดร.สุภัค มหัทธนพรรค มหาวิทยาลัยพะเยา การหาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคผลแตกผลลาย และข้อมูลของพื้นที่การระบาดโรคพืชสำคัญในลำไย แมลงศัตรูลำไยในแหล่งปลูกที่สำคัญในการผลิตลำไยส่งออกในจังหวัดพะเยาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังและหาแนวทางป้องกันกำจัดโรค
420 ผศ.ดร.ไวพจน์ กันจู มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาประชากรลูกผสมกลับข้าวเหนียวพันธุ์สันป่าตอง 1 ให้มียีนความหอม ยีนต้านทาน โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง โดยใช้วิธีการผสมกลับร่วมกับการใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
421 รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ ปิ่นมงคลกุล มหาวิทยาลัยพะเยา การประยุกต์ใช้นวัตกรรมบริหารจัดการน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินยกระดับขีดความสามารถ ชุมชนเพื่อรับมือภัยแล้ง ตำบลฝ่ายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
422 ดร.สุทธิดา ปัญญาอินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
423 นายบรรจง อูปแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
424 อาจารย์ ดร. วิมล ทองดอนกลิ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เซรามิกส์ เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบผลิตภัณฑ์ แป้นหมุน Free hand พิมพ์ แก้ว
425 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เซรามิกส์
426 รองศาสตราจารย์ ดร. สนิท ปิ่นสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Design ceramics/เซรามิกส์
427 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธาราทิพย์ โอฬารทิชาชาต มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Electroceramics Material Sciences Ferroelectric ceramics Materials characterizations and processing ceramics เซรามิกส์
428 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทนารัช จิตชาญวิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Material Sciences ceramics เซรามิกส์
429 อาจารย์จิรา ธรรมนิยม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Concrete Reinforced concrete
430 ผศ.ดร.อุราภรณ์ เรืองวัชรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการ การพัฒนาและแปรรูปอาหาร
431 ผศ.ดร.ลักษมี ชัยเจริญวิมลกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี นาโนเทคโนโลยีและการเร่งปฏิกิริยา
432 ผศ.ดร.ปัญจภรณ์ ทัดพิชญางกูร พรหมโชติ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อุตสาหกรรมเกษตร
433 ดร.สัญชัย รำเพยพัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การทำความเย็น การอบแห้งและการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็น การอบแห้ง และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร
434 ดร.สัญชัย รำเพยพัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การทำความเย็น การอบแห้งและการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็น การอบแห้ง และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้ผสมสมุนไพรของวิสาหกิจชุมชนธนาคารต้นไม้บ้านเพชร จังหวัด ชัยภูมิ
435 อาจารย์ยุวดี บัตรวงศ์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก การอาหารและผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
436 ผศ.วาสนา แก้วโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย แปรรูปข้าว แปรรูปปลานิล แปรรูปผักและผลไม้ การยืดอายุการเก็บพริกแกง ผลิตภัณท์ขนมอบ
437 ผศ.สุภร พงษ์สำราญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การทำขนมอบขนมไทย
438 ดร.บุณทริกา สุมะนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการขอ อ.ย.
439 ผศ.ปฐมาภรณ์ ทิลารักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การแปรรูป การทำสบู่ จากเห็ดถังเช่า
440 ผศ. ดร. นฤมล มงคลธนวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ด้านผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์
441 ผศ.อมรรัตน์ สุวรรณโพธิ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ การผลิตแบคทีเรียลเซลลูโลสหรือไบโอเซลลูโลส
442 นางทับทิม สุขศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี แพทย์แผนไทย
443 อ.ณรงค์ศักดิ์ พิทักษ์ตันสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการขยะ การปลูกไม้ผล การจัดการดิน
444 ดร.ปกรณ์ ประจวบวัน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับพืชผัก
445 อ.พันธ์ทิพย์ เลิศบุรุษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ การเฝ้าระวังระบบน้ำทางการเกษตร การประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางน้ำ
446 ว่าที่ ร.ต. ดร. นพรัตน์ ไชยชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความมั่นคงทางอาหารในมิติวัฒนธรรมบนความหลายของทรัพยากรท้องถิ่น การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารวัฒนธรรมกะเหรี่ยง
447 อ.พชร วรรณภิวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน
448 นายสุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร และการเก็บรักษา การถนอมอาหารเพื่อยืดอายุ ด้วยการนำ วทน. มาใช้
449 นางวัชรี เทพโยธิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
450 นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
451 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและเนื้อสัตว์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล และอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
452 นายฐานนท์ มณีนิล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กฎหมายมหาชน /กฎหมายเอกชน
453 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
454 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
455 ผศ.สันติ ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการไม้ผล
456 ดร.สัญชัย พันธโชติ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีไม้ผล
457 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การหมักผ้าด้วยสมุนไพร
458 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การพิมพ์ลายด้วยสีธรรมชาติ (ECO PRINT)
459 นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ไม้กวาดดอกหญ้า และไม้กวาดทางมะพร้าว ด้ามถอดประกอบ
460 รศ. ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร ความปลอดภัยในอาหารเเละจุลชีววิทยา
461 นางสาวสุกัญญา คำหล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ทรัพยากรการประมง
462 ผศ.รัตนฤทธิ์ จันทรรังษี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเขียนภาพด้วยเทคนิคสีฝุ่น การพัฒนากาวจากธรรมชาติเพื่อใช้ในการเขียนภาพ การพัฒนาสีผงจากธรรมชาติ
463 รศ.ดร.รุ่งนภา สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบอัตลักษณ์,การวาดภาพประกอบ,การออกแบบกราฟิก,การออกแบบหนังสือ
464 อ.ดร.โกวิทย์ น้อยโคตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง การตรวจสอบชนิดของพืชและสัตว์ด้วยดีเอ็นเอ
465 ผศ.ดร.นิสราภรณ์ เพ็ชร์สุทธิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิเวศทางน้ำและการประมง สาหร่ายและแพลงก์ตอนวิทยา
466 ผศ.ดร.วสันต์ เพิงสูงเนิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง อนุกรมวิธานไลเคน, ราสาเหตุโรคพืช
467 รศ.ดร.อรไท สุขเจริญ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
468 อ.ดร.สันทนา นาคะพงศ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การผลิตคาร์โบไฮเดรตที่มีหน้าที่ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ
469 ผศ.ดร.ธรณ์ธันย์ สว่างวรรณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง Biosynthesis pf prebiotic compound from agricultural residue
470 นายวินัฐ จิตรเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา รวบรวม เก็บรักษา ทรัพยากรชีวภาพ จุลินทรีย์ พืช และสัตว์ พร้อมทั้งจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
471 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจคัดแยกเชื้อจุลินทรีย์
472 ผศ.สันติ ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการไม้ผล
473 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
474 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
475 นางสาวนัฏฐา คเชนทร์ภักดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ผลิตภัณฑ์ประมง - เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ - การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือใช้
476 ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านความปลอดภัยอาหาร และการวิเคราะห์การปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การประเมิน และยืดอายุการเก็บรักษาในผลิตภัณฑ์อาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าจากผลิตผลทางการเกษตร
477 ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
478 ดร.อรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา แบคทีเรียดื้อยา และยีนดื้อยา
479 ดร.สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ
480 นายธีระวัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ด้านห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับอาหารทั้งหมด
481 ว่าทีร้อยตรี สมหมาย แก้วมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ชำนาญเรื่องการต้นไม้และผลไม้ ทุกชนิด
482 ผศ.ปรีชา มุณีศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การพัฒนาอาหาร การหมัก ต่างๆ
483 อ.สมยศ ศรีเพิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตไม้ดอก ไม้ผล
484 ผศ.ดร.ธนิกา ธรสินธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จุลินทรีลำไส้มนุษย์
485 นางสาวกาญจนา พิศาภาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการเกษตร -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การเตรียมและศึกษาสมบัติของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตขึ้น จากวัสดุทางธรรมชาติ
486 นางสาวกัญญา กอแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -จุลชีววิทยา -พันธุศาสตร์จุลินทรีย์
487 ผศ.ดร.วิชนี มัธยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การศึกษาสมบัติทางโครงสร้างและสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ของวัสดุหรือโครงสร้างอื่นๆด้วยระเบียบวิธีทางเคมีคอมพิวเตอร์
488 อาจารย์สุนทรา เฟื่องฟุ้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา - เคมีอินทรีย์ - เคมีสิ่งแวดล้อม - เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
489 อาจารย์ปวีณา สุขสอาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา อนุกรมวิธานแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีท การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
490 ดร.เจ๊ะฮาซัน เจ๊ะอุบง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เทคนิค รอยพิมพ์ประทับโมเลกุล 2.เทคนิคไบโอเซ็นเซอร์ 3.โปรตีโอมิส์
491 นายไพฑูรย์ ทรัพย์อุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี
492 ผศ.กนกอร เวชกรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การพัฒนาเซ็นเซอร์ทางเคมีสำหรับตรวจจับไอออนโลหะและการประยุกต์ใช้ 2.การพัฒนาคาร์บอนดอทจากมวลชีวภาพและการประยุกต์ใช้
493 ผศ.การรันต์ บ่อบัวทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีคำนวณทางคอมพิวเตอร์ 2.เคมีควอนตัม 3.การเร่งปฏิกิริยาพันธุ์
494 ผศ.การันต์ บ่อบัวทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีคำนวณทางคอมพิวเตอร์ 2.เคมีควอนตัม 3.การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์
495 รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ 4.วัสดุเก็บความร้อน
496 กีรติ ตันเรือน มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี, การตรวจสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ , การแยกบริสุทธิ์สารสำคัญในพืช, เอนไซม์เทคโนโลยี, Bioconversion (การเปลี่ยนเชิงชีวภาพ), Plant tissue culture, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา
497 วราภรณ์ ผาลี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Molecular genetics, Parasitology, Biology
498 เรืองวุฒิ ชุติมา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม microbiology (Orchid mycorrhiza)
499 สิทธิชัย อุดก่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Molecular genetics, Shrimp molecular genetics
500 ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Plant Physiology, Postharvest Technology, Plant
501 นพรัตน์ วรรณเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม อนุกรมวิธานเห็ด, Fungal Systematics
502 นฤมล เถื่อนกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Biology, จุลชีววิทยา ด้าน แบคทีเรีย สีย้อมจากแอคติโนมัยซีส จุลชีววิทยาทางอาหาร
503 สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม fungal taxonomy, fungal diversity, การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา, Agriculture
504 วิสูตร จันทร์อิฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Diarrheal viruses ไวรัสก่อโรคท้องร่วง Rotavirus ไวรัสโรตา
505 มนตรา ศรีษะแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จุลชีววิทยา
506 จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม งานประดิษฐ์, ด้านศิลปะและวัฒนธรรม, การผสมเครื่องดื่ม
507 โสรัจ วรชุม อินเกตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม อาหารและโภชนาการ วัฒนธรรมทางด้านอาหารพื้นถิ่น
508 ผศ.ดร.ศิริวรรณ ตี้ภู่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การสร้างชุดทดสอบแบบสารละลาย 2.การสร้างชุดทดสอบแบบแผ่นสตริป
509 รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ 2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช 3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค
510 ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ชีวเคมี 2.โปรติโอมิกส์ 3.การเพาะเลี้ยงเซลล์ 4.กลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์
511 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ 4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์
512 ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ 2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง 3.สีย้อมอินทรีย์
513 นางสาววิไล สุทธิจิตรทิวา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านคหกรรมศาสตร์
514 นางจิรนันท์ เสนานาญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตต้นพันธุ์ไม้ผลพันธุ์ดี เพื่อการค้าสู่ชุมชน “มะม่วง”
515 นางสาวสมใจ แซ่ภู่ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ
516 นางสาวไอรดา สุดสังข์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
517 นางสาวเสาวนีย์ รัฐนิธิคุณานนท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทผ้า การสร้างแบบ ตัดเย็บ
518 นางสุดากาญจน์ แยบดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผ้าและการออกแบบตัดเย็บ ของที่ระลึก แปรรูปจากผ้าพื้นเมือง
519 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
520 นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ออกแบบแฟชั่นเสื้อผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์วัสดุธรรมชาติ
521 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร คำยอด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องหอมโบราณ: การปรุงน้ำอบกับวิถีไทย
522 อาจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ “ไม้งามนามกล้วยไม้” (คุณประโยชน์ที่มีมากกว่าความงาม)
523 ดร.นพดล เดชประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร บริหารธุรกิจ และการพัฒนาธุรกิจสาขาวิชาการจัดการ การตลาดดิจิทัล และการวิจัย
524 อาจารย์ ดร.จุฑามาศ พิลาดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ไม้ดอกไม้ประดับเศรษฐกิจ
525 ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area – based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง “การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards)” วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area – based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง “การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns)” วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
526 อาจารย์สุธิดา กิจจาวรเสถียร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารและโภชนาการ
527 น.ส.วรลักษณ์ ป้อมน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร เครื่องดื่ม
528 นางสาวจิราภัทร โอทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหาร
529 ผศ.ณนนท์ แดงสังวาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ด้านอาหาร แปรรูป
530 นายจักรกฤษณ์ ทองคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารและโภชนาการ
531 นายศิวกร ตลับนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช อาหารไทย ขนมไทย
532 น.ส.เปรมระพี อุยมาวีรหิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ด้านอาหาร
533 ผศ.ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
534 ดร.อัจฉรา ปุราคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การเรียนรู้กิจกรรมทางกาบผู้สูงอายุแบบองค์รวม การส่งเสริมชุมชนผู้สูงอายุ
535 ผศ.กมลพิพัฒน์ ชนะสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ด้านอาหาร และเครื่องดื่ม
536 อาจารย์บุษยมาลี ถนนทิพย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช วุ้นดอกไม้ ขนม อาหารไทย
537 อาขารย์ชญานิน วังตาล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
538 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์
539 อาจารย์ วสา วงศ์สุขแสวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรพืช พืชศาสตร์และเทคโนโลยี งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น(อพ.สธ.)
540 อาจารย์ ดร. อัจฉราวดี เครือภัคดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรพืช เทคโนโลยีการเกษตร ปฐพีวิทยา สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
541 อาจารย์ ดร.โสมนันทน์ ลิพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรพืช เทคโนโลยีการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
542 อาจารย์ พรรณพฤกษา จะระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การออกแบบภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรม
543 นางสาวธันยกานต์ คูณสิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง การเลี้ยงปลา
544 อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา
545 นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การทำนาโนผ้าไหม ผ้าฝ้าย
546 นายสุธี เงิมสันเทียะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กฏหมายทรัพย์สินทางปัญญา
547 นางสาวธนาภรณ์ เชาว์สุวรรณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำข้าวเกรียบผักบุ้ง
548 ดร.รวมพร นิคม มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ หลักการของกระบวนการผลิตและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ การออกแบบและควบคุมการผลิตของกระบวนการทางเคมีและความร้อนให้มีประสิทธิภาพ
549 วิไลวรรณ สิมเชื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ด้านผ้า การออกแบบและการตัดเย็บ 2.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 3.เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
550 นางสาววรรณวิมล พุ่มโพธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีอาหาร การใช้ food additive ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
551 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
552 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
553 ดร.วันฉัตร ศิริสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านจุลินทรีย์และเชื้อก่อโรคในอาหาร
554 นางสุภัทรตรา สุขะ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
555 อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัมนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
556 รศ.เสมอขวัญ ตันติกุล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ
557 ผศ.เมทินี โคตรดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบภูมิทัศน์ สถาปัตยกรรมศาสตร์
558 อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น
559 ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
560 ผศ.ชัญญา ทองสวัสดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น
561 ผศ.ปาริชาติ ศรีสนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น
562 ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช
563 นางพนิดา เหล่าทองสาร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์
564 นางสาวพรพิมล ควรรณสุ มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนการแปรรูปน้ำสับประรด ผสมไฟเบอร์และมีใยอาหารสูง
565 อาจารย์ขนิษฐา รัตน์ประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคนิคการวิเคราะห์หาสารประกอบอินทรีย์และสำคัญโดยใช้เครื่อง GC และ GCMS
566 ดร.ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน
567 นางสาวธนาภรณ์ เชาว์สุวรรณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การทำลูกชิ้นอกไก่มันม่วงและลูกชิ้นอกไก่ฟักทอง
568 อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตสารสกัดจากพืช
569 ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
570 นางสาวนิรันตรี ทวีโคตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ชีววิทยา และจุลชีววิทยา การทำงานของจุลินทรีย์
571 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ หัวเชื้อจุรินทรีย์หน่อกล้วย
572 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ฮอร์โมน- น้ำหมักชีวภาพ
573 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ออร์โมนไข่
574 ดร.อดิศรา ตันตสุทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์
575 ดร. รุ่งนภา ทากัน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ Aquatic Insect/ Entomology, Ecotoxicology and Environmental Toxicology, Aquatic Pollution, Biodiversity, Biotechnique,
576 ดร. ศรัณย์ จีนะเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ Genetics, DNA Markers, Population Genetics, Conservation Genetics, Molecular Evolution
577 รศ. ดร. พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร และกระบวนการบรรจุภัณฑ์ ระบบ retort Food safety
578 ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากระบวนการผลิต อาหารเฉพาะทาง การนำของเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิต
579 ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
580 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ชีววิทยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แปรรูปสมุนไพร เวชสำอาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร
581 นายธนิสร คู่ประเสริฐ วิทยาลัยชุมชนพังงา การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอาหาร และการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
582 นางสาวสุนิสา ประทีป ณ ถลาง วิทยาลัยชุมชนพังงา บริหารธุรกิจ
583 นางสาวเสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์ วิทยาลัยชุมชนพังงา ความเชี่ยวชาญ การจัดการการตลาด การทำขนมและอาหารพื้นบ้าน
584 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลทิพย์ กรรไพเราะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา สอน วิจัย และบริการวิชาการทางด้านการแปรรูปอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เคมีอาหารและศึกษาอายุการเก็บอาหาร รวมทั้งการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร
585 ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
586 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและ เนื้อสัตว์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ฮาลาล และอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
587 ผศ.ดร.ภาราดร งามดี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการเคลือบสารไคโตซาน
588 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา
589 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสง
590 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการแปรรูปวุ้นมะพร้าวในน้ำสมุนไพร
591 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการทอผ้าไหมมัดหมี่
592 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปปลาให้เป็นผลิตภัณฑ์
593 รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผลิตภัณฑ์เทมเป้โปรตีนธัญพืช
594 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
595 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า
596 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทำปุ๋ยอินทรีย์
597 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายฟางข้าว
598 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายเซลลูโลสในฟางข้าว
599 รองศาสตราจารย์ ดร.เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล มหาวิทยาลัยบูรพา คุณภาพน้ำ, สิ่งแวดล้อมทางน้ำ, นิเวศวิทยาของป่าชายเลน, การประเมินผลก ระทบสิ่งแวดล้อม
600 นางสาวซุฟเฟียนี สนิ วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านการจัดหลักสูตรระยะสั้น และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
601 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ
602 วิสุทธิ์ กิจชัยนุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การออกแบบลายผ้า
603 อ.ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
604 ดร.อรทัย บุญทวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
605 ดร.ปัศนีย์ กองวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
606 ผศ.นภาพร ดีสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
607 ผศ.นภาพร ดีสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
608 ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
609 รศ.ดร.ปุริม จารุจำรัส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · Patterned Paper and Alternative Materials as Substrates for Low-Cost Microfluidics& Sensors · The development of functional nanocomposites on fiber-based microfluidics analytical device for novel chemical and biosensing · Functional Nanocomposites-Based Methodologies · Development of Field Test Kits · Analytical Chemistry Education · Spectroanalytical Chemistry
610 ณวพร สังข์ทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การนวดแผนไทย กดจุดจับเส้น
611 นางสาวชุดาภรณ์ ทองจุน วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเศรษศาสตร์และการจัดการ บริหารธุรกิจ
612 นางเบญกาญจน์ นิรัติศัย วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
613 นางสาวนุชรี คงมณี วิทยาลัยชุมชนพังงา บริหารธุรกิจ
614 นายจิรพงศ์ จะเรียมพันธ์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เป็นการปิดด้วยทองคำเปลว ทำให้วัตถุหรืองานสถาปัตยกรรมบางสิ่ง เป็นสีทองคำเหลืออร่าม
615 นางอภิญญา เลิศล้ำ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าจากวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น
616 นางสาวสุธิดา รัตนบุรี วิทยาลัยชุมชนพังงา เคมีอินทรีย์ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางค์
617 นางณวพร สังทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ยาดมสมุนไพรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมาผสมยาดมแก้อาการวิงเวียน
618 นางณวพร สังทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ นวดแผนไทยกดจุด
619 ผศ.ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การเลือกใช้วัสดุศาสตร์
620 รศ.ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีเซรามิกส์
621 ดร.ณัฏฐวรวีร์ มานพพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจแฟชั่นการตลาด - การจัดการ - บริหารรัฐกิจ
622 อาจารย์วรัญตรี ฉลาดสุนทรวาที มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายกีฬาเพื่อเสริมศักยภาพการออกก าลัง กายประเภทวิ่งเหยาะที่ตอบสนองพฤติกรรมและไลฟ์สไตล์กลุ่มผู้สูงวัยในปัจจุบัน
623 ผศ.ดร.อาทิตยา มีหนองว้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เคมีประยุกต์ เคมีชีวภาพ
624 นางสาวหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี สิ่งประดิด่านเทคโนโลยีชีวภาพ
625 ศิริพันธ์ แสงมณี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล
626 นางจันทร์เพ็ญ อินทอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์แยม
627 รศ.ดร.กันทิมา สุวรรณพงศ์ มหาวิทยาลัยบูรพา ววิทยา สัตววิทยา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
628 นางสาวกิติยา หย่างถาวร มหาวิทยาลัยบูรพา การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสมุนไพร (in vitro) เช่น anti-oxidant, anti-diabetic, anti-hypertensive, cytotoxicity
629 ดร.จันทร์จรัส วัฒนโชติ มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล
630 ผศ.ดร.ปิยะธิดา กุศล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชีววิทยาสิ่งมีชีวิต ปรสิตวิทยา
631 ผศ.ว่าที่ร้อยตรีกิติศักดิ์ โกมลเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาอาชีพจากวัสดุท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วม
632 อาจารย์มีนา ระเด่นอาหมัด มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ในงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์หัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
633 ผศ.รอมลี เจะดอเลาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล การวิเคราะห์อาหารฮาลาล เทคโนโลยีผักและผลไม้
634 ดร.เสกสรร วงศ์ศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เคมีอาหาร นํ้านมและผลิตภัณฑ์ ผักผลไม้และ ผลิตภัณฑ์ สีใน อาหารและการ เปลี่ยนแปลง เอนไซม์ในอาหารฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นในอาหาร
635 นางสาววันทนีย์ สีทา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
636 อาจารย์จันทิมา ปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกด้วยวัสดุท้องถิ่น
637 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกฤตา บุณณ์ประกอบ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ -สาขานวัตกรรมวัสดุ วัสดุนาโน ถ่านกัมมันต์และอื่นๆ -สาขาเคมี พลาสติก พอลิเมอร์ เคมีพื้นฐาน -สาขาพลังงาน ปิโตรเคมี ไบโอดีเซล ไบโอแก๊ส ไบโอเอทานอล
638 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินีเพ้ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
639 ดร.ยาสมี เลาหสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีชีวภาพ (ฺBiotechnology) กระบวนการชีวภาพ (Bioprocess) กระบวนการหมัก (Fermentation) การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือ (Waste Utilization)
640 พาตีเมาะ อาแยกาจิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การสำรวจ ศึกษา วิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
641 อาจารย์ธนิษฐ์นันท์ บุญศรีชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
642 อ.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การพัฒนากระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารเฉพาะทาง ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
643 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตชาสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
644 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตจุลินทรีย์จาวปลวก
645 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
646 อาจารย์วราภรณ์ จันทร์เวียง มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การแปรรูปมะเขือเทศราชินีอบแห้ง
647 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การวิเคราะห์คุณภาพทางโภชนาการ
648 ดร. ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การสร้างนวัตกรรมเครื่องรีดใยสับปะรด
649 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรินทร์ เจริญพันธ์ มหาวิทยาลัยบูรพา การแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร เเละอาหาร
650 นายเอกพงษ์ คุมสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ การจัดสวนในภาชนะ
651 อาจารย์จาตุรงค์ สุทาวัน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ด้านกฎหมาย การเมือง การพัฒนาชุมชน และทรัพย์สินทางปัญญา
652 นางสาวทิพยาดา ธีรฐานกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อความงาม
653 นายพงษ์พิสุทธิ์ นุวัตดีวงศ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย งานใบตอง งานบายศรี การจัดดอกไม้
654 ซูไบดี โตะโมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
655 นายสิทานนท์ อมตเวทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิศวกรรมอุตสาหการ ทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา
656 ผศ.ดร. วัชรี สีห์ชำนาญธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เคมีวิเคราะห์/อาหารสุขภาพ
657 ดร.วรพนิต จันทสุวรรณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์
658 อาจารย์สมพร นิลมณี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร
659 ดร. สุภัทรา พงศ์ภราดร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สาหร่ายทะเล
660 รศ.ดร.เทียมหทัย ชูพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยา พืช
661 ผศ.ดร.ขวัญประเสริฐ พันธุ์ชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชีววิทยา จุลชีววิทยา
662 นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ
663 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาอัตราการงอกของพริกซุปเปอร์ฮ็อตที่ใช้สารSPEED B1 EXTRA PLUS ต่างอัตราส่วน
664 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาฮอร์โมนต่างชนิดที่มีผลต่อผลผลิตดาวเรืองตัดดอก
665 นางสาวสุชนีย์ ทรัพย์สมบูรญ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี งานทดลองเปรียบเทียบผลผลิตของมะเขือเทศพันธุ์โซลาลิโน่ที่ใช้เมล็ดและปักชำยอด
666 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท
667 นายสมบูรณ์ มัจฉา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน
668 นายมูฮัมหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
669 รศ.ดร.เติมศักดิ์ ศรีคิรินทร์ สำนักงานปลัดกระทรวง Nanotechnology , Polymer Nanocomposites ,Polymer physics and thin film
670 ดร.กวิน น้าวัฒนไพบูลย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Microcheck array for pathogenic bacteria in food production environment Contamination
671 ดร.ปรีมน ปุณณกิติเกษม สำนักงานปลัดกระทรวง
672 รศ.พญ.จรัสศรี ฬียาพรรณ สำนักงานปลัดกระทรวง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคเล็บและโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง
673 รศ.นพ.สุมนัส บุณยะรัตเวช สำนักงานปลัดกระทรวง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคเล็บและโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง
674 ศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ สำนักงานปลัดกระทรวง ประเภทความเชี่ยวชาญ: สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชศาสตร์ - สาขาความเชี่ยวชาญ: ชีวเคมี - Genetic engineering
675 รศ.ทพญ. อุรีพร เล็กกัต สำนักงานปลัดกระทรวง - การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ - เทคนิคทางชีวเคมี - การทดสอบความเป็นพิษ
676 นางสาวณัฏฐาภรณ์ ขวัญเมือง สำนักงานปลัดกระทรวง
677 ดร.ระวิวรรณ พรประสิทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง
678 ดร.วันวิสาข์ ทองคำวิฑูรย์ สำนักงานปลัดกระทรวง
679 ศ. ดร. ศันสนีย์ ไชยโรจน์ สำนักงานปลัดกระทรวง - Pathological effects of malaria Interactions between parasite molecules and their receptors on endothelial cells - Cytokine and chemokine levels in pregnant woman with falciparum malaria - Biology of Penicillium marneffei
680 ศ.ดร. วัชระ กสิณฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง - สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาเทคนิคการแพทย์
681 อ. ดร. กุลธิดา กิติดี สำนักงานปลัดกระทรวง - Development of novel scaffold proteins as antiviral agents for HIV/AIDS, Rabies virus, and Influenza virus - Establishment of simplified immunoassays e.g. ELISA, immunochromatographic strip test and biosensor for antiretroviral drug screening - Study of neuroprotective effects of 8-hydroxyquinoline and its derivatives o Japanese Encephalitis Virus (JE)-infected neuronal cells
682 ผศ.ดร.จำรัส พร้อมมาศ สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensor, Cyclic Voltammetry,Electrochemical Analysis, Genetic Analysis,Biochemistry,Quality Improvement,Analytical Chemistry ,Electrochemistry, DNA,PCR,Nanomaterials
683 ผศ.ดร. ศรินทร์ ฉิมณรงค์ สำนักงานปลัดกระทรวง Biogenesis and maturation of non-coding (nc) RNA, structure to function analyses of protein–RNA (RNP) complexes, viral RNA replication
684 ศ. นพ. ชวลิต เลิศบุษยานุกูล สำนักงานปลัดกระทรวง Chemotherapy, radiotherapy
685 ผศ.ดร.นพ.ปกรัฐ หังสสูต สำนักงานปลัดกระทรวง T cell Immunology, Virology, HIV Medicine
686 ผศ.ดร.ธนิษฐ์ ปราณีนรารัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง เคมีอินทรีย์
687 ศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์ สำนักงานปลัดกระทรวง เคมีอินทรีย์
688 ดร.อรพรรณ ศรีพิชัย สำนักงานปลัดกระทรวง อณูพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
689 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์สุทัศน์ ฟู่เจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง โลหิตวิทยา ธาลัสซีเมีย
690 ศ.ดร.วันชัย ดีเอกนามกูล สำนักงานปลัดกระทรวง ชีวเคมี Plant Biochemistry, Biosynthesis of Natural Products
691 รศ.ภก.ดร.พรชัย โรจน์สิทธิศักดิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง เภสัชเคมี Pharmaceutical Sciences
692 รศ.ภก.ดร.ภาคภูมิ เต็งอำนวย สำนักงานปลัดกระทรวง Nasal drug delivery; Transdermal drug delivery; Biopharmaceutical research of oral and topical dosage forms; Development of pharmaceutical and cosmetic products from Thai natural products
693 นายแพทย์ ดร.สาโรช สุวรรณสุทธิ สำนักงานปลัดกระทรวง
694 นายแพทย์ ธิติวัฒน์ วีรโรจน์รัชกุล สำนักงานปลัดกระทรวง
695 รศ. ดร.เติมศักดิ์ ศรีคิรินทร์ สำนักงานปลัดกระทรวง Chemistry, Macromolecular Science
696 ดร.พันธุ์วดี วัฒนสิน สำนักงานปลัดกระทรวง Drug Screening
697 ดร.สุรีรัตน์ หอมหวล สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensors, Optical biosensors,Micro/nano fabrication, Lab on a chip, Biochips,Microelectromechanical systems (MEMS)
698 ผศ.พรรณี อัศวตรีรัตนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensors,Self-Assembled Monolayers
699 ผศ.ดร.ชุตินธร พันธ์วงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง QM/MM dynamics simulations of photoactive molecules such as retinal protonated Schiff base
700 ผศ.ดร.ชิตนนท์ บูรณชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Optical biosensor,Fluorescence spectroscopy,Fluorescence microscopy,Non-invasive imaging
701 ผศ.ดร. จงดี บูรณชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Chromatography,Sample preparation,Trace analysis of organic contaminants in food and environment-Chemical sensor.
702 ผศ.ดร.อาภรณ์ นุ่มน่วม สำนักงานปลัดกระทรวง Analytical Electrochemistry,Chemical sensors ,Biosensors
703 ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร สำนักงานปลัดกระทรวง Electroanalysis,Biosensors,Chemical sensor
704 รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชศาสตร์
705 ศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensors for medical, Environmental and industrial applications. ,Biosensors
706 Prof. Frans Claas สำนักงานปลัดกระทรวง Transplantation, Bone Marrow Transplantation, Immunology,Clinical Immunology,Organ Transplantation,Maternal Health, Kidney Transplantation, T Lymphocytes, Flow Cytometry,Antigen
707 Prof. Andres Brooks สำนักงานปลัดกระทรวง
708 รศ.นพ.ชลธิป พงศ์สกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Nephrology, Internal medicine,Kidney transplantation, Medical informatics
709 รศ.ดร.อมรรัตน์ ร่มพฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง ประเภทความเชี่ยวชาญ: สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์, สาขาความเชี่ยวชาญ: สาขาแพทยศาสตร์
710 ผศ.ดร.จำรัส พร้อมมาศ สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensor,Cyclic Voltammetry, Electrochemical Analysis,Genetic Analysis,Biochemistry, Quality Improvement, Analytical Chemistry, Electrochemistry, DNA, PCR, Nanomaterials
711 ศ.ดร.ชาญวิทย์ ลีลายุวัฒน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Immunogenetics,Molecular Immunology,Molecular Biology,Tissue Typing,Major Histocompatibility Complex
712 ดร.ธนาทร สวยเสวย สำนักงานปลัดกระทรวง เทคโนโลยีชีวภาพของพืช,ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
713 รศ.ดร. อภิชาติ กาญจนทัต สำนักงานปลัดกระทรวง เทคโนโลยีชีวภาพของเอนไซม์,เคมีของโปรตีน: โครงสร้าง และหน้าที่, เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, ชีววิธีการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมโดยเชื้อรา
714 ผศ.ดร. ทรงพล องค์วัฒนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Cloud Computing in Healthcare Industry, Healthcare Information System Big Data in Healthcare
715 Dr. Romuald Jolivot สำนักงานปลัดกระทรวง Image Processing,Pattern Recognition,Machine Learning, Spectral analysis, Skin analysis
716 Dr. Waleed S. Mohammed สำนักงานปลัดกระทรวง PCR,Gel Electrophoresis,Cloning,DNA,DNA Extraction,Gene Expression,Electrophoresis,Western Blot Analysis,SDS-PAGE,Protein Purification
717 ผศ.ดร. จำรัส พร้อมมาศ สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensor,Cyclic Voltammetry,Electrochemical Analysis,Genetic Analysis,Biochemistry,Quality Improvement,Analytical Chemistry ,Electrochemistry,DNA,PCR,Nanomaterials
718 ดร. สกุลกานต์ บุญเรือง สำนักงานปลัดกระทรวง Optics,Photonics,Optics and Photonics,Electromagnetics,Nanophotonics,Plasmonics,Optical Sensing,Applied Optics,Diffraction,Microfabrication
719 ดร.นพ. ตุลยพฤกษ์ ถาวรสวัสดิ์รักษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Fracture Mechanics,Biomechanics,Cell Culture,PCR,Tissue Culture,Data Analysis,SPSS,Clinical Studies,Stem Cell Biology,Fracture
720 รศ.ดร. จิรารัตน์ วงศ์คงคาเทพ สำนักงานปลัดกระทรวง Organic and analytical chemistry for biological and environmental diagnosis
721 อ.นพ.กุณฑล วิชาจารย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Cleft Lip and Palate, Facial Anomalies,Inborn Errors of Metabolism,genetic syndrome
722 ศ.พญ.เกษมศรี ศรีสุพรรณดิฐ สำนักงานปลัดกระทรวง ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
723 อ.พญ. ทิพยวิมล ทิมอรุณ สำนักงานปลัดกระทรวง ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
724 อ.พญ. ญาณินี วรกิจธารงค์ชัย สำนักงานปลัดกระทรวง เวชศาสตร์มารดา และทารกปริกำเนิด
725 ผศ.พญ. มัธชุพร สุขประเสริฐ สำนักงานปลัดกระทรวง สูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา,เวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ (ด้านมีบุตรยาก)
726 อ.พญ. ปูนา ภูษาอนันตกุล สำนักงานปลัดกระทรวง ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
727 ผศ.พญ.ชลธิชา สถิระพจน์ สำนักงานปลัดกระทรวง ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
728 อ.ดร.เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Clinical Virology , Pathogen Identification , Genetic association study ,Bioinformatics
729 อ.พญ.ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวง Lung cancer,Drug development
730 อ.นพ.ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง Cardiovascular Disease,Blood Pressure, Hypertension, Physical Activity, Heart Failure, Atherosclerosis, Cytochrome P450, Cardiovascular ,Epidemiology,Arterial Stiffness
731 ผศ.นพ.ดร.โอบจุฬ ตราชู สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาวิชาอายุรศาสตร์บูรณาการ ภาควิชาอายุรศาสตร์
732 ศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ จันทราทิตย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular Viral Diagnosis,Genomic Medicine
733 ผศ. ดร. นพ. ภูมิ สุขธิติพัฒน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Genetic Epidemiology of Complex Diseases ,Statistical Genetics Methodology Development
734 อ. ดร. อภิรักษ์ หุ่นหล่อ สำนักงานปลัดกระทรวง Data Mining, Data Science, Decision Support Systems, Medical Mining
735 ผศ. นพ. สหภูมิ ศรีสุมะ สำนักงานปลัดกระทรวง Internal Medicine (General Medicine), Clinical Toxicology, Lead Poisoning, Ergotism
736 รศ. ดร.วโรดม เจริญสวรรค์ สำนักงานปลัดกระทรวง Bioinformatics and Systems Biology,Comparative omics,Gene expression regulation (genetics and epigenetics),Single-cell transcriptomics
737 ผศ. ดร.อรภัค เรี่ยมทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Mass Spectrometry, proteomics, molecular biology
738 ผศ.ดร. นิสา ปฏิการมณฑล สำนักงานปลัดกระทรวง Polymer based drug delivery,Nanoparticles, Nanobiotechnology, Biomedical Engineering
739 ศ. เกียรติคุณ วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด สำนักงานปลัดกระทรวง Regulation of cry genes in Bacillus thuringiensis,Screening of Streptomyces and characterization of their metabolites Probiotics and bioactive peptides for food and feed
740 Dr. Andrey Toropov สำนักงานปลัดกระทรวง Environmental Impact Assessment,Environmental Analysis, Environment, Topology, Statistics, Modeling, Computational Chemistry Drug Discovery, Molecular Dynamics, Prediction
741 Assoc. Prof. Dr. Ola Spjuth สำนักงานปลัดกระทรวง Software Development, High Performance Computing, Modeling, Project Management, Bioinformatics, QSAR, Drug Design, Drug Discovery Cheminformatics and Computational Chemistry,Bioinformatics and Computational Biology
742 Prof. Dr. Jarl Wikberg สำนักงานปลัดกระทรวง Cheminformatics.Pharmacology
743 อ.ดร. ศุภฤกษ์ บวรภิญโญ สำนักงานปลัดกระทรวง Animal Cell Culture / Animal Cell Technology, Establishing cell lines of Penaeus shrimps, Characterizing development of primordial germ cells (PGCs) of Penaeus shrimps
744 รศ. ดร. รัชนก ทองนำ (ปิ่นแก้ว) สำนักงานปลัดกระทรวง Medicinal Chemistry
745 อาจารย์ ดร. ชาฎิณี ทิพกรณ์ สำนักงานปลัดกระทรวง In silo study , Molecular biology in genomic approach , Molecular biology in proteomic approach , Cell culture experience in stem cells RNAi technology
746 อาจารย์ ดร. ณัฐภัทร อนุวงศ์เจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Bioinformatics ,Pharmacology ,Medical Microbiology ,Community Medial Technology
747 อาจารย์ ดร. คัคนานต์ สรุงบุญมี สำนักงานปลัดกระทรวง Biomechanics, Operational Health Physics , Rehabilitation Engineering , Biomedical Instrumentation , Therapeutic Devices , Medical Imaging
748 อาจารย์ ดร. ประสิทธิ์ หมั่นดี สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular Docking,Docking Studies,QSAR,Androgens,Medical Technology, Support Vector Machine,Data Mining,Medical Informatics,Text Mining, Docking
749 Dr. Aijaz Ahmad Malik สำนักงานปลัดกระทรวง Cancer Immunology, Computational Biology, Biochemistry
750 อาจารย์ ดร. วิดา ปรัชชญาสิทธิกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Bioactive compounds and natural products , Drug discovery and Development , Pharmacokinetics and Medicinal Chemistry , Computational-aided drug design: Quantitative Structure-Activity relationship (QSAR), Chemical Space ,Oral and dental anatomy and diseases / general dentistry practice
751 อาจารย์ ดร. วัชระ ชุ่มบัวตอง สำนักงานปลัดกระทรวง Feature Extraction,Bioinformatics and Computational Biology,Machine Learning,Amino Acids, Peptides, and Proteins,Pattern Recognition ,Supervised Learning,QSAR
752 อาจารย์ ดร. อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน สำนักงานปลัดกระทรวง Data mining, QSAR/ASPR ,Health informatics ,Medicinal Chemistry
753 อ.ดร. รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ สำนักงานปลัดกระทรวง อณูชีวโมเลกุล , แบคทีเรียวิทยาคลินิค ,การดื้อยาต้านจุลชีพในแบคทีเรียทางการแพทย์
754 อาจารย์ ดร. ลิขิต ปรียานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Big Data Analysis, Basic Bioinformatics, Linux tools, Transcription Factors, Python, Antimicrobials, Transcription
755 ผศ.ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ สำนักงานปลัดกระทรวง Polymers, Polymeric Materials, Polymer Thin Films, Polymerization,Nanofibers, Nanomaterials, Polymer Synthesis
756 ศ.ดร. สุภาลักษณ์ ปรัชชญาสิทธิกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Medicinal and Pharmaceutical Chemistry, Anti-Cancer Drug Design and Discovery,Biological Activities, Antioxidants, Antioxidant Activity , Medicinal Chemistry, Phytochemistry, Biochemistry,Natural Product Chemistry, Plant Extracts
757 ศ.ดร. ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา สำนักงานปลัดกระทรวง Protein engineering ,Proteomics for clinical applications ,Medical Technology
758 ศ.ดร. วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular biology ,เทคนิคการแพทย์ชุมชน , Area based Research , Education Research
759 รศ.ดร. ชนินทร์ นันทเสนามาตร์ สำนักงานปลัดกระทรวง Prediction, Software Engineering, Bioinformatics, Computational Chemistry, Data Mining, Machine Learning, Drug Discovery,Classification, Artificial Intelligence, Data Science
760 รศ.ดร.ภก.ไชยวัฒน์ ไชยสุต สำนักงานปลัดกระทรวง Probiotics,Fermented Food
761 ดร.ปฐมาวรรณ ฉิมมา สำนักงานปลัดกระทรวง Medical Microbiology,Biochemistry, Biotherapy, Molecular Biology and Infectiology, Innate Immunity and Malaria
762 ดร.ประวิทย์ สิงโตทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Chemistry
763 อ.อัญชลี ทองสิมา สำนักงานปลัดกระทรวง Biochemistry ,Molecular
764 ดร.วีรญา ทองคำ สำนักงานปลัดกระทรวง คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
765 ศ.ดร. ชัชชัย ตะยาภิวัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวง Immunology, Protein engineering, Gene therapy
766 ศ.(เชี่ยวชาญพิเศษ) ดร. วัชระ กสินฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์, สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
767 ดร.ศุภชัย ศักดิ์ขจรภพ สำนักงานปลัดกระทรวง เซลล์วิทยา, ภูมิคุ้มกันวิทยา, วิทยาศาสตร์สุขภาพ, โรคติดเชื้อ, ชีวการแพทย์
768 ดร. จิรประภา วิภาษา สำนักงานปลัดกระทรวง ภูมิคุ้มกันวิทยา
769 รศ. พญ. อรุณี ธิติธัญญานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular epidemiology and evolution of avian influenza Pathogenesis of avian influenza
770 รศ.ดร. ปฐมพล วงศ์ตระกูลเกตุ สำนักงานปลัดกระทรวง Laboratory of Signaling and Epigenetics
771 ดร.กลวัชร ศิริวัฒนานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
772 รศ.ดร.พญ.กนิษฐา ภัทรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง ไบโอเซนเซอร์ อิมมูโนแอสเสย์ เคมีไฟฟ้า
773 รศ.ดร.พญ.กนิษฐา ภัทรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง แบคทีเรียวิทยา อณูชีววิทยา วัคซีนวิทยา
774 ดร.สุดเขต ไชโย สำนักงานปลัดกระทรวง ไบโอเซนเซอร์ อิมมูโนแอสเสย์
775 ดร.ธีรสิทธิ์ เตชาวิวัฒนบูลย์ล สำนักงานปลัดกระทรวง แบคทีเรียวิทยา อณูชีววิทยา วัคซีนวิทยา
776 ดร.ศักดิ์ดา จำปาสา สำนักงานปลัดกระทรวง ไบโอเซนเซอร์ อิมมูโนแอสเสย์
777 นายชัญญ เกรียงไกวัล สำนักงานปลัดกระทรวง แบคทีเรียวิทยา
778 รศ.ดร.สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา สำนักงานปลัดกระทรวง ชีววิทยาระดับโมเลกุล จุลชีววิทยา
779 ผศ. ดร.ป๋วย อุ่นใจ สำนักงานปลัดกระทรวง ชีวฟิสิกส์ อณูชีววิทยา ชีววิทยาเชิงโครงสร้าง ชีววิทยาระดับเซลล์ เทคโนโลยีชีวภาพ
780 อาจารย์ ดร. สิทธินันท์ ชนะรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง อณูชีววิทยา ชีวเคมี พันธุศาสตร์ของจุลชีพ วิศวกรรมโปรตีน วิศวกรรมเอนไซม์
781 รศ.ดร.สันทัด วิเชียรโชติ สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร อาหารสุขภาพ พรีไบโอติก
782 ดร.พญ.ภาสุรี แสงศุภวานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Allergy and Immunology
783 นางอัจฉรา ชินวร สำนักงานปลัดกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพรีไบโอติกสำหรับผู้ใหญ่สุขภาพดี
784 ดร.ปรียาภรณ์ เดชอรัญ สำนักงานปลัดกระทรวง โภชนาการ, การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค HPLC, การศึกษาคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระในหลอดทดลอง, การอักเสบในเซลล์เพาะเลี้ยง และในสัตว์ทดลองโรคเบาหวาน
785 ผศ.ดร.สุภิญญา ธนาพงษ์ภิชาติ สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular Malaria, Parasitology, Hematology, Genetic engineering, Molecular biology
786 ศ.ดร. มัลลิกา อิ่มวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular Characterisation of Drug Resistance in the Human Malarias Genotyping of Plamodium vivax, Pharmacogenetic basis of Oseltamivir, G6PD genotyping
787 ศ.ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา สำนักงานปลัดกระทรวง ชีวเคมี
788 รศ.ดร.นงเยาว์ สว่างเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Pasitology, Immunohistochemistry, Monoclonal antibodies production, In vitro cultivation of intestinal protozoa
789 รศ.ดร.หาญศึก บุญเชิด สำนักงานปลัดกระทรวง Biology, Biochemistry, Mass spectrometry, Structural biology, Analytical chemistry
790 รศ.ดร.ขนิษฐา ศรีนวล สำนักงานปลัดกระทรวง Thalassemia, Leukemia, Erythropoiesis and molecular detection
791 ศ.นพ. พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Hepatocellular Carcinoma , Gastrointestinal Diseases , Liver Diseases , Cirrhosis ,Single Nucleotide Polymorphism , Hepatitis B , Liver ,Hepatitis , Liver Cirrhosis , Gastroenterology
792 รศ.ดร. วีณา เสียงเพราะ สำนักงานปลัดกระทรวง Electroanalytical Chemistry , Voltammetry , Electrochemical Analysis , Cyclic Voltammetry , Electrochemical Detection , Electroanalysis , Amperometry , Electrodeposition , Nanomaterials , Electrochemical Sensors
793 ศ.ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล สำนักงานปลัดกระทรวง Paper-based sensor , Electroanalytical chemistry
794 อ.ดร. ณัฐธยาน์ ช่วยเพ็ญ สำนักงานปลัดกระทรวง Hepatitis B , Hepatocellular Carcinoma , Liver Diseases
795 รศ.นพ.สมเกียรติ สรรพวีรวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง ศัลยกรรมทั่วไป (General surgery) , ศัลยศาสตร์มะเร็งวิทยา (Surgical oncology)
796 ผศ.นพ.ณัฐพงศ์ งามไพบูลย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Medical Oncology , Clinical Trial
797 ผศ.ดร.นพ.ภูมิ สุขธิติพัฒน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Genetic Epidemiology of Complex Diseases , Statistical Genetics Methodology Development
798 รศ. ดร.วโรดม เจริญสวรรค์ สำนักงานปลัดกระทรวง Bioinformatics and Systems Biology , Comparative omics , Gene expression regulation (genetics and epigenetics) , Single-cell transcriptomics
799 อ.ดร. ศศิประภา ขุนชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Dengue Virus , Breast cancer molecular biology , Molecular biology , Cell biology , Virology , Yeast
800 อ.ดร.นพ.ดุลยพัฒน์ สงวนรักษา สำนักงานปลัดกระทรวง อณูชีววิทยาทางการแพทย์
801 ผศ.ดร.มุทิตา จุลกิ่ง สำนักงานปลัดกระทรวง อณูชีววิทยาการแพทย์ , เซลล์ชีววิทยา ,โปรตีโอมิกส์
802 ดร.จตุพร สุจจิตร์จูล สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาภูมิคุ้มกัน , อณูชีววิทยา , อณูพันธุศาสตร์ , อณูเวชศาสตร์ ,ชีวเคมีทางการแพทย์ ,พันธุวิศวกรรม
803 รศ.ดร. ชนิตรา ธุวจิตต์ สำนักงานปลัดกระทรวง Tumor microenvironment in cancer progression and drug resistance , Stroma-cancer interaction as new targeted therapy , Cancer immunotherapy
804 ศ.ดร. เพทาย เย็นจิตโสมนัส สำนักงานปลัดกระทรวง อณูพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยาของโรคพันธุกรรมของมนุษย์ , อณูเวชศาสตร์และภูมิคุ้มกันบำบัดโรคมะเร็ง , เทคโนโลยีด้านอณูพันธุศาสตร์ อณูชีววิทยาและอณูเวชศาสตร์
805 ศ. ดร. วัชระ กสิณฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ , สาขาเทคนิคการแพทย์
806 ผศ.ดร.อุษรา ปัญญา สำนักงานปลัดกระทรวง อณูชีววิทยา , เซลล์ชีววิทยา , ชีวเคมี
807 ศ. ดร. วัชระ กสิณฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ , สาขาเทคนิคการแพทย์
808 ผศ.ดร. ชัชนก อุดมธนกุลชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular imaging , Radiation Physics , Cancer biology, Multidrug resistance , Transporter , Cellular energetic state , Apoptosis , Cellular stress
809 รศ.ดร. เฉลิมชัย ปิละพงค์ สำนักงานปลัดกระทรวง Nanomedicine , Nanobiotechnology , Molecular imaging , Bioinorganic chemistry
810 รศ.ดร. รินา ภัทรมานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensor , Digital health ,Silver nanoparticles
811 รศ.ดร. รินา ภัทรมานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensor , Digital health ,Silver nanoparticles
812 ผศ.ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Nanoscale Theory , Modeling and Simulation , Computational Nanotechnology
813 Eugene Chan สำนักงานปลัดกระทรวง Financial decision-making , Political marketing , Health decision-making , Sustainability choices
814 อ.ดร. สมพลนาท สัมปัคคะวนิช สำนักงานปลัดกระทรวง Systems Pharmacology , Cancer therapeutics , Precision medicine ,Single-cell heterogeneity , Biomedical Engineering
815 รศ.ดร. รินา ภัทรมานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Biosensor , Digital health , Silver nanoparticles
816 รศ.ดร.บัณฑิต ถิ่นคำรพ สำนักงานปลัดกระทรวง Statistical Modeling , Statistical Analysis , Multivariate Statistics
817 อ.ดร. อภิญญา จุ๊สกุล สำนักงานปลัดกระทรวง
818 ผศ.ดร.พัชราภรณ์ ทิพยวัฒน์ สำนักงานปลัดกระทรวง T Lymphocytes , Clinical Immunology , Clinical Trials , Gelatin Zymography , PCR
819 อ.ดร.อัครินทร์ ไพบูลย์พานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Statistical Analysis , Data Analysis , Regression Analysis , Applied Statistics ,Multivariate Data Analysis ,R Statistical Package ,Multivariate Statistics ,Quantitative Data Analysis ,R Programming
820 อ.ดร.สุมณฑา เกษมวิลาศ สำนักงานปลัดกระทรวง Social Computing , Human-Computer Interaction , Health Informatics , Data Mining ,Machine Learning
821 รศ. ดร. รินา ภัทรมานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง biosensor , digital health , silver nanoparticles
822 ผศ.ดร. รวยริน ชนาวิรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
823 รศ.ดร.จุรีรัตน์ ดาดวง สำนักงานปลัดกระทรวง Protein purification , Clinical chemistry
824 ศ.ดร.ทนพญ.พัชรี เจียรนัยกูร สำนักงานปลัดกระทรวง Stem Cell Isolation , Cancer Research , Cervical Cancer , Cholangiocarcinoma , Stem Cell Biology , Liver
825 อ.สพญ.ดร. สุเบญญา อินจำปา สำนักงานปลัดกระทรวง Tropical Diseases , Antibody Production , Applied Virology
826 รศ.ดร. พงศ์ราม รามสูต สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular biology , Phage display technology , Bacteriology
827 รศ.ดร. ปานน้ำทิพย์ พิทักษ์สัจจะกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Molecular , Monoclonal Antibody production and characterization , Antibody engineering , Applied biotechnology in tropical disease and environmental
828 ผศ.ดร. นริศรา ไล้เลิศ สำนักงานปลัดกระทรวง Pharmacology
829 ผศ.ดร. รุ่งอรุณ วาดิถี สิริศรัทธา สำนักงานปลัดกระทรวง จุลชีววิทยา
830 ผศ.ดร. ศศิธร ศิริลุน สำนักงานปลัดกระทรวง จุลชีววิทยา , โพรไบโอติก , การหมัก
831 รศ.นพ. สุรศักดิ์ บุณยฤทธิชัยกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง เวชศาสตร์ครอบครัว , โรคอ้วน
832 รศ.ดร.ภก.ไชยวัฒน์ ไชยสุต สำนักงานปลัดกระทรวง Probiotics , Prebiotics , Fermented Food
833 ประวิทย์ วงศ์คงคาเทพ สำนักงานปลัดกระทรวง Biotechnology , Food technology
834 รศ.ดร.พญ. ณฐินี จินาวัฒน์ สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์การแพทย์ (Cancer genetics/genomics, Molecular pathology, Cytogenetics)
835 รศ.ดร. ดาครอง พิศสุวรรณ สำนักงานปลัดกระทรวง Biocompatibility of nanomaterials , Biological materials for food coating and food ingredients , Intracellular SERS , Nanoencapsulation , Value added products from biowastes
836 อภิชาติ สุวรรณชื่น มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
837 จิตราทิพย์ บุญพิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การทำอาหารคาวและหวานของชาววัง,การทำเบเกอรี่ต่างๆ
838 ธรรมศาสตร์ จันทรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมข้าวศัตรูพืช, Zero Waste, การสร้างมูลค่า
839 ดร.ภัทรมาศ เทียมเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การบำบัดน้้าเสีย น้้าชะมูลฝอย การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการ การนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์
840 อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
841 นางสาวกมลพร สิทธิไตรย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยี่ทางการเกษตร
842 ปิยะฉัตร สาหัสชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และทดสอบดัชนีน้ำตาล
843 ปิยะฉัตร สาหัสชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และทดสอบดัชนีน้ำตาล
844 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ทองท้วม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พลังงานทดแทน,
845 ดารินทร์ ล้วนวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
846 กาญจนวรรณ สีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การวิเคราะห์ดิน การวิเคราะห์น้ำ การใช้พืชบำบัดน้ำเสีย
847 ผศ.ปริญญา ไกรวุฒินันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การประเมินคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้ (T-VER ป่าไม้)
848 ดร.พีรรัตน์ ดวงติ๊บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การใช้โปรแกรมทางสถิติ และการทดสอบทางประสาทสัมผัส
849 ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
850 ดร.อนุสรา จบศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร
851 ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์
852 อ.พิมลนาฏ วิธุรัติ มทร.รัตนโกสินทร์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาขาวิชาวิทยาการแปรรูปและการประกอบอาหาร