ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 อาจารย์ ดร.ฉัตรชัย พิศพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การตลาด
2 กชพรรณ แซ่หย่อง วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา - แป้งกล้วยหิน - โรตีอบกรอบแป้งกล้วยหิน - ลองกองแช่อิ่ม รสบ๊วย - ผักกูดแผ่นอบกรอบ - ปลาส้ม - ข้าวเกียบ - เห็ดสวรรค์ - ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ เช่น ขนมเค้ก ขนมโมจินมสด - ไตปลาแห้ง - ข้าวหมาก - กล้วยหินบาร์ - น้ำพริกส้มแขก - น้ำพริก - ผงโรยข้าวรสข้าวยำปักษ์ใต้ - ลิปบาล์ม - พิมเสนน้ำ - ยาหม่อง - เจลแอลกอฮล์ล้างมือ
3 ผศ.ศิริรัตน์ เช็งเส็ง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ด้านการบัญชี การเงิน การบริหารธุรกิจ
4 อาจารย์ อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตนนทบุรี การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้วยเครื่องส่งสัญญาณ beacon
5 ผศ.ดร.ชัยรัตน์ บูรณะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีการผลิตพืช การจัดการเกษตร การวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (สวนพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน) เกษตรสมัยใหม่ (Digital Agriculture, Smart Farm)
6 นางสาวภวิกา บุณยพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: ด้านโรคพืช วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด การเพาะเห็ด
7 นางสาวนพรัตน์ ถวิลเวทิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: - ดูแลงานขยายพันธุ์พืชด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และงานตลาดและงานวิจัยของศูนย์ฯ
8 นางสาวชนิดา ยุบลไสย มหาวิทยาลัยนครพนม 1. มาตรฐานระบบ GMP พืช 2. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ดิน ปรับปรุงดิน
9 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
10 นางลลิดา ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การทำผลิตภัณฑ์เคมีในชีวิตประจำวัน ได้แก่ น้ำยาล้างจาน สบู่ พิมเสนน้ำ ยาหม่อง น้ำมันตะไคร้กันยุง น้ำมันนวด เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ สเปรย์แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อโรค เทียนหอม เป็นต้น
11 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทัศน์ กำมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี - การใช้แอพพลิเคชันสำหรับการจัดการเรียนการสอน - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการทำงานสำนักงาน - การใช้เทคโนโลยีสำหรับบริหารจัดการธุรกิจ - การพัฒนาเว็บไซต์และแอพพลิเคชัน - การให้คำปรึกษาเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหา - การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการส่งเสริมงาน - การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการแก้ปัญหา
12 ดร.ละออทิพย์ ไมตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเก็บเมล็ดพันธุ์ ตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชในระบบปลอดภัย
13 นางสาวบุตรศรินทร์ แสงสว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
14 ธฤตาภา ปานบ้านเกร็ด มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี โปรแกรมสำเร็จรูป e-accounting การจัดการด้านบัญชี
15 นางสาวอชิรา ผดุงฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อาหารสัตว์ คำนวนสูตรอาหารสัตว์
16 นายทองมี เหมาะสม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการสกัดสารจากพืช, การกลั่นน้ำมันหอมระเหย
17 ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้ประโยชน์จากจุลชีพ,Microbiology, Biotechnology
18 ผศ.ดร.ณัฎฐ์ดนัย ไค่นุ่นภา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -เกมแอนิเมชันเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว -การท่องเที่ยวเชิงเกษตร -การท่องเที่ยวเชิงนวัตกรรม -การใช้แอปพลิเคชั่น
19 นิรุตต์ จรเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การสื่อสารการตลาดออนไลน์ผลิตภัณฑ์ชุมชน พฤติกรรมผู้บริโภคสินค้าในตลาดออนไลน์ การพัฒนาบทเรียนท้องถิ่นออนไลน์ การพัฒนาเว็บไซต์บริการข้อมูล
20 ผศ.ดร. ขวัญนรี กล้าปราบโจร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการสารสนเทศทางการบัญชี การเพิ่มศักยภาพทางบัญชี การบริหารต้นทุนการผลิต โมบายแอปพลิเคชันสำหรับการบริหารต้นทุนการผลิตเกษตรกรสมัยใหม่
21 ดร.ณรงค์เดช รัตนานนท์เสถียร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี โมบายแอปพลิเคชัน เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการระบบ
22 ฐิติพร พระโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี 1. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2. ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ด้านระบบสารสนเทศทางการบัญชีด้านอาหารของไทย 3. แอปพลิเคชันน้ำนมดิบ 4. การบริหารต้นทุนเกษตรสมัยใหม่ 4. สมุดบัญชีครัวเรือน
23 ดร.นัสทยา​ ชุ่มบุญชู มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การเขียนแผนธุรกิจ​ การจัดการเชิงกลยุทธ์​ พฤติกรรมผู้บริโภค
24 พัชรินทร์​ บุญสมธป มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -แอปพลิเคชั่นและหนังสือนำเที่ยวAR -ออกแบบหนังสือนำเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมใช้งานร่วมกับแอปพลิเคชั่น ใช้สำหรับแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวแบบดิจิทัล
25 นางสาวชนันท์ธิพัฒน์ พรหมสนธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี -การเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบเหลือใช้ -โลจิสติกส์ -การพัฒนาดิน น้ำ ผลผลิตทางเกษตร -การจัดการดิน
26 นันทวัน หัตถมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การยืดอายุผัก/ผลไม้ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูปทางเกษตร การจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การแยกโมเลกุลดีเอ็นเอ
27 ชนกฤต มิตรสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนางานเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงเกษตร โปรแกรมสำเร็จรูป
28 นางสาววราภรณ์ แพงป้อง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การออกแบบสร้างคอลเลคชั่นเครื่องประดับ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับงานอุตสาหกรรม , การออกแบบเครื่องประดับ , การออกแบบบรรจุภัณฑ์
29 นางชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาอาหารในรูปแบบใหม่ บรรจุภัณฑ์ที่สะดวกต่อการขนส่ง การใช้สื่อเพื่อการตลาด
30 ดร.บรรจบพร อินดี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการแผนกลยุทธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
31 ดร.อัจฉราพร ยกขุน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การบริหารโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการตลาดออนไลน์ด้วยสื่อสังคมออนไลน์
32 ดร.สมเกียรติ สุขุมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
33 นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
34 นายชลิต ตรีนิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเห็ดในขอนไม้
35 นายชลิต ตรีนิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การปรับปรุงบำรุงดินเพื่อการปลูกพืช
36 ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สมุนไพร
37 ดร.สุกฤษตา พุ่มแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นักบัญชี วิจัยทางการบัญชีและบริหาร การประเมินโครงการ
38 นายกิติพงษ์ วุฒิญาณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การวางระบบน้ำแปลงปลูกพืชผัก โดยใช้เทคโนโลยีระบบน้ำอัจฉริยะต้นทุนต่ำ
39 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การตลาด การตลาดชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างบรรจุภัณฑ์ และการแบรนด์
40 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลิกา โพธิ์หิรัญ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การโรงแรม/การท่องเที่ยว, ธุรกิจการบริการ , งานวิจัยท้องถิ่น, วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
41 ผศ.ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
42 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นุชจรี สิงห์พันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ปรับปรุงพันธุ์พืช, เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, พืชศาสตร์, การเพาะเลี้ยงเห็ดถั่งเช่า
43 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อมลณัฐ ฉัตรตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การปลูกพืชอินทรีย์ สมุนไพร การอารักขาพืชด้วยสารชีวภัณฑ์ มาตรฐานการเกษตร GAP, PGS พืชอินทรีย์, ปุ๋ยชีวภาพ
44 อาจารย์รัตนากร แสนทำพล มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร, การแปรรูปผลิตผลปศุสัตว์(เนื้อ นม ไข่) การทำมาตรฐานอาหารปลอดภัย, การทำมาตรฐานฟาร์ม
45 อาจารย์ศุภกร ลิ้มคุณธรรมโม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การศึกษาการทำงาน การจัดการด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน การจัดการสินค้าคงคลัง การออกแบบและสร้างนวัตกรรม การจัดการการท่องเที่ยว ออกแบบผลิตภัณฑ์และออกแบบบรรจุภัณฑ์
46 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. Horticulture Crop Production 2. Environmental Comtrol Engineering 3. Modelling and Simulation of Plant Response 4. Plant Factory and Plant Propagation 5. Bioremediation
47 ผศ.ดร ทวีสิน นาวารัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญในด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ และองค์ประกอบทางเคมีจากพืชสมุนไพร
48 ดร.ธีรยุทธ์ ศรียาเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญในด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และองค์ประกอบทางเคมีจากพืชสมุนไพร
49 อาจารย์กิตติวัลย์ ทองอร่าม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี องค์ความรู้ ศาสตร์พระราชา
50 อาจารย์ประนิตตา เพ็งงิ้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์สภาพดิน
51 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประสาร ฉลาดคิด มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การปลูกผักอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ
52 นายรังสรรค์ บุญมาแคน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เกษตรทฤษฎีใหม่ / การปลูกผักปลอดภัยแบบครบวงจร
53 ดร.สนิทเดช จินตนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการธุรกิจชุมชน, การจัดการองค์กร, การตลาดออนไลน์, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน นักรีวิวร้านอาหารอาหารบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยใช้นามว่า “จงกินนี่” มีผู้ติดตามมากกว่า 4,000 คน
54 นางวาสนา ศิลป์รุ่งธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการสร้างโมเดลทางธุรกิจ SMEs
55 นางสาววรัญญา หอมธูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านกลไกการตลาดและการหนุนเสริมกิจการเพื่อสังคม
56 ดร.ทรัพย์ อมรภิญโญ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย การบริหาร ธุรกิจระหว่างประเทศ
57 ดร.พุดกรอง พันธุ์อุโมงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.โครงการวิจัยเรื่อง การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไม้ผลทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน หัวข้อวิจัยย่อย ศึกษากระบวนการแปรรูปและการเก็บ รักษามะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยสดพร้อมบริโภค (ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติงบประมาณประจำปี 2550-51) 2.โครงการวิจัย เรื่อง การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักผลไม้แกะสลักเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม (งบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2552)
58 นางสาวอรอนงค์ สรรเสริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ หลักสูตรกุญแจสู่ความสำเร็จของนักขาย บริษัท วีอาร์ แฮนเดิล จำกัด หลักสูตรคิดนอกกรอบการตลาด กลยุทธ์ของนักขาย บริษัทพรพรหม เมลเทิล จำกัดมหาชน ฝ่ายประสานงานรายการโทรทัศน์และฝ่ายประสานงานแฟชั่น นิตยสาร BOSS และนิตยสารทีวีพลู บริษัท โน้ตพับลิชชิ่ง ผู้อำนวยการฝ่ายการผลิตและผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัทอังกอร์ จำกัด
59 นวลละออง อรรถรังสรรค์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบริหารการจัดาการชุมชนท้องถิ่น และการส่งเสริมด้านการตลาดและการทำมาตรฐาน
60 พีระยศ แข็งขัน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวัดความหอมของข้าว สารกำจัดหอยเชอรี่จากประคำดีควาย การตรวจสอบพันธุ์ข้าว การพัฒนาพันธุ์ข้าวอินทรีย์
61 ศักดิ์ชาย สิกขา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ เทคนิคการจักสานเส้นพลาสติก การจักไม้ไผ่ การออกแบบลายผ้า ผ้าไหม
62 ประทับใจ สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบลายผ้า ผ้าไหม
63 ปิยภัทร บุษบาบดินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการชุมชน การตลาดในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน แปรรูปผลผลิตการเกษตร
64 นางสาวสุรีย์รัตน์ บัวชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน ปุ๋ย
65 นางสาวอิงณภัสร์ วงษ์สิทธิชัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การส่งเสริมการตลาดด้านการท่องเที่ยว
66 นางสาววีรยา ปรีดาลิขิต มหาวิทยาลัยพะเยา ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ การสกัดสมุนไพร ทดสอบการต้านอนุมูลอิสระ
67 นางสาวดวงฤทัย แก้วคำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด การสื่อสารการตลาด และการตลาดออนไลน์ การบูรณาการระหว่างการสื่อสารการตลาดกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อบอกเล่าเรื่องราว (Story telling) ของผลิตภัณฑ์ผ่านบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ สร้างคุณค่าทางจิตใจให้กับผู้บริโภค และสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับผู้ประกอบการ
68 ผศ.ดร.กฤษดา พงษ์การัณยภาส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบบเกษตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ท้องถิ่นเพื่อการเกษตร สมุนไพรพื้นบ้าน
69 อุมาวดี ศรีเกษตรสรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี สรีรวิทยาพืช การผลิตพืช
70 ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสวน/พื้นที่เกษตรแบบปลอดภัย ตามหลักการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Zero Waste)
71 รองศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การสร้างแบรนด์และกลยุทธ์การตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาด
72 อาจารย์ ดร.ปิยะ ปานผู้มีทรัพย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การเงิน แผนธุรกิจ นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ
73 อาจารย์ ดร.อรรถกร พรมวี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทางด้านพืชศาสตร์ ระบบไฮโดรโปนิกส์
74 ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูพืช
75 นางสาวสายฝน แซ่จู วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การวางแผนกลยุทธิ์การตลาด
76 รศ.ดร.เอกรัตน์ เอกศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะละกอแก่เกษตรกร
77 อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต
78 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
79 ผศ.ฉันทนา วิชรัตน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ไว้ใช้เอง:ผักกาดหอม
80 ผศ.ฉันทนา วิชรัตน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ไว้ใช้เอง:ถั่วแขก
81 นายสันต์ชัย มุกดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคโนโลยีการเพาะเห็ดป่า
82 นางสาวปรารถนา ปักโคทานัง วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบูรณ์ เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
83 ผศ.ขวัญฤทัย วงศ์กำแหงหาญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วางแผนการตลาด กลยุทธ์การตลาด การสร้างแบรนด์
84 อาจารย์ธาริกา รัตนโสภานิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การวางแผนธุรกิจ การวางแผนการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ
85 ผศ.เนตรนภา รัตนโพธานันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นำวัสดุเหลือใช้ทางเกาตรจากฟางข้าวเพื่อผลิตเป็นอาหารสัตว์อัดแท่ง
86 อาจารย์ปรัชญา บำรุงกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Image Processing, Smart Farm
87 อาจารย์ณัชชา สมจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ 2. การตลาดและการผลิต สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
88 ดร.ปรีชา ทุมมุ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
89 อ.กฤตชัย บุญศิวนนท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
90 อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
91 อาจารย์นิรมล ศรีชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. เคมีสภาวะแวดล้อม 2. เคมีอนินทรีย์ 3. เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 4. การผลิตอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
92 อาจารย์นพอนันต์ กาญจนวัฒนาวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การปรับแผนธุรกิจ ด้านการตลาด
93 ดร.คุณากร ขัติศรี มหาวิทยาลัยพะเยา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ข้าว แป้ง ไขมัน-น้ำมัน
94 ผศ.ดร.วิพรรพรรณ์ เนื่องเม็ก มหาวิทยาลัยพะเยา โรคพืช การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
95 นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การทำสารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การปลูกผักอินทรีย์ การปลูกเมล่อนมาตรฐานอาหารปลอดภัยในโรงเรือน
96 นางนิติรัตน์ กระหน่าย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การทำบัญชี
97 นางสาวกัณชราพร ยกยิ่ง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การคำนวณต้นทุน กำไร
98 ดร.วัลลีย์ อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การทำน้ายาอเนกประสงค์จากธรรมชาติ และสารชีวภาพเพื่อการเกษตร
99 อาจารย์ศิวดล แจ่มจำรัส มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเลือกพื้นที่ - สารเคมีเกษตร - การปรับปรุงดินสำหรับการปลูกพืช - ชนิดของผัก และระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ - ไม้ผล
100 นางสาวฟาริดา เอ็ลลาฮี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านบริหารธุรกิจ สาขาการเงิน บัญชี การตลาด และการจัดการ
101 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปวีณา เจะอารง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การตลาด การตลาดดิจิทัล/การตลาดออนไลน์ การตลาดฮาลาล ผลิตภัณฑ์ชุมชน และการตลาดเพื่อสังคม
102 อาจารย์สุธิกาญจน์ แก้วคงบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการจัดการทั้งหมด รวมไปถึงการตลาดแบบออนไลน์อย่างมืออาชีพ
103 นางสาวเกตวรรณ บุญเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านสัตวศาสตร์ โภชนศาสตร์สัตว์
104 นางอัปสร อีซอ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ตราสินค้า บรรจุหีบห่อ การสื่อสารการตลาด
105 รศ.ดร.พนิตสุภา ธรรมประมวล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากดินสอพอง
106 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ดวงใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ...อาหารสัตว์น้ำ...ฮอร์โมนเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
107 นายจุลทรรศน์ คีรีแลง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน 1. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. อาหารสัตว์น้ำ 3. การเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่นในระบบน้ำหมุนเวียน
108 ผศ.ดร.อรลัดา เจือจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขยายพันธุ์ไม้ผล(การตอน, ทาบกิ่ง, ต่อกิ่ง), การผลิตกล้าผัก
109 อาจารย์ชุติกร ปรุงเกียรติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการตลาด, การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน, การค้าภายในประเทศและต่างประเทศ
110 ผศ.ดร.วิรัช อนุชานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร, เทคโนโลยีการเกษตร
111 ดร.ลัดดาวัลย์ คำมะปะนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขยายพันธุ์พืช, การเพาะกล้าไม้, การเก็บรักษาและยืดอายุผลิตผลสดทางพืชสวน, การตอน การปักชำ การติดตา ต่อกิ่ง การทาบกิ่ง
112 ดร.เรวัฒน์ เติมกล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลเกษตร
113 ผศ.วัฒนา ภารัตนวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร, เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการเกษตร
114 ดร.ณัฎฐ์ธนัน กีรติญาดาธนภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกล, ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร
115 นางสาวจิรา ปั้นรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ - การสร้างตราสินค้าและป้ายฉลาก - การพัฒนาและออกแบบสื่อการตลาด - การเขียนแผนการตลาด - การวิจัยการตลาด/การทดสอบตลาด - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
116 ผศ.ณัฐรินทร์ ศิริรัตนนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำ - วิธีการวัดคุณภาพน้ำ และการประเมินค่าคุณภาพน้ำอย่างง่ายสำหรับเกษตรกร
117 นางชนนพร ยะใจมั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ด้านภาษีอากร 2. ด้านการสอบบัญชี 3. ด้านการทำบัญชีการเงิน
118 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultant’s Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
119 นางสุวิสา ทะยะธง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ด้านบัญชีและภาษี 2. ต้นทุนและผลตอบแทน 3.
120 นางสาวจรัสศรี โนมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ด้านการจัดทำบัญชีและภาษีอากร 2. ด้านการวางระบบบัญชีและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
121 นางสาวณฐมน ทรัพย์บุญโต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. การตลาดออนไลน์ 2.เทคนิคการถ่ายรูป การตัดต่อคลิป รูปภาพและวีดีโอ การทำสื่อ การตกแต่งรูปภาพผลิตภัณฑ์ และการสร้างโลโก้ผลิตภัณฑ์ เพื่อการขายสินค้าผ่านช่างทางออนไลน์และออฟไลน์ 3. การตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. ที่ปรึกษาทางการตลาดออนไลน์ ด้านการตลาด ด้านธุรกิจ และด้านเทคโนโลยีทางการตลาด
122 นางสุจิตตา หงษ์ทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการ โลจิสติกส์
123 นางพิทธินันท์ สมไชยวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการ โลจิสติกส์
124 นางสาวรสริน จอห์นสัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาดสินค้าชุมชน การจัดการทางการตลาดของสินค้าและบริการของชุมชน พัฒนาสินค้าของท้องถิ่น ให้มีเอกลักษณ์เป็นที่ยอมรับของตลาด ประยุกต์ส่วนประสมทางการตลาดมาช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าของท้องถิ่น และการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ของสินค้าชุมชน
125 นางกุลพรภัสร์ ภราดรภิบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาด การลงทุน
126 นางสาวศิรินาฏ จันทนะเปลิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาด การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์
127 นางสาวอวยพร ต๊ะวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
128 นายชัยยุทธ นนทะโคตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาศาสตร์การเกษตร
129 นางกมลรัตน์ กรรณสูตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การเพาะปลูกผักพื้นบ้าน เกษตรอินทรีย์
130 นางสาวศรินทิพย์ ทองปราง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การสร้างผู้ประการใหม่
131 นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
132 ผศ.ดร.กมลพร ปานง่อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีพลาสมา การใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อเพิ่มคุณภาพของเมล็ดพันธุ์พริก
133 ผศ.ดร. ฑีฆา โยธาภักดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การบริหารจัดการต้นทุนและผลตอบแทนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมการตลาด
134 ดร. วรรณา มังกิตะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีชีวภาพพืช การปรับปรุงพันธุ์ด้วยเทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากพันธุกรรมพืช ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
135 อ.ดร.รัฐพล แสงระยับ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง 3.การอบแห้งอาหาร 4.การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
136 อ.ดร.นิรมล สันติภาพวิวัฒนา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การยืดอายุการเก็บรักษาดอกไม้โดยใช้เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการจัดดอกไม้
137 ผศ.ดร. มยุรี หาญสุภานุสรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ความเชี่ยวชาญการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน Product Value Chain
138 นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม
139 นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
140 นางสาวสุวรรณา จันคนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี
141 อ.ดร.นิชากร พันธ์คง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
142 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนกกญจน์ วิชาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การตลาด
143 นายไชยวัฒน์ ไชยสุต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เทคโนโลยีเภสัชกรรม,เภสัชวิเคราะห์,โภชนาเภสัชภัณฑ์,เวชสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร,น้ำหมักชีวภาพเพื่อการบริโภค โพรไบโอติก พรีไบโอติก
144 นายทวีชัย นิมาแสง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร การแปรสภาพ แปรรูปผลผลิตเกษตร การออกแบบเตาอบใช้ฟืนและท่อแลกเปลี่ยนความร้อนสำหรับผลผลิตเกษตร
145 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช สังข์อยุทธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา การสร้างกระบวนการกลุ่ม การสำรวจข้อมูล
146 ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม มหาวิทยาลัยมหิดล การใช้เครื่องมือขั้นสูงในงานเคมีวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก โลหะเป็นพิษในตัวอย่างดิน น้ำ อาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
147 ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม มหาวิทยาลัยมหิดล การใช้เครื่องมือขั้นสูงในงานเคมีวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก โลหะเป็นพิษในตัวอย่างดิน น้ำ อาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
148 อาจารย์เนติยา การะเกตุ มหาวิทยาลัยมหิดล การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช
149 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
150 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท มหาวิทยาลัยมหิดล Horticultural Crop Production, Environmental Control Engineering, Modelling and Simulation of Plant Response, Plant Factory and Plant Propagation, Bioremediation
151 นางปรีดา ตัญจนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด
152 นายวีระพันธ์ ดีเพชร วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การเพาะเมล็ดพันธ์ุ
153 นางสาวสุวารี ยิ่งนอก วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การวางแผนการตลาด การคำนวณต้นทุนและกำหนดโปรโมชั่น
154 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
155 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
156 ผศ.พิทักษ์ พุทธวรชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์ผัก และผักพื้นบ้าน
157 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
158 ดร.ชยานนท์ สวัสดีนฤนาท มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (สิ่งแวดล้อม) วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.S. (Environmental Engineering) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Molecular Biosciences and Bioengineering) - ด้านเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ - ด้านเทคโนโลยี biorefinery - ด้านเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียและของเสีย - ด้านเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน - ด้านมลพิษทางอากาศ PM 2.5
159 ผศ.นภา ขันสุภา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
160 ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว)
161 ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ข้าว
162 รศ.ดร.จานุลักษณ์ ขนบดี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
163 นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
164 ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
165 ดร.มนิต พลหลา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การเข้าถึงแนวคิดของชุมชน เพื่อร่วมกันออกแบบ สัญลักษณ์และเสนอแนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แก่นักออกแบ/ผู้รับจ้างออกแบบบรรจุภัณฑ์ และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน
166 ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
167 นางสาวอุษา นุ้ยจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การเพาะผักงอก การปลูกผักสวนครัว การปลูกผักในภาชนะ การปลูกผักทั่วไป การปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์
168 ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ ชุมแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการจัดการเกษตรให้มีคุณภาพ การขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เชื้อราไตรโคเดอร์มาและวิธีการใช้งานกับพืชแต่ละชนิด เทคโนโลยีการ ผลิตสับปะรดทั้งในและนอกฤดู
169 ดร.อรพินท์ บุญสิน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตราสินค้า การตลาดออนไลน์
170 อาจารย์ ดร.พจนีย์ แสงมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง การตรวจวิเคราะห์ดินและการใช้ปุ๋ยอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การขอมาตรฐานทางการเกษตร
171 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
172 อรุณศักดิ์ ไชยอุบล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เครื่องกรองน้ำ แก๊สชีวภาพ เครื่องอัดถ่าน ปุ๋ย
173 รศ.ดร.ฤทธิชัย พิลาไชย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์
174 ดร.วิบูล เป็นสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เทคโนโลยีการผลิตพืช การปรับปรุงพันธุ์พืช
175 รศ.ดร.วิลาศ พุ่มพิมล มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การแยกสารบริสุทธิ์จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Products)
176 อ.ดร.ไพบูลย์ หมุ่ยมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การปลูกพืชแบบปลอดภัยทั้งแบบปลูกในดินและแบบไฮโดรโปนิกส์ การผลิตปุ๋ยไคติน การเลี้ยงไส้เดือนดิน และการใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน
177 ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ มหาวิทยาลัยนครพนม ถ่านชีวภาพผลิตจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร -การผลิตถ่านชีวภาพ -การประยุกต์ใช้ถ่าน -การใช้พลังงานความร้อนจากการผลิตถ่านชีวภาพ
178 ดร.ชัชวาล แสงฤทธิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม เทคโนลีการเก็บรักษาและขยายพีนธ์พืชอินทรีย์
179 อ.บงกชไพร ศรพรหม มหาวิทยาลัยนครพนม การจำแนกศํตรูพืชโรคพืช และการเลือกใช้สารชีวภัณฑ์
180 น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตปุ๋ยไส้เดือน 1. วิธีการผลิตปุ๋ยจากมูลไส้เดือน 2. วิธีการดูแลรักษา 3. การประยุกต์ใช้ปุ๋ยจากมูลไส้เดือนกับพื้นที่การเกษตร
181 น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนการปลูกผักยกสูงในโรงเรือนเพื่อลดปัญหาวัชพืช โรคแมลง และลดการปวดเมื่อยในการกาทำงานของเกษตรกร
182 ดร. สุภาวดี สำราญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
183 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา พีรกมล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2.การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
184 ดร.ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ 2.เทคโนโลยีการเกษตรการผลิตอาหารสัตว์ต่างๆๆๆ
185 อาจารย์ชลกาญจน์ สถะบดี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การตลาด
186 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีการผลิตผักไร้สารพิษ
187 อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีขั้นสูงสำหรับการผลิตพืช
188 นายบัญชา รัตนีทู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เชี่ยวชาญในเรื่องของการปรับปรุงสภาพดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการลดการใช้ปุ๋ยเคมี
189 อาจารย์อุไรวรรณ วันทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบจัดการน้ำพืชสวน แบบ Smart farming
190 ดร.ธีระวัฒน์ เจริญราษฎร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย บริหารธุรกิจ
191 ดร.พิณทิพย์ จันทรเทพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดแครง เป็นต้น รวมถึงส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัวแบบเกษตรอินทรีย์ ลด ละ เลิกการใช้ปุ๋ยเคมี
192 ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
193 ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
194 รศ. ดร.โอภาส พิมพา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โคเนื้อ โคขุน อาหารโค
195 ผศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น การแปรรูป การตลาด เป็นต้น
196 ดร.ไมตรี แก้วทับทิม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
197 รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
198 รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
199 ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles
200 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
201 นายมนตรี โนนพะยอม วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น พัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร
202 ผศ. ดร.พนินท์ นนทโคตร มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ สาขาเศรษฐศาสตร์
203 ผศ.ดร.รัชนี เพ็ชร์ช้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
204 นางปิยะธิดา สีหะวัฒนกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์
205 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิษา สุวรรณเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี - พัฒนาผลิตภัณฑ์ชาใบขลู่ และพัฒนาผลิตภัณฑ์แชมพูและครีมนวดผมสมุนไพร - พัฒนาบรรจุภัณฑ์ - พัฒนากระบวนการผลิต - มาตรฐาน อย. หรือ มผช. - มาตรฐาน การจดแจ้งเครื่องสำอาง
206 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร บุญมี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การผลิตและแปรรูปสมุนไพรที่เป็นอาหารและไม่ใช่อาหาร การผลิตเครื่องสำอางและการออกแบบผลิตภัณฑ์
207 รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Smart farming) - คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส
208 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิฆเนศวร ทะกอง มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เทคโนโลยีการจัดการด้านการประชาสัมพันธ์ สื่อ การทำการตลาดออนไลน์ ผ่านเว็ปไซต์ เฟสบุค ไลน์ ของผู้ประกอบการ เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายในสังคมยุคดิจิตัล
209 อาจารย์นภาพร จิตต์ศรัทธา มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 1. เทคโนโลยีการปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์ 2. เทคโนโลยีการการสร้างโรงเรือนสำหรับปลูกไฮโดรโปนิกส์ 3. การปลูกพืชสวน
210 รศ. ดร.วิชัย หวังวโรดม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก
211 ผศ. ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนานวัตกรรมการใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นในการกำจัดศัตรูพืชในนาข้าวอินทรีย์
212 ดร.ฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนาชุมชน การจัดทำแผนการตลาด ต้นทุนและผลตอบแทน การจัดการการเงินครัวเรือน
213 ผศ. ดร.ภานุพงศ์ พุทธรักษ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สมุนไพร
214 ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 8. ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
215 ผศ.ดร.จันทิมา พรหมเกษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ
216 อาจารย์วาสนา แผลติตะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การผลิตพืชผลทางการเกษตร (Crop)
217 ดร.เพชรไพรริน อุปปิง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ การตลาด การบัญชี
218 ยิ่งศักดิ์ ชุ่มเย็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การสร้างอุปกรณ์-เครื่องดนตรีไทย,นวัตกรรมการประดิษฐ์พวงกุญแจไม้ฆ้องจิ๋ว
219 ผศ.เสริมศรี สงเนียม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบงานหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น, การวิจัยเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้
220 ดร.นิติศักดิ์ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ธุรกิจเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล (Business Analytics for Data-Driven Decision Making) - ระบบสนเทศและภูมิศาสตร์ และการสำรวจระยะไกล (Geographic Information System & Remote Sensing) - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
221 นางปาริชาติ อำนวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การจัดการฐานข้อมูล - การใช้เครื่องมือในการทำธุรกิจออนไลน์ - การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศ
222 นายวิทยา ตู้ดำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออกแบบ ต้นแบบผลิตภัณฑ์ - ช่องทางจัดจำหน่ายสินค้าออนไลน์
223 ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(เกษตรศาสตร์)มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.(Animal Production), The University of Aberdeen Scotland, UK ความเชี่ยวชาญ การผลิตสัตว์ พฤติกรรมสัตว์ เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการฟาร์มเกษตร การบริหารจัดการการศึกษา การจัดการเกษตรนานาชาติ การจัดการชุมชน
224 อัตถ์ อัจฉริยมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(พืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(เกษตรศาสตร์เชิงระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ระบบผลิตทางการเกษตร
225 ดร.สุพจน์ บุญแรง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาอุคสาหกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก สาขาพัฒนาทรัพยากรชนบท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ความเชี่ยวชาญ - จุลินทรีย์ อุตสาหกรรมการหมัก
226 ดร.จันทนา แสงแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์ทางทะเล, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สาหร่ายทะเล สาหร่ายน้ำและพรรณไม้
227 นางสาวกมลวรรณ สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก
228 ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
229 นางสาวภคมน กุลนุวงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ด้านอาหารว่าง อาหารประเภทของฝาก
230 ผศ.ดร.อนงนาฎ ไพนุพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, Gene expression, Oxidative stress , Cell Culture and Apoptosis การเลี้ยงเซลล์ การแสดงออกของยีน โดยใช้เทคนิค RT-PCR รวมถึงการวิเคราะห์ผลการแสดงออกของยีน รวมถึงกลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์ ที่นำไปสู่การตายของเซลล์ ที่เรียกว่า กระบวนการ apoptosis
231 ดร.อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product Chemistry)
232 บุปผชาติ จันทร์สว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์ และการวิจัยทางด้านการตลาด calculus, numerical computing, computational mathematics, data analysis, marketing research
233 นายธวัชชัย นิ่มพญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบและสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ ชุดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานอิเล็กทรอนิกส์ เพาเวอร์ซัพพลายต่างๆ วงจรควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ สมาร์ทฟาร์ม และเครื่องกลไฟฟ้า
234 ธนภัทร์ ดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ฟิสิกส์ทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงสถิติ เทคโนโลยีควอนตัม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
235 ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา
236 ฐิญาภา เสถียรคมสรไกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการการตลาด, การท่องเที่ยวโดยชุมชน, นันทนาการการท่องเที่ยว
237 ดร.อภิรัฐ ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิศวกรรมชลประทานและการจัดการน้ำ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
238 ผศ.อำไพ สงวนแวว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยด้านผดุงครรภ์ไทย ความเชี่ยวชาญด้าน สรรพคุณสมุนไพรไทย การทำชาสมุนไพรไทย สมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน รับปรึกษาด้านโภชนาการโรคเบาหวาน
239 นางสุมลมาลย์ อรรถวุฒิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาด
240 นายธรรมนูญ รุ่งสังข์ มหาวิทยาลัยพะเยา การตั้งตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางในห้องปฏิบัติการ และขั้นอุตสาหกรรม
241 ดร.จักรินทร์ ศรีวิไล มหาวิทยาลัยพะเยา วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง
242 นายชลิต ตรีนิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การผลิตเห็ดในถุงพลาสติก
243 ผศ.ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา อิเล็กทรอนิกส์, การโปรแกรม, ระบบฝังตัวและควบคุมอัตโนมัติ
244 ผศ.ผุสสดี วัฒนเมธา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การวางแผนการตลาด กลยุทธ์การตลาด การสร้างแบรนด์
245 สุทธิรักษ์ ผลเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 1) ปรับปรุงพันธุ์พืช 2) สรีรวิทยาของพืช 3) เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 4) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร // เกษตรอินทรีย์ 7) ระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ
246 มัลลิกา จินดาซิงห์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 1) การใช้เครื่องหมาย โมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3) จุลินทรีย์ทางการเกษตร 4) การวิเคราะห์สารสำคัญทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร
247 ดร.ศศิธร เพชรแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ระบบการจัดการผักปลอดภัย และการรับรองมาตรฐาน
248 ดร.ภัทยา นาประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า
249 นางสาวกานต์ธีรา โพธิ์ปาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการและการตลาด
250 นางสวรรยา หาญวงษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการและการตลาด
251 นางศศิธร ปรือทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเคมี, วิทยาศาสตร์ ,เกษตร
252 วาสนา สิงห์ดวง (ชัยเสนา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเคมีชีวภาพ วิทยาสาตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
253 นางสาวสุกัญญา ทับทิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพลังงาน, วิจัยชั้นเรียน
254 นางสาวสุจิตรา เรืองเดชาวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชายด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์
255 ดร.วิศรา ไชยสาลี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
256 นายวิทยา พรหมพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์
257 ดร.จุฑามาส เพ็งโคนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การท่องเที่ยว การพัฒนาหลักสูตรเพื่อชุมชน การตลาดออนไลน์
258 อาจารย์ปณิดา กันถาด มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก
259 ธีรพัชส ประสานสารกิจ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ smart technology. เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่ ระบบติดตามสิ่งแวดล้อมและควบคุมระบบน้ำอัจฉริยะ smart iot
260 นางสาวนาตาลี อาร์ ใจเย็น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สมุนไพรไทยปลาไหลเผือก
261 ดร.ลภัสรดา มุ่งหมาย มหาวิทยาลัยพะเยา Microbiology and cosmetic science ที่ปรึกษาเวชสำอางแก้สิวจาก “ใบมะม่วง” คว้ารางวัล “Special Award”จากไต้หวัน เกาหลีและอียู link : http://www.pharmacy.up.ac.th/PHAR1/
262 นายสมชาย บุญพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบงานไม้ งานจักรสานจากไม้ไผ่
263 ผศ.ดร.พรพรรณ สิระมนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Analytical Chemistry, Instrumental Analysis, Plant Extractives, Wood Chemistry
264 ผศ.ขนิษฐา ไชยแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก
265 ผศ.สุดารัตน์ สุตพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก
266 นางวารุณี เหง่าศรี วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีส่งเสริมด้านการตลาด บัญชี การเงิน แลบริหาระธุรกิจ
267 นางสิรินทร เขียนสีอ่อน วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น พฤติกรรมผู้บริโภค การเขียนแผนธุรกิจ บัญชี การเงิน การตลาดออนไลน์
268 นางรัศมี รวีนิภาพงศ์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การเขียนแผนธุรกิจ การตลาด
269 รศ.บุษบา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การประชาสัมพันธ์ การตลาด สร้างแผนกลยุทธ์การสื่อสาร
270 ดร.พีรพงศ์ งามนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food
271 ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ
272 อาจารย์สงบ ศรีเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความเชี่ยวชาญด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ รวมถึงเชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสาหร่าย แพลงก์ตอน
273 ผศ.ดร.บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำด้านการเพาะเลี้ยงพืชน้ำ ด้านสิ่งแวดล้องทางประมง
274 นายทองมี เหมาะสม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการส่งเสริมการเกษตร ด้านบริการวิชาการกลุ่มชุมชน ด้านการผลิตพืช
275 ผศ.ดร.ประดิษฐา ภาษาประเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านงานศิลปะ การประดิษฐ์ เทคนิคการถ่ายภาพ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิถีชุมชน
276 ผศ.อรสุชา อุปกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านสื่อโฆษณา ด้านการตลาด เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อทำสื่อโฆษณา ด้านการประชาสัมพันธ์
277 นางวาสนา ศิลป์รุ่งธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านการสร้างโมเดลธุรกิจSMEs
278 ผศ.ภูรินทร์ อัครกุลธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเพาะพันธุ์ และการขยายพันธุ์พืช และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
279 ดร.รัฐ ชมภูพาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การประดิษฐ์เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การจัดดอกไม้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมงานศิลปประดิษฐ์ รวมถึงด้านการวิจัยด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมของสังคม
280 ดร.อัครวัฒน์ จตุพัฒน์วโรดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวางแผนการตลาด
281 ดร.ชาลิสา อภิวัฒนศร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การย้อมสีธรรมชาติ
282 ดร.รัตชพงษ์ เขียวพันธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
283 ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคโนโลยรีะบบการให้น้ำพืชแบบอัจฉริยะและแม่นยำ
284 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนิตชยา พุทธมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การเก็บรักษาในสภาพควบคุมบรรยากาศและสภาพบรรยากาศดัดแปลง ๒. Structure and transpiration of netted melon fruit ๓. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มผักผลไม้
285 อาจารย์ กฤตยชล ทองธรรมสถิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๒. การตลาด ๓. การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ๔. การพัฒนาผู้ประกอบการ
286 อาจารย์ มาโนช รัตนคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การวิเคราะห์สารอินทรีย์ ๒. การสกัดสารสำคัญในพืชและสมุนไพร
287 นาย ไพรัช โรงสะอาด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นผู้จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ศักยภาพชุมชนในการแก้ไขปัญหาความต้องการชุมชน
288 ธันวา เอี่ยมงาม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร
289 อาจารย์ วชิราภรณ์ เรือนแป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑.เกษตรอินทรีย์ ๒.การปลูกพืชแบบวนเกษตร ๓.การจัดการดินเพื่ออาหารปลอดภัย ๔.การผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ
290 ดร.มีนนภา รักษ์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศออนไลน์ 3. การตลาดดิจิทัล
291 ดร.บุษราภรณ์ มหัทธนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบ การตลาดดิจิทัล
292 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น
293 อาจารย์ ดร. ยุภา ปู่แตงอ่อน มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้านเคมีภัณฑ์ธรรมชาติ เคมีเกษตร การวิเคราะห์สาร การศึกษาสังเคราะห์และพัฒนายา
294 อาจารย์ ดร. วัชรา ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยศิลปากร ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท
295 ผศ.ดร.ปิยพร ศรีสม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1. การตั้งตำรับเครื่องสำอาง-เวชสำอางจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อควบคุมคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
296 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
297 ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
298 ดร.อถิชัย จันทร์อุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การสร้างภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิก และการ ถ่ายภาพสินค้าและการตกแต่งภาพเพื่อการตลาดออนไลน์ สร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ ออกแบบและพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม
299 ผศ.ดร.สมคิด ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด และการเกษตรทุกรูปแแบบ
300 ผศ.ธรรมศักดิ์ พุทธกาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเกษตร เทคโนโลยีไม้ดอก ไม้ผล ทุกชนิด
301 อาจารย์สุภาพร ไชยรัตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช บริหารธุรกิจ และการตลาด
302 ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
303 อาจารย์จักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
304 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การเตรียมดินท้องถิ่นนำมาคัดเลือก ตามกระบวนการทดสอบทางเคมีโดยใช้วทน.คือ ชั่ง ตวง วัด ตามสูตร บดผสม เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
305 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์และทดสอบเนื้อดิน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
306 มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบเนื้อดินตามสูตรที่มีความเหมาะสมในการนำมาผลิตสินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
307 นายธนวัฒน์ รอดขาว นายอดิศักดิ์ การพึ่งตน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตเก๊กฮวยอินทรีย์
308 เดชาวัต มั่นกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การบริหารจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับครัวเรือน
309 นางสาวสารภี พาหา วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ การใช้โปรแกรม Office,งานฝีมือหัตถกรรม
310 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันวิสาข์ ลิจ้วน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี พืชสมุนไพร
311 นายกมลพงศ์ รัตนสงวนวงศ์ มหาวิทยาลัยพะเยา การตลาดออนไลน์ การตลาดบริการ การประเมินตลาด
312 ศุภชัย สุทธิเจริญ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผักอินทรีย์ และพืชผักทุกชนิด
313 พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สัตววิทยา, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, กีฏวิทยาทางการแพทย์และสัตวแพทย์ , อนุกรมวิธานของสัตว์, ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด, นิเวศวิทยา, พิษวิทยาของสารฆ่าแมลง, เนื้อเยื่อวิทยา
314 มนตรี วงษ์สะพาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปข้าวฮาง ข้าวหมากข้าวฮาง
315 จิระพร ชะโน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการฟาร์มควายนม
316 สิริพิศ พิศชวนชม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์หาสารสมุนไพร
317 ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
318 ณัชชลิดา ยุคะลัง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสมุนไพร การจัดการสาธารณสุข
319 วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
320 อาคม เสงี่ยมวิบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
321 ปรีชา นวลนิ่ม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
322 สรัญญา ภักดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบลายผ้า สิ่งทอจากลายธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ
323 อภิเชษฐ์ ตีคลี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรม การออกแบบของที่ระลึก เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบบรรจุภัณฑ์
324 ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเขียนระบบแอพพลิเคชั่น
325 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา จำลองราษฎร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Management, Feasibility Study, Finance, Project Analysis, Managerial Accounting, Accounting and Finance for Manager
326 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ไพโรจนวุฒิพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์การตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค
327 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงกล เพชรสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ การวางแผนการผลิต การจัดตารางการผลิต ด้านการสอน องค์การและการจัดองค์การ
328 ผู้ช่วยศาสตราจาย์วุฒิชัย สหัสเตโช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์การตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค
329 ดร. ศุภนารี พิรส มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Management Marketing Management
330 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ ซื่อประดิษฐ์กุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม News Investigative Journalism Tradition Media New Media
331 ดร. พัสกร ลี้วิศิษฏ์พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Management Marketing Management Service Marketing Feasibility Study
332 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ อุ่นปรีชาวณิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การตลาด การลงทุน โลจิสติกส์ วิธีวิทยาการวิจัย เทคโนโลยีการผลิต
333 อาจารย์ชลธิชา อยู่พ่วง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การตลาด
334 ดร. ดนชนก เบื่อน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Public Relations Human Resource Development Organization Development การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, การพัฒนาบุคลิกภาพ
335 ผศ.ดร.วีระพงษ์ อินทร์ทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Statistics in Agricultural Research
336 ผศ.น้ำฝน คงสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี
337 ดร.สริยา สุภัทรานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด
338 น.ส.รุจาภา สุกใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด
339 นางสาวขวัญเรือน ภูษาบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการบริหารกลยุทธ์และการวิจัยทางการตลาด, ด้านการสื่อสารทางการตลาด, ด้านการตลาดดิจิทัล/ตลาดออนไลน์, ด้านการสร้างคอนเทนต์, ด้านการจัดการธุรกิจเกษตร, ด้านการออกแบบ/อินโฟกราฟฟิค, การบริหารการอุดมศึกษาและการจัดการสหกิจศึกษา
340 น.ส.สุกัญญา จันทกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์ แกะสลักผักและผลไม้
341 รศ.อภิรัติ โสฬศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การจัดดอกไม้พื้นฐาน พานพุ่มดอกไม้สด
342 น.ส.รุ่งฤทัย รำพึงจิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก จัดดอกไม้
343 น.ส.สมปรารถนา สุขสละ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
344 อ.ดร.โชติกา ฉิมงามเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาดและการบัญชี
345 อาจารย์สำเรียม คุมโสระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขาย การตลาดออนไลน์ การขับเคลื่อนบริบทชุมชนให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
346 นางสาวกาญจนา ชุมสงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการตลาดดิจิทัล/ตลาดออนไลน์, ด้านการสร้างคอนเทนต์,
347 ผศ.ดร.รัตนจิรา รัตนประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การปรับปรุงพันธุ์พืชไร่/พืชสมุนไพร ทักษะพื้นฐานทางการเกษตร
348 อ.ดร.อัจฉราวดี เครือภักดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการเกษตรและการดูแลปรับปรุงพันธุ์พืช
349 อ.ลักขณา พิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร
350 อาจารย์ภัทริยา วาหมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การวางแผนธุรกิจและการตลาด
351 อาจารย์ ดร.พวงเพชร พิมพ์จันทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การปลูกพืชผัก การทำเกษตรอินทรีย์
352 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภควดี ศิริหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมการออกแบบและผลิต / เทคโนโลยีวัสดุ
353 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรินทร คุ้มเขต มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ ชุมชนและศิลปะวัฒนธรรม
354 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอี้ยวกฤตยากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การผลิตปุ๋ย - bioplastics - การสกัดน้ำมัน - การสกัดสาระสำคัญจากธรรมชาติ - การนำของเสียจากชีวมวลมาใช้ประโยชน์
355 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตปลาหมอไทย
356 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ปลานิล
357 ดร.ตรี วาทกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มมูลค่าสับปะรด GI
358 ดร.กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์
359 อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย
360 ผศ. ดร.รุ้งลาวัลย์ เอี่ยมกุศลกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มมูลค่าสินค้าจากชาอัสสัม
361 ผศ.ดร.ถนอม ทาทอง มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุน ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความเข้มแข็ง
362 ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ กกแก้ว มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนการแปรรูปวัสดุเศษเหลือจากข้าวอินทรีย์ ใช้ปลายข้าวกล้องหอมมะลิและไรซ์เบอร์รี่
363 ดร.อนิรุทธิ์ ผงคลี มหาวิทยาลัยนครพนม การต่อยอดธุรกิจแบบออนไลน์ ออฟไลน์ การจัดทำแผนการตลาด และแผนธุรกิจ
364 อาจารย์ชนาพร รัตนมาลี มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตเห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดบด เห็ดกระด้าง การแปลรูปเห็ด
365 อาจารย์นิรัติศักดิ์ คงทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร
366 นายประยูร ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีการเกษตร ,เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก
367 อ.วราเดช แสงบุญ มหาวิทยาลัยนครพนม การวิเคราะห์คุณสมบัติของถ่านไบโอชาร์ - คาร์บอน(Carbon (C)) - โฮโดรเจน (Hydrogen (H)) - ไนโตรเจน (Nitrogen (N)) - ออกซิเจน (Oxygen (O)) - ซัลเฟอร์ (Sulfur (S)) การวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของถ่านไบโอชาร์
368 อาจารย์กฤชณัท รวมบุญ มหาวิทยาลัยนครพนม โปรแกรมประยุกต์บนเว็บสำหรับวางแผนการเพาะปลูกพืชผัก
369 ผศ. ณรงค์ฤทธิ์ อุปพงษ์ มหาวิทยาลัยนครพนม นำของเสียมาใช้ประโยชน์ และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ แก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์สำหรับครัวเรือน เพิ่อนำของเสียจากมูลสัตว์มาใช้ผลิตแก๊สชีวภาพ
370 นางสาวกานดา ปุ่มสิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ทางด้านสิ่งแวดล้อม,เทคโนโลยีทางด้านเกษตร3.เทคโนโลยีพลังงานทอแทน
371 นายวีรชน มีฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีทางด้านเกษตร พลังงานและสิ่งแวดล้อม
372 อาจารย์อรุณี คงสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา จุลชีววิทยา ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ
373 ผศ.ดร.นวพร รัตนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ออกแบบ และสร้างแบ รนด์สินค้า การเขียนแผน ธุรกิจ แผนการตลาดของ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
374 ดร.สุนิสา สุวรรณพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา จุลชีววิทยาทางอาหาร เอนไซม์ อาหาร
375 อาจารย์วุฒิศาสตร์ คำคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ออกแบบ และสร้างแบรนด์สินค้าการเขียนแผนธุรกิจแผนการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชน
376 อาจารย์อภิชยา นิเวศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
377 รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก
378 ผศ.ศรีชนา เจริญเนตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแบบจุภัณฑ์สินค้าในท้องถิ่น ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ออกแบบลวดลายผ้า
379 อาจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การสร้างต้นแบบและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าที่แปรรูป การสร้างกิจกรรมทางการจัดจำหน่าย ทั้ง Online และOffline ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดในยุคปกติใหม่
380 อาจ่ารย์จักรวัฒน์ เรืองแรงสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ การพัฒนาต้นแบบเครื่องจักรการเกษตร
381 อ.ประภาพร พลอยยอด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ การพัฒนาโปรแกรมควบคุมและสั่งการ
382 ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พลังงาน
383 อ.พัฒน์ ทวีวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
384 รศ.ดร.สภุกร บุญยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลิตภัณพ์จากไผ่ เคมีใบไผ่ สารสกัดไผ่
385 อ.เยาวลักษณ์ เกิดปั้น มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร รบบห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
386 อ.พฤกษา ปิ่นสวาสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานทางการเกษตร ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
387 อ.ปัณณวุฒิ ปิ่นสวาสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการโลจิสติกส์ ระบบห่วงโซ่อุปทานภาคเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานสินค้าหัตถกรรม
388 1. ดร.ศิวพร แพงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีทางด้านการเกษตร
389 ดร.จารุวรรณ พนมจีระสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การส่งเสริมด้านการตลาด
390 อาจารย์เอกวุฒิ จันทร์ส้ม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การตลาดออนไลน์/ พฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์/ การตลาดดิจิทัล (Online Marketing / Online Consumer Behavior / Digital Marketing)
391 อาจารย์มลชฎาภร สุขการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเครื่องเคลือบและเครื่องปั้นดินเผา การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
392 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม การออกแบบบรรจุภัณฑ์
393 อาจารย์สิริชนก อินทะสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การสร้างแบรนด์ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ การเพิ่มช่องทางการตลาดออนไลน์
394 อาจารย์อภิชาติ พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านกระบวนการและการทำแผนบริหารจัดการกลุ่ม
395 นางสาวอมราวดี วงศ์เทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตลาด การสร้างแบรนด์
396 ดร.สุรินทร์ อินทะยศ คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิท มหาวิทยาลัยบูรพา อัญมณีและเครื่องประดับ
397 ศ.ดร.อาณัติ ลีมัคเดช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Block Chain การเงิน
398 นายชัยธวัช จารุทรรศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
399 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
400 นางปรีดา ตัญจนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด
401 นางสาวคนึงนุช สารอินจักร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการออกแบบแบรนด์สินค้า
402 อาจารย์ ดร.สราวุฒิ แนบเนียร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปขมิ้นชัน ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
403 ผศ.ดร.ราตรี แจ่มนิยม มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี อัตลักษณ์ด้านภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์
404 ดร.บุษบา ทองอุปการ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการด้านแรงงาน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
405 อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
406 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
407 พิมพ์นภา ภูฆัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
408 นางสาวลัดดา ปินตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนธุรกิจ Business Model
409 อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จัดดอกไม้ ศิลปะการประดิษฐ์ตุงล้านนา
410 รศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องงวิเคราห์คุณภาพน้ำอ้อยที่สามารถพกพาและนำไปใช้งานในไร่ได้
411 นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาการเจริญของราก ทำให้ทราบข้อมูลการกระจากตัวของรากและความหนาแน่นของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน
412 อ.ดร.ภวินทื ธัญภัทรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรือรดน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยวิทยุบังคับเพื่อให้เหมาะสมกับกับต้องการของเกษตรกร
413 นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ
414 นายอัครชัย โสมกุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การปลูกและการดูแล การปลูกพืชและผักเขตร้อนที่เหมาะกับสภาพอากาศประเทศไทย
415 รศ.ดร.เรวัต เลิศฤทัยโยธิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การพัฒนาอ้วยพันธุ์กำแพงแสน ที่เหมาะกับการปลูกแล้วได้ผลผลิตที่ดี เเละเป็นพันธุ์ของกำแพงแสน
416 อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การฟ้อนรำ
417 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรนุช คำแปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีศิลป์
418 ผู้ช้วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชพล เมธารัชกุล มหาวิทยาลัยพะเยา - ศึกษาความชุกของการปนเปื้อนปรสิตในสิ่งแวดล้อม อาหาร การเกิดโรค โดยผสมผสานเทคนิคพื้นฐาน และเทคนิคชั้นสูงทางห้องปฏิบัติการ เพื่อมาประยุกต์สู่ชุมชน - ปรสิตวิทยา เกษตรปลอดภัย อณูชีวโมเลกุล อาหาร สิ่งแวดล้อม
419 อาจารย์ธนิกา หุตะกมล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การออกแบบลวดลายสิ่งทอ ลวดลายมัดล้อม การตัดเย็บหน้ากากอนามัย
420 อาจารย์กัณญพัตส บุญล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การอบรมส่งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือก เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่
421 อาจารย์ญาณพัฒน์ ลาภพาณิชยกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเทคโนโลยีระบบสมาร์ทฟาร์ม และการซ่อมบำรุงดูแลรักษา
422 นางกฤษณา ชูโชนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การศึกษาและทดลองสูตรดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ 5 สูตร ประเมินคุณสมบัติและคัดเลือก นำไปศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการให้ความร้อนดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ในไมโครเวฟที่เวลา 3, 8, 13 และ 18 วินาที ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านดินปั้นทดลองและประเมินความพึงพอใจ นำดินปั้นจากโอเอซิสที่พัฒนาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์งานใบตองและประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์จากกลุ่มลูกค้าของร้านขายผลิตภัณฑ์ดินปั้นหรืองานใบตองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ดินปั้นจากโอเอซิสสูตรที่ 4 ให้ความร้อนแต่ละครั้งเป็นระยะเวลา 8 วินาที มีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ในงานใบตอง ผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และกลุ่มผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมาก
423 ผศ.จิราภา พงศ์ศุภสมิทธิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผ้าพื้นเมืองของ ชาวเขาเผ่าเย้า จังหวัด พะเยา งานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาด้านวิถีชีวิต ของชาวเขาเผ่ากระหร่าง จังหวัด เพชรบุรี งานวิจัยเรื่อง การศึกษาสุขภาพจิตของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อนักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น
424 นายสุชาติ เฮ็งฉุน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
425 นายสมพงษ์ แซ่บ่าง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
426 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
427 ดร.เยาวมาลย์ เขียวสอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการปลูกข้าว การผลิตข้าวปลอดภัย&ข้าวอินทรีย์
428 ดร.นฤมล มีบุญ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง
429 ผศ.ดร.ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาดออนไลน์
430 อาจารย์ทัศนีย์ รัดไว้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การผลิตพืชผัก และการขยายพันธุ์พืช
431 อาจารย์เกศเเก้ว ประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
432 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืช
433 ผศ.เมธาวัตร ภูธรภักดี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การสร้างและถอดบทเรียน การทำโมเดลธุรกิจ(BMC) การถอดบทเรียนโมเดลแบรนด์(Brand Canvas Model) การสร้างและสื่อสารแบรนด์ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารการตลาด การพัฒนาช่องทางการตลาด
434 ดร. ทรงสิน ธีระกุลพิศุทธิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การยกระดับอุตสาหกรรมไมซ์อย่างครบวงจร - MICE Management - Customer Service Standards - Muslim-friendly Amenities - Venue Operation - Sustainable Event Practices
435 นายศตายุ ร่มเย็น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - Transportation and Logistic System - Business Administration - Customer Service Standards - Incentive specialist
436 นายณัฏฐ์ เศวตรพีพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - อุตสาหกรรมการผลิต - การบริหารจัดการ - SME-Coaching
437 ดร.นุจิรา ทักษิณานันต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว 2. กระบวนการผลิตอาหารสัตว์
438 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพรัช วัชรพันธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การตลาดและการเงิน
439 ดร.ปัทมาวดี คุณวัลลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
440 ผศ.ดร. วิกันดา รัตนพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการแมลงศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมีอันตราย การใช้พืชกับดัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
441 ผศ.ดร.สุรพล ฐิติธนากุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การวางแผนการผลิตและองค์ความรู้ในการผลิตผักอินทรีย์ให้ได้คุณภาพ
442 ผศ. มานพ ธรสินธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ประโยชน์ไม้มีค่าในพื้นที่ และการผลิตถ่านและน้ำส้มควันไม้ที่ได้มาตรฐานทางการเกษตร
443 ผศ.ดร. นิตยา อัมรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของผลผลิตผักอินทรีย์เพื่อรักษาคุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
444 ดร. บุญฑริกา ใจกระจ่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการระบบบัญชีการเงิน การศึกษาตลาดและวางแผนการตลาด
445 นางสาวสุวรรณา รุ่งเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การสร้าง Mindset ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนวัฒนธรรม
446 นางสาวนชพรรณ จั่นทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถยกระดับมาตรฐานและตอบโจทย์กลุ่มตลาดใหม่
447 นางสาวอนัญญา ไทยบุญนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับ Trend Digital Marketing
448 ดร. สุรวิทย์ นันทการัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การใช้วัสดุเหลือใช้ให้เกิดมูลค่าเพิ่มสร้างอาชีพ ๑) ฝึกสร้างผลิตภัณฑ์ของใช้ของตกแต่งจากวัสดุเหลือใช้ ๓) ฝึกออกแบบการนำวัสดุเหลือใช้ไปส่งเสริมและสร้างภาพลักษณ์ท้องที่ จัดสภาพแวดล้อมและก่อให้เกิดพื้นที่ท่องเที่ยวมิติใหม่
449 ดร.สุธรรม ศิวาวุธ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิศวกรรมระบบการผลิต การรออกแบบผลิตภัณฑ์ การเลือกใช้วัสดุ
450 ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
451 ผศ.ศิริลดา ศรีกอก มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปรรูปมะม่วงน้ำดอกไม้
452 อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีปฏิบัติการการแปรรูปกล้วยน้ำว้า
453 นายณัฐกิตติ์ มาฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำเสนอให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆร่วมกัน
454 นางเพ็ญศรี มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น ด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำฐานข้อมูลที่ได้นำเสนอให้กับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆ ร่วมกัน
455 นายสุทธิ มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด"
456 นายบุญทับ กันทะเตียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เพาะขยายพันธุ์พืช ค้นคว้า ทดลองการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ ทดลองสูตรปุ๋ยหมัก
457 นายกวินท์ จิตอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การปลูกผักอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการแปลงผักอินทรีย์และการป้องกันแมลง
458 รศ.ดร. สุพร จารุมณี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตำรับยา เครื่องสำอาง การรักษาด้วยสมุนไพร การสมานเเผล การพัฒนาเเคปซูลชนิดรับประทาน ยาภายนอก
459 รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
460 รศ.คนธาภรณ์ เมียร์แมน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้กลึง
461 นายภูมิรพี คงฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้กลึง
462 อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบ
463 ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
464 ผศ.ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ส่วนเหลื่อมตลาด การส่งผ่านราคา และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
465 นางสาวสุรีรัตน์ บัวชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน ปุ๋ย
466 ดร.ศรีรุ่งรัตน์ สุดสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การถ่ายทอดองค์ความรู้ การบัญชี การจัดการ การตลาด
467 อ.วจนะ ภูผานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตลาด การบัญชี
468 ดร.นุชสุภา สุนทมาลา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทบสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและสมุนไพร
469 ภญ.ศุภกัญญา กุมกาญจนะ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การกำหนดสูตรและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
470 ภก.ทวีศักดิ์ ธรรมราช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร
471 ดร.ธีรพรรณ อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการ บริหารธุรกิจ การเงิน
472 นางสาวมนชยา เจียงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
473 นางสาวบุษกร คงเอียด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
474 ผศ.มลิจันทร์ ทองคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตลาด การบัญชี การจัดการ
475 นายสถิติพงษ์ เอื้ออารีมิตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Multimedia, Photography, Content Marketing, Knowledge Management
476 อ.วรัญญู แก้วดวงตา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกพืชทุกชนิด
477 อาจารย์กฤตธี สงวนศักดิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม ช่วยลดต้นทุนการผลิตเตาเผาถ่านชีวภาพ
478 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา เดชะรัตนางกูร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. Food Processing and Product Development 2. Hydrocolloid and applications 3. Rice and rice products
479 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ สิมะไพศาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
480 อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
481 อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัดสุศาสตร์
482 อาจารย์ธินันท์ธณัฐ อิทธิธาดานันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กลยุทธ์การตลาด การจัดการการตลาด
483 นายฐิติกร วงศ์เลื่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านออกแบบกระเป๋า หมวก เสื้อผ้า รวมถึงการแปรรูปจากวัตถุดิบธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น มาเป็นผลิตภัณฑ์ ของใช้ของตกแต่าง เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น
484 นางปัญจลักษณ์ หรีรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเครื่องเคลือบดินเผา
485 ผศ.ดร.มณีภัทร์ ไทรเมฆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและรายได้ ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการตลาด
486 อาจารย์กมลทิพย์ ต่อทรัพย์สินชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบรูปแบบของผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมทางด้านการตลาด และออกแบบกราฟิกเพื่อใช้ในงานบรรจุภัณฑ์
487 อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
488 ผศ.โชติมา โชติกเสถียร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การส่งเสริมการขาย. การพัฒนากลยุทธ์การตลาด ตลาดออนไลน์
489 อาจารย์เบญนภา พัฒนาพิภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบแบนเนอร์เพื่อโฆษณาโปรโมชั่นให้กับร้านขายอุปกรณ์ทำอาหาร เป็นต้น
490 อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น
491 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
492 นางสาวกัญญ์ฐญา ทรัพย์ทวีธนกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การส่งเสริมด้านการตลาดและเข้าถึงผู้บริโภคผ่านกระบวนการออนไลน์ การเชื่อมโยงตลาดของผลิตภัณฑ์บูรณาการกับการท่องเที่ยว
493 อาจารย์ทวีศักดิ์ คงตุก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การทำการตลาดบนสื่อออนไลน์ วิสาหกิจชุมชน
494 ผศ.ดร. มานิดา เชื้ออินสูง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การตลาดแห้วปลอดภัยตามมาตรฐานจีเอพีและแห้วอินทรีย
495 ดร.พฤฒิพงศ์ เพ็งศิร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับและเทคโนโลยีสื่อผสมเพื่อส่งเสริมการค้าผลิตภัณฑ์มะขามป้อม
496 นายธัชพล ภัทรจริยา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวการออกแบบผลิตภัณฑ์ /งานไม้/ บรรจุภัณฑ์
497 ดร.ผกามาศ ไพโรจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวกับการจัดการข้อมูล / ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ / การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
498 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชาวลิต อุปฐาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีความเชี่ยวชาญในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ อาหารไทย ขนมไทย การแกะสลักผักผลไม้ เป็นต้น
499 นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน
500 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา ปาปัดถา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เทคโนโลยีดิจิทัล คอมพิวเตอร์กราฟิก และสื่อสิ่งพิมพ์
501 นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบของที่ระลึก การออกแบบลวดลายผ้า การพิมพ์ผ้า
502 อาจารย์ ดร.ภรณี หลาวทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาด
503 นางสาวปาริชาติ ช้วนรักธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด, การตลาดดิจิทัล, การพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการ และการขนส่ง
504 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
505 ผศ.ดร.คมกฤษณ์ ชูเรือง มหาวิทยาลัยนครพนม ระบบเกษตรอัจฉริยะ เช่น โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ โรงเรือนปลูกผัก และระบบน้ำใต้ดิน
506 ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา มหาวิทยาลัยนครพนม การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการผลิต (GAP/อินทรีย์) การบริหารจัดการชุมชน เพื่อส่งเสริมการเกษตรให้ได้มาตรฐาน
507 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม
508 นางสาวศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดดิจิทัล การตลาดออนไลน์ การจัดการการค้าปลีกและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การบริหารธุรกิจการตลาด
509 นางสาวนิอร ดาวเจริญพร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
510 นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
511 ผศ.จุติพร ปริญโญกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ การบริหารประเด็น การจัดการภาวะวิกฤต การใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาดเพื่อเพิ่มกระตุ้นยอดขาย ขยายกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ
512 อาจารย์เกษสิริ ศักดานเรศว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การผลิต ต้นทุนและการจัดจำหน่าย การวิเคราะห์และการวางแผน
513 อาจารย์บัญจรัตน์ นิรโศก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การให้ความรู้ในการเพิ่มช่องทางการขายสินค้า​ ทางออนไลน์,แนะนำผลิตภัณฑ์​ให้มีความทันสมัยน่าสนใจ​ ให้เข้ากับกลุ่มลูกค้า
514 อาจารย์สุวรรณี หงษ์วิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา กลยุทธ์ทางการตลาด การบริหารจัดการ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์
515 ผศ.ดร.ภิญญดา รื่นสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การเพิ่มมูลค่า การผลิตด้วยเทคนิคการจัดการสมัยใหม่ การสร้างกลไกการตลาดอาหารปลอดภัยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
516 นางสาวภคพร สาทลาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
517 ดร.ชาติรส จิตรักษ์ธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตลาดออนไลน์
518 อาจารย์ปทุมพร หิรัญสาลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านบัญชีธุรกิจ
519 นางสาวอภิญญา กันธิยะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การพัฒนาผลิตภัณฑ์และราคา, การบรรจุภัณฑ์, ช่องทางการจัดจำหน่าย, การจัดการการขาย, เทคนิคการขาย, การจัดการการค้าปลีก
520 นางสาวกอบแก้ว บุญกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีส่งเสริมด้านการตลาดออนไลน์
521 อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
522 นายปรัชญาณินทร์ วงศ์อทิติกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์(อุปโภคและบริโภค) กาแฟ ชา หัตถกรรมพื้นบ้าน
523 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
524 นิเวศ จีนะบุญเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจ, การจัดการนวัตกรรม, การจัดการโลจิสติกส์, การพัฒนาผู้ประกอบการ startup, การออกแบบและพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมสำหรับธุรกิจ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง สามารถออกแบบและพัฒนารูปแบบธุรกิจกลยุทธ์ธุรกิจที่ทำให้ผู้ประกอบการมีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถทำให้เกิดการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน
525 ดรัณภพ อุดแน่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานเกี่ยวกับสินค้าเกษตรเพื่อศึกษาวิธีการดำเนินงานที่ควรปรับปรุงให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นพร้อมทั้งลดต้นทุนและเพิ่มช่องทางจัดจำหน่าย
526 อาจารย์ นิรุต ขันทรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ งานประยุกต์ศิลป์, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์, ศิลปะดอกไม้
527 อาจารย์ ธเนศ เรืองเดช มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ศิลปะประดิษฐ์
528 ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การบริหารจัดการกลุ่ม - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและสิ่งทอ - การออกแบบบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายและ การตลาดออนไลน์
529 ดร.จิตรา ปั้นรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การเขียนแผนธุรกิจ - การวิเคราะห์ต้นทุน - การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการตลาด
530 ผศ.ดร.กฤษฏิ์พนธ์ พรรณรัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ นวัตกรรมทางการเกษตรและพลังงานทดแทน -โดรนเพื่อการเกษตร
531 อาจารย์ มานะ อินพรมมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์- งานเฟอร์นิเจอร์ - การเคลือบผิวเฟอร์นิเจอร์ - การขึ้นรูปเฟอร์นิเจอร์
532 ผศ.ทิวา แก้วเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ กราฟิกและผลิตภัณฑ์ OTOP- ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก - ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม - งานผลิตภัณฑ์ต่างๆ
533 นายณัฐวุฒิ เงาะหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คหกรรมศาสตร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โภชนาการ
534 รศ.ธิติมา คุณยศยิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก การพัฒนากระบวนการผลิตเซรามิก
535 ผศ ละมาย จันทะขาว มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง วิเคราะห์คุณภาพน้ำ ทางด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ และการบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรม
536 ผศ. กาญจนา รัตนธีรวิเชียร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การตลาดออนไลน์
537 นางปราโมทย์ ทิมขำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ด้านการจัดการดิน และปุ๋ยในพืชเศรษฐกิจ การเพาะเห็ด
538 ดร. ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาอาหารหมักจากเมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เสริมด้วยผลไม้เศรษฐกิจตามฤดูกาลเพื่อเลี้ยงโคขุน
539 ผศ.ดร.ไวพจน์ กันจู มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาประชากรลูกผสมกลับข้าวเหนียวพันธุ์สันป่าตอง 1 ให้มียีนความหอม ยีนต้านทาน โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง โดยใช้วิธีการผสมกลับร่วมกับการใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
540 ดร.ฐาณิญา อิสสระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การตลาดออนไลน์ ออฟไลน์ การวางแผนกลยุทธ์การตลาด แผนธุรกิจ
541 นายบรรจง อูปแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
542 อาจารย์ ดร. วิมล ทองดอนกลิ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เซรามิกส์ เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบผลิตภัณฑ์ แป้นหมุน Free hand พิมพ์ แก้ว
543 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เซรามิกส์
544 รองศาสตราจารย์ ดร. สนิท ปิ่นสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Design ceramics/เซรามิกส์
545 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธาราทิพย์ โอฬารทิชาชาต มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Electroceramics Material Sciences Ferroelectric ceramics Materials characterizations and processing ceramics เซรามิกส์
546 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทนารัช จิตชาญวิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Material Sciences ceramics เซรามิกส์
547 อาจารย์หทัยธนก พวงแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนการผลิต วิศวกรรมอุตสาหการ การจัดตารางการผลิต
548 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณิดา โขนงนุช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม โลจิสติกส์ การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
549 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วชิระ วิจิตรพงษา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Transportation and Logistics Management
550 อาจารย์ศุจินธร ทรงสิทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Transportation and Logistics Management
551 อาจารย์เพชรายุทธ แซ่หลี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนและควบคุมการผลิต การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
552 อาจารย์ชิตณรงค์ เพ็งแตง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Internet of Things (IoT) Software Engineering Automation
553 นายพีรวัจน์ ชูเพ็ง มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
554 นวัตกรรมเพื่อเกษตรปลอดภัยครบวงจร (พืชและสัตว์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การประเมินห่วงโซ่คุณค่า การจัดทำแผนธุรกิจระดับชุมชน และการศึกษาความเป็นไปด้วยของโครงการทางด้านการจัดการ
555 นายปรีชา รัตนัง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การพัฒนาศักยภาพสปอร์เห็ดหลินจือ และเห็ดสมุนไพร
556 นางสาววัชรินทร์ จันทวรรณ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ราชินีแห่งผักใบเขียว The Queen of green
557 ผศ.ขนิษฐา กีรตีภัทรกาญจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบการจัดการตลาดแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
558 ดร.ศิริพรรณ จีนะบุญเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุุมชน การจัดการด้านบรรจุภัณฑ์ การสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การตลาดในรูปแบบดิจิทัล
559 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิดา จุมปา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน การพัฒนากลุ่ม
560 ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ มครเพศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี สมุนไพร
561 ผศ.พรสินี ดาราพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ด้านสมุนไพร
562 ผศ.ดร.นิตยา วานิกร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีการเกษตร การบริการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การกำจัดศัตรูพืช
563 อ.พันธ์ทิพย์ เลิศบุรุษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ การเฝ้าระวังระบบน้ำทางการเกษตร การประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางน้ำ
564 ดร.จุฑาภรณ์ ลิ่มสุวรรณมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การจัดทำตำรับอาหาร เพื่อสุขภาพ
565 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
566 นางปรีดา ตัญจนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ที่ปรึกษาด้านการตลาด การส่งเสริมด้านการตลาด และการวางแผน
567 นายธิติวัฒน์ ตาคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การออกแบบผังภาคเมือง ด้านภูมิทัศน์
568 นาย ทวีสิน ปัญญาสีห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การออกแบบวางผังการจัดสวน
569 อาจารย์จิรายุทธ ปิตานนท์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรึกษาธุรกิจอิสระ และอาจารย์พิเศษด้านการตลาดและการเงิน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และมหาวิทยาลัยสแตมฟอร์ด
570 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
571 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
572 ผศ.พิทักษ์ พุทธวรชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์ผัก และผักพื้นบ้าน
573 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
574 ผศ.นภา ขันสุภา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
575 ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว)
576 นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
577 ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
578 ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
579 ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ข้าว
580 นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ไม้กวาดดอกหญ้า และไม้กวาดทางมะพร้าว ด้ามถอดประกอบ
581 นางสาวภาวิณี จังพล วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การจัดการการตลาด
582 ผู้ช่วยศาสตราจราย์เพ็ญนภา มณีอุด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การถ่ายทอดองค์ความรู้ วางแผนธุรกิจ การตลาด
583 อาจารย์ธีรดา คัตตพันธ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Online Customer Behaviour, Digital Marketing, Search Engine Optimisation
584 ผศ.รัตนฤทธิ์ จันทรรังษี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเขียนภาพด้วยเทคนิคสีฝุ่น การพัฒนากาวจากธรรมชาติเพื่อใช้ในการเขียนภาพ การพัฒนาสีผงจากธรรมชาติ
585 รศ.ดร.รุ่งนภา สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบอัตลักษณ์,การวาดภาพประกอบ,การออกแบบกราฟิก,การออกแบบหนังสือ
586 อาจารย์ อธิปวัฌณ์ อมรปัญญานันท์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง, การจัดการโคเนื้อและโคนม, การจัดการอาหารโคเนื้อและโคนม, สูตรอาหารสัตว์
587 ผศ.ดร.สัญญา กุดั่น มหาวิทยาลัยรามคำแหง การประยุกต์ใช้สารธรรมชาติ จุลินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ในการเกษตรและอุตสาหกรรม
588 อาจารย์ จิรเวฐน์ เพ็ชร์สุทธิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขยายพันธุ์พืช การผลิตผัก ไม้ดอกไม้ปรัดับ การแปรรูปพืชผักการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
589 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การบัญชี - การเงินธุรกิจ - การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ - การประเมินโครงการลงทุน
590 นางสาวกอบแก้ว บุญกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ส่งเสริมด้านการตลาดออนไลน์ทุกแฟลตฟอร์ม เช่น ไลน์ tiktok เฟสบุค และอื่นๆ
591 ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
592 ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
593 นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
594 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
595 ผศ.พิทักษ์ พุทธวรชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์ผัก และผักพื้นบ้าน
596 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
597 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
598 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญฤทธิ์ สินค้างาม มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีการเกษตร
599 นาง​กรร​ณิกา บัวทองเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การ​พัฒนา​รูป​แบบ​บรรจุ​ภัณฑ์ - การ​พัฒนา​รูป​แบบ​ทางการ​ตล​าด
600 นางสาวศิรินันทร์ นาพอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การพัฒนาช่องทางตลาดออนไลน
601 ผศ.ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ส่วนเหลื่อมตลาด การส่งผ่านราคา และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
602 นางสาวสุรีรัตน์ บัวชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน ปุ๋ย
603 นายปิยพงษ์ วงศ์ขันแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตรAgricultural System & Engineering
604 ดร.เนตรนภางค์ ทองศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการตลาด การลงทุน กลยุทธ์
605 ดร.ปวีรัฐ ภักดีณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านแนวทางการจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพ การลำดับความสำคัญ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
606 นายวรกฤช ดอนคำเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรมบ่อก๊าซชีวภาพสำหรัครัวเรือน เครื่องบรรจุก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน และออกแบบและสร้างเครื่องจักรงานอุตสาหกรรม
607 อ สุธิกาญจน์ แก้วคงบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เชี่ยวชาญด้านการตลาด
608 อ.สมยศ ศรีเพิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตไม้ดอก ไม้ผล
609 ดร.ชนะดล สุภาพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
610 นวลนพมล ศรีอุทัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
611 เสกศักดิ์ น้ำรอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
612 ผศ.ชาญณรงค์ ศรีทรงเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดระบบปลูกผักพื้นบ้านเพื่อเศรษฐกิจชุมชน การจัดระบบการปลูกถั่วฝักยาวที่มีผลต่อปริมาณของเพลี้ยอ่อนถั่ว (Aphis glycans Matsumura) และศัตรูธรรมชาติที่สำคัญของเพลี้ยอ่อน
613 ดร.พิชญ์ ตั้งสมบัติวิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การทำระบบตลาดมันเทศ
614 ดร.อุทาน บูรณศักดิ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การทำระบบตลาดมันเทศ
615 ผศ.ดร.บงกช สุขอนันต์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี หุ่นยนต์ออกแบบเพื่อเคลื่อนที่ในโรงเรือน
616 อาจารย์สุนทรา เฟื่องฟุ้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา - เคมีอินทรีย์ - เคมีสิ่งแวดล้อม - เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
617 ผศ.สุวันชัย สินโพธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการเกษตร
618 อาจารย์รสสุคนธ์ แย้มทองคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การท่องเที่ยวชุมชน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ - พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น - บรรจุภัณฑ์ - การตลาด
619 ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเคมี
620 สุวิมล ทาริวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 การทำมาตรฐานสมุนไพรpharmacognostic specification , แพทย์/พยาบาล/เภสัชกร/สาธารณสุข, การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางศาสตร์การแพทย์แผนไทย / ภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน, การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสุขภาพ , สมุนไพร, สุขภาพและความงาม, การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและนวัตกรรมจากภูมิปัญญา
621 นางสาววิไล สุทธิจิตรทิวา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านคหกรรมศาสตร์
622 นางสาวสมใจ แซ่ภู่ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ
623 ผศ.ดร.อภิญญ์พัทร์ กุสิยารังสิทธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประชาสัมพันธ์ โฆษณา สื่อสารการตลาด งานชุมชน
624 นางสาวเสาวนีย์ รัฐนิธิคุณานนท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทผ้า การสร้างแบบ ตัดเย็บ
625 นางสุดากาญจน์ แยบดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผ้าและการออกแบบตัดเย็บ ของที่ระลึก แปรรูปจากผ้าพื้นเมือง
626 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
627 นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ออกแบบแฟชั่นเสื้อผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์วัสดุธรรมชาติ
628 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
629 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร คำยอด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องหอมโบราณ: การปรุงน้ำอบกับวิถีไทย
630 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
631 ดร.นพดล เดชประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร บริหารธุรกิจ และการพัฒนาธุรกิจสาขาวิชาการจัดการ การตลาดดิจิทัล และการวิจัย
632 รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การวิเคราะห์ระบบเพื่อการวางแผนและจัดการทรัพยากรทางน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและเหตุการณ์รุนแรง(อุทกภัยและภัยแล้ง) การจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมน้ำบาดาล
633 อาขารย์ชญานิน วังตาล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
634 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์
635 อาจารย์ วสา วงศ์สุขแสวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรพืช พืชศาสตร์และเทคโนโลยี งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น(อพ.สธ.)
636 อาจารย์ ดร.โสมนันทน์ ลิพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรพืช เทคโนโลยีการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
637 นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1.การผลิตพืช -การขยายพันธุ์พืช -การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน -การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ -การวิเคราะห์ตลาดและแผนธุรกิจ -การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3.การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน -การจัดเวทีการประชุมโดยการมีส่วนร่วม -การดำเนินการโครงการด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม -การจัดกระบวนการถอดบทเรียน
638 นายสิริศักิ์ บุตรกระจ่าง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การเพาะเห็ด
639 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
640 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
641 รศ.ดร.คมวิทย์ ศิริธร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตลาดและเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
642 ผศ.ดร.สายฝน ไชยศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์
643 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรชัย คำแสน มหาวิทยาลัยพะเยา Organic Synthesis,Natural Product,Medicinal Chemistry
644 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา Microcontroller and Embedded System, Automatic and Smart Systems, Material Physics
645 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา Microcontroller and Embedded System, Automatic and Smart Systems, Material Physics
646 ดร.มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการชุมชน การบริหารการตลาด ต่อยอดสินค้าชุมชน
647 อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น
648 ผู้ช่วยศาตราจารย์ศิริพร หมื่นหัสถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การส่งเสริมการตลาด บัญชีครัวเรือน
649 ผศ.ร่วมฤดี พานจันทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
650 ผศ.ดร.เมธาวี รอตมงคลดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
651 รศ.ดร.เอกพล วังคะฮาต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
652 นายพัฒนา ภาสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกพืชผักสวนครัว การปรับแต่งพันธุกรรมพืช
653 นางชฎาพร เสนาคุณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
654 นางพนิดา เหล่าทองสาร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์
655 ดร.ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน
656 ผศ.เรืองฤทธิ์ หาญมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การคัดพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โคขุน ,การประกอบสูตรอาหารต้นทุนต่ า จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น, การจัดการฟาร์ม
657 นายธวัชชัย พันธุกาง มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร - เตรียมสารสกัดหยาบจากสมุนไพรไทยบางชนิดที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน - ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ ฤทธิ์ต้านนอนุมูลอิสระ และฤทธิ์
658 อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตสารสกัดจากพืช
659 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) • การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) • การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร • การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล • การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต • สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต
660 นางสาวอมราวดี วงศ์เทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การบ่มเพาะธุรกิจ เทคโนโลยี
661 ดร.วิรุณ โมนะตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
662 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตพืช
663 ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
664 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ชีววิทยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แปรรูปสมุนไพร เวชสำอาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร
665 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา
666 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสง
667 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการทอผ้าไหมมัดหมี่
668 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผงข้าวแดงปรุงแต่งอาหาร
669 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
670 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทำปุ๋ยอินทรีย์
671 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายฟางข้าว
672 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ
673 อาจารย์ ธีรภัทร์ อนุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีท้างด้านอาหาร เทคโนโลยีทางด้านเกษตร เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน
674 ผศ.ดร.นิภาวรรณ พองพรหม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี Organic synthesis of anti cancer compounds. Chemical extraction, separation and identification from natural product
675 ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
676 นางวรัญญา หัสโรค์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น นาฬิกาอัจฉริยะใช้ในการตั้งเวลา บอกเวลา ของเครื่องอบข้าว
677 นายธีระ อุ่นเบ้า วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น อุปกรณ์เด็ดก้านพริกในครัวเรือน
678 นางอภิญญา เลิศล้ำ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าจากวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น
679 อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
680 ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
681 นายนิกร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน
682 อาจารย์ธนภัทร วรปัสสุ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเลี้ยงปลาหมอ และการเพาะพันธุ์ปลาหมอ การเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย
683 ผศ.เพ็ญนภา มณีอุด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ออกแบบผลิตภัณฑ์และกราฟิก
684 ผศ.ชูพรรค แพงไธสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การวางแผนธุรกิจและการตลาด
685 อ.วาสนา ด้วงเหมือน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สารสนเทศและการตลาดดิจิทัล
686 นางสาวทิพวรรณ คำพานิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร - การจัดการธุรกิจบริการ - งานบริการต่าง ๆ ในส่วนของการติดต่อประสานงานหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก
687 นางสาวศุฐิษา เผ่าจันทวงค์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี โครงการปลูกกระชายตามมาตรฐานGAP(มกอช.)
688 นางสาวศศิรภัทร์ เกาะแก้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเมล็ดถั่วงอกด้วยระบบรกน้ำอัตโนมัติ
689 นางสาวศศิรภัทร์ เกาะแก้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
690 นางสาวอังควิภา อาจไธสง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผลิตเห็ด
691 ศิริพันธ์ แสงมณี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล
692 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กมลชนก เศรษฐบุตร มหาวิทยาลัยบูรพา การโฆษณาและการสื่อสารการตลาด
693 ภก.รศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา การควบคุมคุณภาพสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, เภสัชเวท,การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร
694 ดร. ขวัญใจ หรูพิทักษ์ มหาวิทยาลัยบูรพา Plant Breeding
695 นายฉัตรชนก เพ็งคง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การเขียนแผนธุรกิจ บัญชีครัวเรือน การตลาด
696 ผศ.ว่าที่ร้อยตรีกิติศักดิ์ โกมลเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาอาชีพจากวัสดุท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วม
697 ดร.ศิริพร มิขำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กราฟิกดีไซน์ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการท่องเที่ยว
698 อาจารย์มีนา ระเด่นอาหมัด มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ในงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์หัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
699 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC - นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine)
700 อาจารย์กัญญ์ณพัชญ์ พลเยี่ยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม, การออกแบบผังการผลิต
701 ดร. ณัฐพันธ์ ปัญญโรจน์ ผู้ร่วมโครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การขอรับรองมาตรฐาน GMP
702 อาจารย์อรัณพงศ์ ทนันไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การบัญชี การเงิน และภาษีอากร
703 อาจารย์พัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสารสนเทศ ระบบจัดการฐานข้อมูล การตลาดออนไลน์
704 อาจารย์วรรณิดา ชินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การตลาด การบรรจุภัณฑ์ การตลาดสินค้าชุมชน
705 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติสร เรืองนาราบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์การลงทุนจากผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม
706 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คทาวุธ แก้วบรรจง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสารสนเทศ /อินเทอร์เนต มาเกตติ้ง
707 อาจารย์จันทิมา ปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกด้วยวัสดุท้องถิ่น
708 นางสาวปาริชาต ราชมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลโรงงาน
709 พุทธชาติ อิ่มใจ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
710 ผศ.วันทนีย์ พลวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
711 อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตถ่านไบโอชาร์ โดยใช้วิธีการอบไม้
712 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เทคโนโลยีพลังงานเก็บเกี่ยว
713 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้มีความทันสมัยและสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้หลากหลายช่องทาง เช่น ผ้าพื้นเมือง ผ้าสไบลายขิด
714 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ระบบลำเลียงพืชผลทางการเกษตร
715 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พลังงานเเละ เทคโนโลยีทางการเกษตร
716 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วยปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยไม่กลับกลอง
717 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน
718 อาจารย์สุนันท์ สีพาย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงขึ้นนี้เป็นการนำสมุนไพรที่มีในพื้นที่ คือตะไคร้หอม นำมาสกัดและแปรรูปเป็นเทียนหอมสมุนไพร ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากรหลายๆ คน จนทางกลุ่มได้มาปรับแก้ไขในจุดที่ยังขาดตกบกพร่องให้สมบูรณ์แบบที่สุด
719 นายปราสาท จุลพวก วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การจัดการดิน การปลูกอ้อย
720 นายมานิตย์ จันทวงศ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก การขับโดนการเกษตร และการบริหารการจัดการนำ้
721 นายพงษ์พิสุทธิ์ นุวัตดีวงศ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย งานใบตอง งานบายศรี การจัดดอกไม้
722 นายดำรง ด้วงแห้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การเพาะเห็ดแบบครบวงจร เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดโคนน้อย
723 ซูไบดี โตะโมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
724 นายสิทานนท์ อมตเวทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิศวกรรมอุตสาหการ ทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา
725 ดร.ธัญจิรา เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริหารจัดการและขับเคลื่อนธุรกิจไก่เบขลาจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ
726 ผศ. ดร.ธีรศักดิ์ จินดาบถ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การตลาด
727 ดร.จารุวรรณ พนมจีระสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การส่งเสริมด้านการตลาด
728 นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดชนิดต่างๆภายใต้แสงเทียมในระบบโรงเรือน
729 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาอัตราการงอกของพริกซุปเปอร์ฮ็อตที่ใช้สารSPEED B1 EXTRA PLUS ต่างอัตราส่วน
730 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาอัตราการงอกของคื่นฉ่ายโดยใช้วัสดุเพาะต่างกัน
731 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท
732 นายสมบูรณ์ มัจฉา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน
733 พิมพ์นภา ภูฆัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี สมุนไพรกำจัดยุจากใบสาบเสือ
734 รศ.ดร. อภิชาติ อิ่มยิ้ม สำนักงานปลัดกระทรวง Metal & Heavy Metal Management and Recovery
735 ศ.ดร. นพิดา หิญชีระนันทน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste
736 รศ.ดร. เอกวัล ลือพร้อมชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Industrial Waste, Municipal Waste
737 รศ.ดร. อรฤทัย ภิญญาคง สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Microbial Biotechnology, Circular Economy, Industrial Wasste, Municipal Waste
738 ผศ.ดร. จิรารัช กิตนะ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
739 ผศ.ดร. ธงชัย งามประเสริฐวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
740 ผศ.ดร. นนทิวิชญ ตัณฑวณิช สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
741 ผศ.ดร. นพดล กิตนะ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
742 ผศ.ดร. นิพาดา เรือนแก้ว ดิษยทัต สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
743 ผศ.ดร. พงษ์ชัย ดำรงโรจน์วัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
744 ดร. ภาณุพงศ์ ธรรมโชติ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
745 ผศ.ดร. วิเชฏฐ์ คนซื่อ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
746 ศ.ดร. ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Metal & Heavy Metal/ Management and Recovery
747 ผศ.ดร. กานต์ เสรีวัลย์สถิตย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
748 ผศ.ดร. ธนากร วาสนาเพียรพงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
749 ดร. นิธิวัชร์ อัครวรฐานันท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
750 รศ. ดร.วันทนีย์ พุกกะคุปต์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
751 ดร. อภิรัฐ ธีรภาพวิเศษพงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
752 ผศ.ดร. อุษา แสงวัฒนาโรจน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management
753 ผศ.ดร. เพ็ญใจ สมพงษ์ชัยกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
754 อ.ดร. ชวลิต เจริญพงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
755 ผศ.ดร. สมฤดี จิตประไพ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management
756 ดร. สุจารี บุรีกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
757 ศ.ดร. อลิสา วังใน สำนักงานปลัดกระทรวง Bioremediation Technology
758 ผศ.ดร. เสริมพงศ์ สายเรี่ยม สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
759 ดร. จตุวัฒน์ แสงสานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
760 รศ.ดร. ทรรศนีย์ พฤกษาสิทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
761 รศ.ดร. นุตา ศุภคต สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Waste and Resource Management
762 รศ.ดร. พันธนา ตอเงิน สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
763 รศ.ดร. รุ่งกานต์ นุ้ยสินธุ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
764 ผศ.ดร. วรพจน์ กนกกันฑพงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Industrial Waste,
765 ดร. เจนยุกต์ โล่ห์วัชรินทร์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
766 รศ.ดร. เบญจพร สุวรรณศิลป์ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy
767 ศ.ดร. ชนาธิป ผาริโน สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management, Municipal Waste
768 ผศ.ดร. ชัยพร ภู่ประเสริฐ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Industrial Waste,
769 รศ.ดร. ดาว สุวรรณแสง จั่นเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Municipal Waste
770 รศ.ดร. ตะวัน ลิมปิยากร สำนักงานปลัดกระทรวง Emerging Micropollutants
771 รศ. ดร.ปฏิภาณ ปัญญาพลกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning Industrial Waste, Municipal Waste
772 ศ.ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning,
773 รศ.ดร. มนัสกร ราชากรกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management, Industrial Waste, Municipal Waste
774 ดร.วิน ไตรวิทยานุรักษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
775 รศ. ดร.วิบูลย์ลักษณ์ พึ่งรัศมี สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Industrial Waste
776 ผศ. ดร. ศรัณย์ เตชเสน สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Industrial Waste, Municipal Waste,
777 รศ. ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, E-Waste, Industrial Waste, Air Quality Management
778 รศ. ดร.สุธา ขาวเธียร สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, E-Waste, Industrial Waste, Municpal Waste
779 ผศ. ดร.อรอนงค์ ลาภปริสุทธิ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Industrial Waste, Municipal Waste
780 ผศ. ดร.อัจฉริยา สุริยวงค์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, E-Waste, Industrial Waste
781 นางสาว เจริศา จำปา สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, E-Waste, Municpal Waste
782 นางสาว กรรณิการ์ ความสวัสด์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
783 นาย กิติศักดิ์ สุวรรณนภาศรี สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management
784 นางสาว จันท์ศจี ทิพยสุนทรานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
785 นายฐิติวุฒิ พงษ์พานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management, E-waste, Municipal Waste
786 นาย ณัฏฐ์นภนต์ ศรีประโมทย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, E-waste
787 นางสาว ณัฐิดา คงศรีเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง ของเสียติดเชื้อ, ของเสียอุตสาหกรรม, Circular Economy, Waste and Resource Management, E-Waste
788 นางสาว มุทิตา วิเลปสุวรรณ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management Metal & Heavy Metal Management and Recovery
789 น.ส. วลัยพร มุขสุวรรณ สำนักงานปลัดกระทรวง Chemical Management
790 นาย ศุภลักษณ์ ชัยภูริมาศ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
791 นางสาว สุธาทิพย์ จิตต์วิวัต สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, E-waste
792 นาย สุภานนท์ ตั้งหิรัญชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
793 นาย สุรชัย ลีวัฒนานุกูล สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, E-waste
794 นาย สุรวุฒิ ศิราธรรม สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Industrial Waste, Circular Economy
795 นางสาว อัชญา วงษ์ทองดี สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste, Circular Economy, Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
796 นาย อาร์ม เจริญแสง สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, E-waste, Industrial Waste, Municipal Waste
797 รศ.ดร. เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management
798 ดร.ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy, Industrial Waste
799 ดร. ทรงกฤษณ์ ประภักดี สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management
800 ดร. ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
801 ดร. ปัณฑิตา ตันวัฒนะ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy
802 ดร. ปัณฑิตา ตันวัฒนะ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy
803 รศ.ดร. พันธวัศ สัมพันธ์พานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
804 ดร. ภุมรินทร์ คาเดชศักดิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
805 ดร. รัชชานนท์ เปี่ยมใจสว่าง สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management
806 ดร. วัชราภรณ์ สุนสิน สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Industrial Waste, Circular Economy,
807 ดร. วิไลลักษณ์ นิยมมณีรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management
808 ดร. ศีลาวุธ ดำรงศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง Metal & Heavy Metal Management and Recovery
809 ดร. สุจิตรา วาสนาดำรงดี สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management, E-waste
810 รศ.ดร. สุทธิรัตน์ กิตติพงษ์วิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Municipal Waste, Circular Economy, Waste and Resource Management
811 ดร.อาทิมา ดับโศก สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Life Cycle Assessment
812 รศ. ดร.เขมรัฐ โอสถาพันธุ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Oil and Gas Installations’ Decommissioning, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
813 ศ. ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management, Industrial Waste, Municipal Waste
814 ศ. ดร.วิบูลย์ ศรีเจริญชัยกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Industrial Waste
815 ศ. ดร.อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Municipal Waste
816 ผศ.ดร.มานิตย์ นิธิธนากุล สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste
817 ดร. อุดมศักดิ์ บุญมีรติ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
818 รศ.ดร.ทรงเกียรติ ภัทรปัทมาวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management
819 รศ.ดร. วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
820 รศ.ดร. วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
821 รศ.ดร. จีมา ศรลัมพ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
822 ผศ.ดร. ศมณพร สุทธิบาก สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
823 นางวิภาดา ไชยเชษฐ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
824 ผศ.ดร. จีรภา หินซุย สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
825 ผศ.ดร. เอกชัย กัญจนาทิพย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
826 ผศ.ดร.ธนิศร์ ปัทมพิฑูร สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
827 ศ.ดร.อะเคื้อ อุณหเลขกะ สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
828 ผศ.ดร.ประพัทธ์ พงษ์เกียรติกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
829 ผศ.ดร.สิริลักษณ์ เจียรากร สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
830 ดร.กฤษณะ กอบวิทยา สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Waste and Resource Management
831 ผศ.ดร.นงลักษณ์ บุญรัตนกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management
832 ผศ.ดร.พิเชฐ ชัยวิวัฒน์วรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Waste and Resource Management
833 รศ.ดร. ภาติญา เขมาชีวะกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Waste and Resource Management
834 ผศ.ดร. ธิดารัตน์ บุญศรี สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
835 ดร.ไตรรัตน์ เมืองทองอ่อน สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
836 ผศ.ดร สาโรช บุญยกิจสมบัติ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
837 ผศ.ดร. สุรพงษ์ รัตนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
838 ผศ.ดร. พรศรี ทรัพย์ศรีทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste
839 รศ.ดร. สมรัฐ เกิดสุวรรณ สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
840 ผศ.ดร. วรินธร บุญยะโรจน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
841 ผศ.ดร. ภานุวัฒน์ อุส่าห์เพียร สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
842 นางสาว กัญญ์ฐญา จินต์ตนุวรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง ของเสียติดเชื้อ
843 ร.ศ. ดร. นัฐพร ไชยญาติ สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
844 ผศ. ดร.ปเนต มโนมัยวิบูลย์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
845 รศ.ดร. ไปรยา เฉยไสย สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management
846 รศ.ดร. ผกาวดี แก้วกันเนตร สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management
847 ผศ.ดร. ชีวาพัฒน์ แซ่จึง สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Managemen
848 รศ.ดร.วิไลลักษณ์ ศิริพรอดุลศิลป์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
849 ผศ.ดร.วิษณุ แทนบุญช่วย สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
850 รศ.ดร.สุรศักดิ์ ศิริพรอดุลศิลป์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Bioremediation Technology
851 ผ.ศ.ดร. แก้วตา เจตศรีสุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
852 รศ.ดร. กิติโรจน์ หวันตาหลา สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste, Municipal Waste, Industrial Waste, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal Management and Recovery
853 รศ.ดร.อาทิตย์ เนรมิตตกพงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Municipal Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
854 รศ.ดร. ธัญลักษณ์ ราษฎร์ภักดี สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management,
855 รศ.ดร. ปณิธาน จูฑาพร สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
856 รศ.ดร. พันวัตต์ พึ่งสาย สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
857 ผศ.ดร. รัฐบาล ขันธ์โพธิ์น้อย สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
858 รศ.ดร.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
859 รศ.ดร. สุมนา ราษฎร์ภักดี สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Municipal Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management Bioremediation Technology
860 รศ.ดร.สุรพล ผดุงทน สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
861 นายตรัย วงษ์ศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
862 ผศ.ดร. รัชดาภรณ์ เบญจวัฒนานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
863 ศ.ดร. สาธิต แซ่จึง สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
864 ผศ.ดร. ญาณสินี สุมา สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
865 ผศ.ดร.ประดับดวง เกียรติศักดิ์ศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
866 รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
867 ผศ.ดร.น้ำฝน เอกตาแสง สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste
868 ผศ.ดร.นวลกมล อาภรณ์พงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
869 ผศ.ดร. ณิชากร คอนดี สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
870 ดร. เจษฎานันท์ เวียงนนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
871 ผศ.ดร. เอมม่า อาสนจินดา สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
872 ดร. เอกลักษณ์ ณัถฤทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
873 ผศ.ดร. ศราวุฒิ แสงคำ สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste
874 นางสาว วิมลมาศ จันทร์เชื้อ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
875 ผศ.ดร. อภิพงษ์ พุฒคำ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
876 ผศ. ดร. ธวัช เพชรไทย สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
877 รศ.ดร. นายแพทย์ยงค์ รงค์รุ่งเรือง สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
878 รศ.ดร. เฟื่องฟ้า อุตรารัชต์กิจ สำนักงานปลัดกระทรวง ของเสียติดเชื้อ
879 ผศ.ดร. ธรรมณิษฐ์พล เด่นเพชรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
880 นายธนธัส ผุดผ่อง สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
881 นางสาวมะลิวัลย์ พวงมณี สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
882 ผศ.ดร.จุฬาลักษณ์ ชาญกูล สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
883 ผศ.ดร. ขวัญกมล ขุนพิทักษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste, Municipal Waste
884 นางสาวนัดดา โปดำ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
885 ดร.สายสิริ ไชยชนะ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste, Plastic Waste
886 ดร.กุลวรรณ โสรัจจ์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
887 ผศ.ดร.ณัฏฐิรา ศุขไพบูลย์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
888 ดร.พชรพล อินทุเวศ สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
889 ดร.สนธินี ไวยารัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Infectious Waste
890 ดร. ชุติมา พลอยจันทร์กุล สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
891 ดร. ดาวรุ่ง สังข์ทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
892 ดร.อุมารัจน์ สันติสุขเกษม สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste
893 ดร.สิริพร บริรักวิสิฐศักดิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
894 ผศ.ดร.เพ็ญศิริ เอกจิตต์ สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Waste and Resource Management, Metal & Heavy Metal
895 ดร. ธนิตา อารีรบ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management
896 รศ.ดร.วรวิทย์ วงศ์นิรามัยกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management
897 รศ.ดร. เกื้ออนันต์ เตชะโต สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste, Waste and Resource Management
898 รศ.ดร. คัมภีร์ พ่วงทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Municipal Waste, Metal & Heavy Metal Management and Recovery, Waste and Resource Management
899 นางสาว ปนัดดา ทองชู สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
900 นางสาว ปนัดดา ทองชู สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
901 ผศ.ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Waste and Resource Management
902 รศ.ดร. อรมาศ สุทธินุ่น สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
903 รศ.ดร.จรงค์พันธ์ มุสิกะวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Circular Economy, Waste and Resource Management
904 ผศ.ดร. สุธาทิพย์ สินยัง สำนักงานปลัดกระทรวง Waste and Resource Management, E-Waste, Industrial Waste, Municipal Waste
905 ผศ.ดร. ปวีณา ลิมปิทีปราการ สำนักงานปลัดกระทรวง Plastic Waste
906 ผศ.ดร. จันทิมา ริ้วลายเงิน สำนักงานปลัดกระทรวง E-Waste
907 ดร. ปรางค์ทิพย์ ฤทธิโชติ แก้วเพ็งกรอ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste, Municipal Waste
908 ผศ.ดร. เปี่ยมภูมิ สฤกพฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
909 ผศ.ดร. ชดชนก อัฑฒพงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Industrial Waste
910 อภิชาติ สุวรรณชื่น มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
911 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
912 นางสาวกมลพร สิทธิไตรย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยี่ทางการเกษตร
913 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
914 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
915 ศิริภรณ์ โคตะมี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิเคราะห์คุณภาพสัตว์น้ำ
916 ดร.วิวรรธน์ แก่นสา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การแปรรูปพืชผลทางการเกษตร สัตว์ ผลไม้ ฯลฯ
917 อาจารย์สุรีรัตน์ บัวชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน ปุ๋ย
918 อาจารย์วรกฤช ดอนคำเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรมบ่อก๊าซชีวภาพสำหรัครัวเรือน เครื่องบรรจุก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน และออกแบบและสร้างเครื่องจักรงานอุตสาหกรรม
919 ผศ.ดร.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
920 อาจารย์ศิริภรณ์ บุญประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสื่อการเรียนรู้
921 อาจารย์ฤทธิ์เดชา ตาบุญใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์