ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐธิญา เบือนสันเทียะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การใช้จุลินทรีย์เพื่อผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์
2 ดร.กัญญาณัฐ เปลวเฟื่อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี "Concept Design for Media, Design Thinking, Universal Design นวัตกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยีสื่อ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ"
3 ดร.ละออทิพย์ ไมตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเก็บเมล็ดพันธุ์ ตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชในระบบปลอดภัย
4 ดร.ศรายุทธ ตรีรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์ข้าว ,ข้าวโพด และถั่วเหลือง
5 ดร.ธัญวภณ ยิ่งประเสริฐชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การวิเคราะห์จุลินทรีย์เพื่อเกษตรอินทรีย์ การเพราะพันธุ์ ขยายพันธุ์ข้าวพื้นเมือง เทคโนโลยีชีวภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไวน์ ชีววิทยาประยุกต์
6 นายอับดุลเลาะ บากา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) การออกแบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การตลาดออนไลน์ (Digital online) การทำเกษตรสมัยใหม่ (Smart.Farm)
7 นางสาวทัศนีย์ ต๊ะใจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การใช้แอพพลิเคชั่นในการเพาะปลูกข้าว
8 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธ์วดี พยัฆประโคน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ของใช้ (ผลิตภัณฑ์สินค้าแฟชั่น ได้แก่ หมวก กระเป๋า เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า , 2 ของที่ระลึก โดยพัฒนาต่อยอดจากอัตลักษณ์ชุมชน และ 3 ของประดับบ้าน (ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ไทย เช่น ตู้ โต๊ะ ตั่ง และของประดับบ้าน เช่น ชุดเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร หมอนอิง เสื่อกก) เป็นต้น
9 ผศ.ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
10 นางสาวกูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล แปรรูปข้าว
11 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1. เป็นที่ปรึกษาและดำเนินงานในโครงการวิถีไทยก้าวไกลสู่แฟชั่น (Thailand Grand living) กิจกรรม การยกระดับการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและเครื่องนุ่งหมเชิงสร้างสรรค์ ให้กับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในฐานะนักออกแบบพัฒนาภาคใต้ 2. ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3. ที่ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมประเภท ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ประจำปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มภาคกลาง ชื่อกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องแต่งกายและของใช้ ชื่อกลุ่ม กลุ่มปักผ้าด้นมือ (U-THONG QUILTS) ผลิตภัณฑ์ ประเภทของใช้เคหะสิ่งทอ 4. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าOTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเภทผ้าฯ และของใช้ (6 สถานประกอบการ)พื้นที่จังหวัดนราธิวาส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 FC2 (ผ้า1) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง FC3(ผ้า2) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มขัดจักรบ้านกาวะ FC8 (ผ้า5) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเสื้อผ้ามุสลิมบ้านรานอ
12 ผศ.ศรีประไพ จุ้ยน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม
13 ว่าที่ร้อยตรีหญิงศิริวรรณ ศรีธรรมรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิศวกรรมสิ่งทอ
14 นางวราภรณ์ บันเล็งลอย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบและทำแบบตัด ออกแบบสิ่งทอ
15 ผศ.อุไรวรรณ คำสิงหา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบลวดลายผ้าและการออกแบบการตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี
16 ผศ.กรณัท สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี "1. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาและการสร้างคุณค่าเพิ่มมูลค่า 2. ขบวนการย้อมสีธรรมชาติที่เป้นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอฯ 3.การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากปาล์ม ตลอดจนนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอฯ และยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดปทุมธานี"
17 นางสาว สุภาพร ตาไข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การจัดการงานแฟชั่นและการออแบบ สิ่งทอส าหรับสินค้าแฟชั่น การวิเคราะห์แนวโน้มแฟชั่น/สิ่งทอ การท าแบบตัดเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากผ้า การผลิตต้นแบบเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากผ้า ความรู้เรื่องผ้าและเครื่องแต่งกาย และเทคนิคการแสดงแฟชั่นโชว์ ณ Bunka Fashion College, Japan บริษัท จินตนาแอพ พาเรล จ ากัด ผลิตเสื้อผ้าชุดชั้นใน ดีไซน์-แพทเทิร์น (ต่างประเทศ) ออกแบบและท าแบบตัด ชุดชั้นในเพื่อส่งออก ต่างประเทศ
18 สุนทรี ถูกจิตต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบและแฟชั่นและสถาปัตยกรรม
19 สุชญา โคตรวงษ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การย้อมสีไหมด้วยธรรมชาติ การทำสีผง การย้อมคราม
20 นิ่มนวล จันทรุญ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคนิคการย้อมสีคราม ย้อมสีธรรมชาติ เทคนิคการทอผ้าไหมแกมฝ้าย
21 เกสร วงษ์เกษม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เครื่องตีเกลียวไหม เครื่องควบเกลียวไหม
22 สุภัทรญาณ เฑียรธีระสมบัติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การย้อมสีธรรมชาติ การออกแบบลายผ้า การทอผ้า
23 สายฝน จำปาทอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบแฟชั่น การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
24 ปาริชาติ ศรีสนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
25 กัญจน์ชญา จันทรังษี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้า สถาปัตยกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์
26 ศักดิ์ชาย สิกขา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ เทคนิคการจักสานเส้นพลาสติก การจักไม้ไผ่ การออกแบบลายผ้า ผ้าไหม
27 ประทับใจ สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบลายผ้า ผ้าไหม
28 ธัญญรัตน์ อัศวนนท์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเสื้อผ้าและแฟชั่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์
29 ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เชี่ยวชาญในด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
30 รศ.ดร.สมชาติ หาญวงษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และโรคพืช วัชพืชในแปลง และการป้องกันกำจัด
31 อาจารย์บรรลุ เพียชิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบและสร้างระบบโรยข้าวเมล็ดเดี่ยวอัตโนมัติโดยใช้ถาดคัดเมล็ดพันธุ์
32 นายยุทธนา ตอสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
33 ผศ.ศิริพร หงส์พันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ้าไหม/การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าไหม
34 นายวิชัย นระมาตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ -เทคโนโลยีการสื่อสาร -เทคโนโลยีไฟฟ้า -เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร์ -เทคโนโลยีพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ -เทคโนโลยีระบบการให้น้ำ
35 อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต
36 นายนิคม วงศ์นันตา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคโนโลยีการปลูกพืชในวัสดุปลูก
37 นางสาวสุชนีย์ ทรัพย์สมบรูณ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การปลูกข้าว ดูแลและป้องกันข้าว
38 นายสัมภาษณ์ สุวรรณคีรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ การทำกระดาษจากเส้นใยธรรมชาติ
39 ผศ.อรสิริ วิมลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเพิ่มมูลค่าข้าว
40 นางสาวกรรณทิมา พันธ์ศร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม
41 นายอำนาจ ขันแข็ง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร การเพาะปลูกข้าว การทำนา ความรู้ด้านเมล็ดพันธ์ข้าว
42 นางสาววารีรัตน์ สมประทุม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การใช้ปุ๋ยชีวภาพในนานข้าว และแหนแดง
43 นางบังอร ธรรมสานิสรณ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ข้าวกล้องงอก การทำน้ำข้าวกล้องงอก
44 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ปานฤทัย พุทธทองศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. เคมีอาหาร 2. ยุทธศาสตร์ 3. เคมีเครื่งสำอาง 4. สิ่งทอและสีธรรมชาติ
45 อาจารย์ณัชชา สมจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ 2. การตลาดและการผลิต สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
46 ผศ.ดร.วราจิต พยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
47 อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
48 ผศ.ดร.อังคณา ชาติก้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ การย้อมเส้นไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ
49 นายสมรถษ์ อินจันทร์ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การปลูกข้าวอินทรีย์
50 นางสาวกมลชนก ดวงสันติสุข วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การทำสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาษาอังกฤษ
51 นายสุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) , การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน , การออกแบบนวตกรรม , สื่อสร้างสรรค์
52 อาจารย์การันต์ ผึ่งบรรหาร มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับข้าว - ระบบการให้น้ำในนาข้าวสมัยใหม่
53 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
54 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา หนูสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีเคมีวิเคราะห์
55 นายกำพล จินตอมรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
56 นางอัปสร อีซอ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ตราสินค้า บรรจุหีบห่อ การสื่อสารการตลาด
57 นางสาวสิริอนงค์ สมัครสมาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม, การจับผ้าเป็นรูปแบบลายต่างๆ, การย้อมสีผ้าไหม, การเลี้ยงไหม
58 นายพิเชษฐ กันทะวัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ระบบไมโครคอนโทรเลอร์และการอินเตอร์เฟส 2. ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง 3. ระบบสมองกลฝังตัวและอินเตอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง 4. วิศวกรรมชีวการแพทย์
59 นายธนวัฒน์ พันธ์ตุ้ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมสื่อสาร โทรคมนาคม
60 นายนิวัติ นวลกัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม พลังงานทดแทน
61 นายขจร อนุดิตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบ
62 ดร.สุรชัย อำนวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมโยธา โทรคมนาคม
63 ดร.วิลาสินี บุญธรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีในการทอและพัฒนาลายผ้า เทคโนโลยีการตัดเย็บและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ เทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ
64 ผศ.ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เทคโนโลยีการผลิตข้าวก่ำลืมผัวปลอดภัยด้วยระบบ GAP
65 นางนิตยา มหาไชยวงศ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ย้อมฝ้าย/ด้าย/ไหมอีรี่ ด้วยเพกา ประดู่ มะเกลือ ตะโก คราม และกุฒฑา การต้มลอกกาวไหมหม่อนและไหมอีรี่ การปั่นเส้นด้ายไหมอีรี่ การทอผ้าพื้นฐาน
66 นางสาวเจิมขวัญ ศรีสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (สิ่งทอ) 3.การย้อมสีธรรมชาติ (สิ่งทอ) 4.การเลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่(สิ่งทอ)
67 นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
68 นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
69 นาย สุนทร ลีประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) * การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO)
70 นางทองพันธ์ สุปะมา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ การแปรรูผลิตภัณฑ์
71 อ.ดร.นิชากร พันธ์คง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
72 นายวรณ์ ดอนชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - องค์ความรู้ด้านสิ่งทอพื้นบ้าน/เส้นใยธรรมชาติ/สีย้อมธรรมชาติ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนาคุณภาพผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ(พัฒนากระบวนการย้อม-การทดสอบคณุภาพผ้า) ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนากระบวนการผลิตสิ่งทอพื้นบ้านให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - พัฒนากระบวนการฝึกอบรม พัฒนาศักยภาพและประเมินผลวิทยากรชุมชน - การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
73 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช สังข์อยุทธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา การสร้างกระบวนการกลุ่ม การสำรวจข้อมูล
74 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
75 นางสาวพอหทัย ซุ่นสั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ออกแบบลวดลาย ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่ง
76 นางวันดี โพธิ์วัฒ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การบุผ้าในตะกร้า การเย็บจักร ตัดเย็บเสื้อผ้า
77 นางสาวธนวรรณ สอ้าง วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การตัดเย็บเสื้อผ้า การประดิษฐ์ของชำร่วย
78 นางสาววณิชา วิกาเงิน วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบเสื้อผ้า
79 ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ข้าว
80 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
81 ผศ.ดร.กฤษณะพงศ์ พันธ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เทคโนโลยีการสื่อสารทั้งแบบไร้สายและมีสายโดยใช้การออกแบบวงจรรวมดิจิทัล
82 ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ มหาวิทยาลัยนครพนม การส่งเสรืมการเกษตรโดยมุ้งเน้นเทคโนโลยีที่ถ่ายทอดการทำข้าวอินทรีย์ -การจัดการหลังการเก็บเกี่ยง -การแปรรูป -ใบรับรองมาตรฐาน -การจัดจำหน่าย
83 นายธนพงศ์พันธ์ หมื่นโท่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนจัดทำโรงเรือน หมู่บ้าน Smart Village
84 ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การพัฒนา ออกแบบ แปรรูป กระบวนการย้อมสี การตกแต่งสำเร็จผืนผ้าและผลิตสิ่งทอ
85 อาจารย์ ดร.สุไลมาน เจ๊ะอาบู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ทนต่อสภาวะเครียด - เทคโนโลยีการผลิตข้าวด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม - เทคโนโลยีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วย วทน.
86 อาจารย์ ดร.ชนานาตย์ ไกรนารถ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การขยายพันธุ์และรักษาพันธุ์ข้าวพื้นเมือง/พัฒนาคุณภาพข้าว
87 อาจารย์ประจักษ์ เทพคุณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีการสร้างกลุ่มและขยายเครือข่ายผู้ผลิต - เทคโนโลยีการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรกร -เทคโนโลยีการสร้างผู้นำด้านการเกษตร
88 รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
89 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
90 รศ. ดร.วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก
91 รศ. ดร.วิชัย หวังวโรดม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก
92 ผศ. ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนานวัตกรรมการใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นในการกำจัดศัตรูพืชในนาข้าวอินทรีย์
93 นายอุกฤษฎ์ นาจำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส
94 นางเกษร ประทุม มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ
95 อาจารย์ดุษฎี ศรีธาตุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
96 นายลิขิต ยอดยา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์
97 นางปาริชาติ อำนวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การจัดการฐานข้อมูล - การใช้เครื่องมือในการทำธุรกิจออนไลน์ - การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศ
98 ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
99 วีรวัฒน์ อินทรทัต มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, เทคโนโลยีพลังงานทดแทน, เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ
100 นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบเครื่องแต่งกายสตรี บุรุษ และเสื้อผ้าเด็ก ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์สิ่งทอ พัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่สอดคล้องกับแทรนด์แฟชั่น
101 ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างแบรนด์ต่อยอดตราสินค้าสิ่งทอไทย
102 ดร. อนันต์ ตันวิไลศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีการถ่ายภาพและการพิมพ์
103 ผศ.สุพรรณิการ์ ย่องซื่อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีทางภาพและเสียง
104 สุทธิรักษ์ ผลเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 1) ปรับปรุงพันธุ์พืช 2) สรีรวิทยาของพืช 3) เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 4) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร // เกษตรอินทรีย์ 7) ระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ
105 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การทำแบบตัดและการตัดเย็บ การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ การเลือกใช้วัสดุกับของตกแต่งและของที่ระลึก การเลือกใช้วัสดุกับงานสิ่งทอ การเลือกใช้วัสดุกับงานเครื่องหนัง การพัฒนานวัตกรรมด้านแฟชั่นและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
106 มัลลิกา จินดาซิงห์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 1) การใช้เครื่องหมาย โมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3) จุลินทรีย์ทางการเกษตร 4) การวิเคราะห์สารสำคัญทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร
107 นายนุรักษ์ ไชยศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - การสร้างแอพพลิเคชั่นบน Mobile Device - การประมวลผลภาพ (Image Processing)
108 อ.เพลินพิศ แจ้งโพธิ์นาค มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตพืช 2. การแปรรูปอาหาร
109 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำไพ สงวนแวว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย สาขาผดุงครรภ์ จากสภาแพทย์แผนไทย
110 รศ.บุษบา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การประชาสัมพันธ์ การตลาด สร้างแผนกลยุทธ์การสื่อสาร
111 นายมะยม มานันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้านแพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทย
112 นางอรสินี โครตโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้าน แพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทย และ แพทย์แผนไทยประเภทการนวดไทย
113 นายทองใบ จันทร์พิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้านแพทย์แผนไทยประเภทเภสัชกรรมไทย
114 นางเจียมจิตร เสาสุทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ใบประกอบวิชาชีพด้าน แพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมไทย/ แพทย์แผนไทยเภสัชกรรมไทย
115 นางสาวปริยากร โมเฟื่อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย
116 ผศ.ดร.ประภาภร ดลกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
117 ผศ.อรสุชา อุปกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านสื่อโฆษณา ด้านการตลาด เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อทำสื่อโฆษณา ด้านการประชาสัมพันธ์
118 ดร.เยาวลักษณ์ พิพัฒน์จำเริญกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาสื่อสารสนเทศ
119 ดร.มธุรส ผ่านเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการพัฒนาเว็บไซส์ การพัฒนาแอพพลิเคชั่น
120 อาจารย์ ดร.รัชษาวรรณ์ มงคล มหาวิทยาลัยศิลปากร สารสกัดจากพืช และการประยุกต์ใช้โดยเกษตรกรรายย่อย
121 รองศาสตราจารย์มานะ กาญจนมณีเสถียร มหาวิทยาลัยศิลปากร การควบคุมศัตรูพืชโดยเชื้อบีเอ็ม และการประยุกต์ใช้โดยเกษตรกรรายย่อย
122 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาวลอย กาญจนมณีเสถียร มหาวิทยาลัยศิลปากร การใช้กรอบแนวคิด POLC ในการบริหารจัดการเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
123 รศ.ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศิลปากร พืชศาสตร์ เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืช
124 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เสาวภา เขียนงาม มหาวิทยาลัยศิลปากร จุลินทรีย์ทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ในอาหาร การจำแนกแบคทีเรีย
125 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
126 นายอรรถพล พรหมทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การออกแบบเว็ปไซต์ การพัฒนาโปรแกรม การออกแบบกราฟ ฟิคและสื่อโฆษณาต่างๆ
127 ดร.อถิชัย จันทร์อุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การสร้างภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิก และการ ถ่ายภาพสินค้าและการตกแต่งภาพเพื่อการตลาดออนไลน์ สร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ ออกแบบและพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม
128 ผศ.ธรรมศักดิ์ พุทธกาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเกษตร เทคโนโลยีไม้ดอก ไม้ผล ทุกชนิด
129 วรรทณา สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
130 นริศ สินศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีอาหารและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
131 มัณฑนา นครเรียบ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การทำนาโยนกล้า จัดการปัญหาดินเค็ม ระบบกังหันวิดน้ำเข้านา
132 วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
133 อาคม เสงี่ยมวิบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
134 ปรีชา นวลนิ่ม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
135 สรัญญา ภักดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบลายผ้า สิ่งทอจากลายธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ
136 อัศวิน อมรสิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหารทุกชนิด การทำอุจากข้าว ข้าวผงชงดื่ม
137 ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเขียนระบบแอพพลิเคชั่น
138 ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอใยกัญชง
139 นายจักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง กับ ผลิตภัณฑ์
140 อาจารย์ทัศนียา นิลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม, การออกแบบลวดลายและการตัดเย็บ
141 อาจารย์ ดร.วันเพ็ญ ชลอเจริญยิ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด และการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์พืช
142 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมยุทธ ไชยวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
143 ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ กกแก้ว มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนการแปรรูปวัสดุเศษเหลือจากข้าวอินทรีย์ ใช้ปลายข้าวกล้องหอมมะลิและไรซ์เบอร์รี่
144 อาจารย์คมศักดิ์ หาญไชย มหาวิทยาลัยนครพนม ลดเวลา เพิ่มผลผลิต ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้าสิ่งทอ ผ้าคราม ผ้ามุก
145 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม ผลิตวัตถุดิบสีย้อมผ้า จากคราม ลดระยะเวลาการผลิต
146 อาจารย์สมชัย วะชุม มหาวิทยาลัยนครพนม ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ และผลิตภัณฑ์ไม้มงคลสำหรับผลิตสีย้อมผ้า ลดระยะเวลาการตากแห้ง ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
147 อาจารย์กฤตธี สงวนศักดิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มมูลค่าสินค้า กลุ่มวิสาหกิจข้าวอินทรีย์ข้าวกล้องงอก อ.โพนสวรรค์ จ.นครพนม
148 อ.ประภาพร พลอยยอด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ การพัฒนาโปรแกรมควบคุมและสั่งการ
149 ผศ. ลัดดาวัลย์ จำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีทางด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเครื่องจักร การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว
150 อ.พัฒน์ ทวีวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
151 นายวุฒิชัย แตงทอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักพัฒนาพันธุ์ข้าว
152 รศ.ดร.บุญหงษ์ จงคิด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พันธุ์ข้าวหอมธรรมศาสตร์
153 นายชัยธวัช จารุทรรศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
154 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
155 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
156 นางสาวอุบลลักษณ์ กุณา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปักผ้า
157 นางสาวญาณิศา โกมลสิริโชค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การย้อมสีสิ่งทอด้วยสีสังเคราะห์
158 ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การผลิตข้าวไรซ์เบอร์รี่เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนาให้เป็นข้าวทางการเกษตร
159 ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นข้าวหุงบริโภคที่มีความนุ่ม และกลิ่นหอมมาเป็นพิเศษ สามารถปลูกได้ทุกปี ตลอดทั้งปี
160 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตยานิตย์ มิตร์แปง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การออกแบบ
161 ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การย้อมสิ่งทอ
162 ผศ.ดร.พิศุทธิ์สรัล ชิติโชติปัญญา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคมีสิ่งทอ
163 อาจารย์เสรณี ศรีสุข มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีวัสดุและสิ่งทอ
164 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
165 ดร.เยาวมาลย์ เขียวสอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการปลูกข้าว การผลิตข้าวปลอดภัย&ข้าวอินทรีย์
166 ผษ. มนทนา รุจิระศักดิ์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ การผลิตข้าว
167 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืช
168 อาจารย์ ดร.สุไลมาน เจ๊ะอาบู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การปรับปรุงพันธุ์ขาว
169 ดร.ปัทมาวดี คุณวัลลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
170 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสต์และเทคโนโลยีการอาหาร การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีในเมล็ดข้าว
171 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย้อมเส้นไหมด้วยสีสกัดจากแก่นฝาง
172 รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
173 อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบ
174 ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
175 ผศ.ดร.สายใจ ปอสูงเนิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา องค์ประกอบทางเคมีบางประการ และคุณสมบัติ ต้านอนุมูลอิสระของข้าวพื้นเมือง ในจังหวัด นครราชสีมา
176 ดร.บุษราคัม ป้อมทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การวิเคราะห์ความหอมและคุณค่าทางโภชนาการ และการกำหนดเอกลักษณ์ประจำพันธุ์ของข้าว พันธุ์หอมเตี้ยเพื่อนำไปสู่การอนุรักษ์และการ ส่งเสริมเชิงเศรษฐกิจ
177 นางสาวณัฐชญา สายคำวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเมล็ดพันธุ์ และพืชไร่
178 นายศรันยู คำเมือง saranyu.k@msu.ac.th มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตรวจสอบคุณสมบัติข้าวฮางอินทรีย์ ชาข้าวฮางอินทรีย์ และ ชุดตรวจสอบคุณสมบัติข้าวสำหรับเกษตรกร
179 นายคมศร เลาห์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนากระบวนการต้มเกลือ การผลิตดอกเกลือ และชุดตรวจสอบความเค็ม
180 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวรรณ สิมะไพศาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
181 อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัดสุศาสตร์
182 อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
183 อาจารย์นัจภัค มีอุสาห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ออกแบบเว็บไซต์ของชุมชุน
184 อาจารย์เบญนภา พัฒนาพิภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ออกแบบแบนเนอร์เพื่อโฆษณาโปรโมชั่นให้กับร้านขายอุปกรณ์ทำอาหาร เป็นต้น
185 ผศ.ดร.พรรณราย รักษ์งาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทดสอบสมบัติสิ่งทอ สมบัติเส้นใยและผ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบสมบัติวัสดุสิ่งทอ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตสิ่งทอ
186 ดร.ดิเรก บุญธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, ฟิสิกส์วิศวกรรม
187 ผศ.ดร.ธนากร แสงสง่า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์ข้าว วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
188 นายธีระ ธรรมวงศา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์ข้าว
189 ผศ.ดร.สายใจ ปอสูงเนิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระของข้าวพื้นเมืองในจังหวัดนครราชสีมา
190 นายชลณัฐ เสาทอง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร มีความรู้ความสามารถในการสื่อสารองค์กรโดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร รวมถึงการบริหารจัดการช่องทางการสื่อสารองค์กรที่มีความเหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดในการสื่อสารองค์กร และมีความรู้ความสามารถในการสื่อสารการท่องเที่ยว โดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดในการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม
191 นายอรรถการ สัตยพาณิชย์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1) ด้านการสื่อสารการตลาด และสร้างตราสินค้า 2) ด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน
192 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
193 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม
194 ผศ.ชูชัย พิทักษ์เมืองแมน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การถ่ายภาพโฆษณาสินค้าเพื่อใช้กับการขายออนไลน์ การคำนวณต้นทุน การทำบัญชีครัวเรือน
195 นางสาวศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดดิจิทัล การตลาดออนไลน์ การจัดการการค้าปลีกและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การบริหารธุรกิจการตลาด
196 นางสาวนิตยา วันโสภา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สร้างแบบเสื้อผ้าบุรุษและเสื้อผ้าสตรี ออกแบบเครื่องแต่งกายเสื้อผ้าสตรี
197 นางสาวฐิติมา พุทธบูชา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบและตัดเย็บ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายสําหรับสุภาพสตรี
198 นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบลวดลายผ้า พัฒนาคุณสมบัติผ้า ด้านสิ่งทอ
199 นางสาวกรชนก บุญทร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ - การออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ - แนวโน้มแฟชั่น (Trend) การออกแบบตราสินค้า
200 น.ส. ศยมน พุทธมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - Internet of Thing - Mobile Application - Embedded Systems
201 ผศ. นเรศ ขวัญทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออกแบบ Web Application - การออกแบบระบบฐานข้อมูล - การออกแบบและวิเคราะห์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การออกแบบ Application ด้วยภาษา C , VB
202 นายภูมินทร์ อินทร์แป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง มีความเชี่ยวชาญด้านการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์
203 นางสาวศวรรณรัศม์ อภัยพงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง การผลิตสื่อการเรียนการสอนแอนนิเมชั่น 2 มิติ
204 นางสาวศิรินันทร์ นาพอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ระบบค้นคืนสารสนเทศ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ - ระบบให้คำแนะนำ
205 กัญญา ภัทรกุลอมร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบลวดลายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้า
206 อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
207 ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีการย้อมสีไหม ฝ้ายด้วยวัสดุธรรมชาติ
208 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
209 วรรณวิภา พินธะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ปรับปรุงพันธุ์พืช เทคโนโลยี่เมล็ดพันธุ์
210 อาจารย์อนุกิจ​ เสาร์แก้ว​ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง iot Smart city, iot​ ควบคุม​ทางการเกษตร​,iot​ งานอุตสาหกรรม​, iot ​environment monitoring, Mobile Application Devloper
211 นายศุภศักดิ์ หนูเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว การขอรับรองมาตรฐานข้าว
212 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวัสดิ์ สิงห์ยาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การบริหารการเงิน การประเมินห่วงโซ่คุณค่า การจัดทำแผนธุรกิจระดับชุมชน การศึกษาความเป็นไปด้วยของโครงการทางด้านการเงิน เศรษกิจและสังคม และการประเมินความคุ้มค่าของการลงทุน
213 ดร.พุทธิพงษ์ หงษ์ทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การเพิ่มผลผลิตข้าว, ระบบการผลิตพืช, กระบวนการมีส่วนร่วม
214 นายปุริม หนุนนัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การจัดกิจกรรมการตลาด (Event) การตลาดออนไลน์
215 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เมตไตรพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การประมวลผลและการรับรูปภาพ (Digital Image Processing) - การออกแบบและพัฒนาระบบการควบคุมอัตโนมัติ PLC
216 ผศ.ดร.เมธ์วดี นามสกุล พยัฆประโคน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสากรรม
217 นางทับทิม สุขศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี แพทย์แผนไทย
218 ดร. ณรงค์ พันธุ์คง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีสารสนเทส ระบบธุรกิจออนไลน์สำหรับผู้ประกอบการ การพัฒนาซอฟแวร์และแอฟพลิเคชั่น การใช้คิวอาร์โค้ดเพื่อธุรกิจ
219 ผศ. ธีรเดช เทวาภินันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาคิวอาร์โค้ด
220 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
221 นายจตุพร โปธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง มีความเชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพ การตัดต่อวิดีโอ การทำวิดีทัศน์
222 ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ข้าว
223 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เครื่องเมเดลรี่จักรา
224 นางเวฬุกานต์ ขานวงศ์ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบและดัดแปลงโครงขึ้นหัวม้วน
225 ผศ.ดร.ชิดชนก มีใจซื่อ มหาวิทยาลัยรามคำแหง -
226 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แววดาว พรมเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - งานวิจัยเชิงปริมาณ - ผู้ช่วยจัดกระบวนกร (Facilitator) - การบัญชี
227 ดร.อัญชสา สีนวนแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
228 สราวุฒิ สิทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การย้อมคราม การทอผ้าพื้นเมือง การใช้สีจากธรรมชาติในการย้อมผ้า การออกแบบผ้าไหม
229 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติ เอี่ยมชื่น มหาวิทยาลัยพะเยา ภูมิสารสนเทศในการน้ำเพื่อชุมชนการเกษตร
230 นางสาวนภท์ชนก ขวัญสง่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
231 นายนวัตกร อุมาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
232 นางสาวณัฐชนา นวลยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
233 นายสุรศักดิ์ เกตุบุญนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง ระบบเครือข่าย
234 นางสาวณัฐชญา สายคำวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเมล็ดพันธุ์ และพืชไร่
235 รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ 4.วัสดุเก็บความร้อน
236 ผศ.ดร.อภิญญ์พัทร์ กุสิยารังสิทธิ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประชาสัมพันธ์ โฆษณา สื่อสารการตลาด งานชุมชน
237 นางสาวไอรดา สุดสังข์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
238 นางสาวเสาวนีย์ รัฐนิธิคุณานนท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทผ้า การสร้างแบบ ตัดเย็บ
239 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
240 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลพร ศรีฟ้า สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีความจริงเสมือน, ความจริงเสริม, การถ่ายภาพใต้น้ำ
241 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
242 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
243 นาย ธวิช ตันฑนะเทวินทร์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ด้านคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ
244 นาย อภิชาติ พงษา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น แอปพลิเคชันบัญชีคำนวนต้นทุน
245 อาจารย์ปริณุต ไชยนิชย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา นิเทศศาสตร์สารสนเทศ ประชาสัมพันธ์และการพูด
246 วิไลวรรณ สิมเชื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ด้านผ้า การออกแบบและการตัดเย็บ 2.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 3.เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
247 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา จำปาทอง มหาวิทยาลัยพะเยา Natural Products,Electrocoagulation Applications,Natural Dyeing Process
248 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา จำปาทอง มหาวิทยาลัยพะเยา Natural Products,Electrocoagulation Applications,Natural Dyeing Process
249 นางบุปผา ศรีเสถียร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบผ้าพิมพ์ลาย
250 นางธัญญาลักษณ์ ศรแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ออกแบบ ลวดลายผ้า การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
251 ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ พลังงานทดแทน ผ้าไหมเคลือบพลาสม่าป้องกันแบคทีเรีย
252 ผศ.ชัญญา ทองสวัสดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น
253 ผศ.ปาริชาติ ศรีสนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบเครื่องแต่งกายและแฟชั่น
254 นางชฎาพร เสนาคุณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
255 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพิน สมคำพี่ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ส่งเสริมการเกษตร, เทคโนโลยีการอาหาร
256 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ชีววิทยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แปรรูปสมุนไพร เวชสำอาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร
257 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการทอผ้าไหมมัดหมี่
258 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
259 วิสุทธิ์ กิจชัยนุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การออกแบบลายผ้า
260 ดร. ภัทรานุช ผงสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย กระบวนการยอม
261 ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การย้อมผ้าแบบ Eco print การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ ทำให้เกิดสีและลวดลาย เป็นการพิมพ์ผ้า ด้วยใบไม้ ดอกไม้จากธรรมชาติ
262 ณวพร สังข์ทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ การนวดแผนไทย กดจุดจับเส้น
263 นายศิวพงศ์ พรมวัฒนะ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เครื่องปั่นหลอดด้ายไฟฟ้า
264 ดร.มาริษา เดอเบลส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ทางด้าเกษตร 2.ทางด้านผ้า
265 ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
266 อาจารย์ กุลสตรี ปริญญา มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ
267 ดร.วาสนา ศรีนวลใย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การพัฒนาชุมชน การสื่อสารชุมชน
268 อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
269 นางณวพร สังทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ยาดมสมุนไพรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมาผสมยาดมแก้อาการวิงเวียน
270 นางณวพร สังทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ นวดแผนไทยกดจุด
271 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีร์ โคตรถา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การพัฒนากลุ่มสินค้าหัตถกรรมสิ่งทอชุมชน, การบริหารจัดการตราสินค้าแฟชั่น, การสร้างสรรค์สินค้าแฟชั่นสาเร็จรูป, การออกแบบตกแต่งภายใน, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
272 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ พันตรีดร.สมชาย อุดร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เทียบและผสมสีพิมพ์และสีย้อมผ้า, ทดสอบสีและสารเคมีที่ใช้ในโรงงาน ควบคุมกระบวนการผลิตสีและสารเคมี
273 อ.อ้อมใจ บุษบง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ผู้ประกาศทางโทรทัศน์และวิทยุฯ
274 อ.ทิฐฐาน เนียมชูชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์
275 นายธารสุวรรณ อุ่นเมือง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย ข้าว
276 นางสาวพรรณรพี ธนรพิพรรณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย การทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
277 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กระบวนการผลิตข้าวฮางงอก
278 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ผ้าทอพื้นเมืองที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่น และผ้าสไบลายขิด
279 อาจารย์ กมลรักษ์ แก้งคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการเกษตรสมัยใหม่ ออกแบบและแปรรูปผลิตภัณฑ์ ลดต้นทุนการผลิต
280 ซูไบดี โตะโมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
281 นางสาวสุชนีย์ ทรัพย์สมบูรญ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเจริญเติบโตของข้าว5สายพันธุ์ในสภาพพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
282 ศ.ดร.ยงค์วิมล เลณบุรี สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modelling, Biosystems modelling, Dynamical modelling of nonlinear systems
283 รศ.ดร.ชนม์ทิตา รัตนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modeling and simulation in medical science, biology, agriculture and environment
284 รศ.ดร.ชรินทร์ โหมดชัง สำนักงานปลัดกระทรวง Biological Physics, Dynamics of infectious diseases, Physics of drug resistance evolution, Human mobility models, Modelling and simulations
285 รศ.ดร.ดวงกมล เบ้าวัน สำนักงานปลัดกระทรวง Applied Mathematics, Mathematical modeling in Nanotechnology
286 รศ.ดร.วรรณพงษ์เตรียมโพธ สำนักงานปลัดกระทรวง Biophysics, Theoretical Condensed Matter Physics, Computational physics, Non-equilibrium system, Physics in biological and medical system, STEM Education
287 ผศ.ดร.กรกนก บุญวงศ สำนักงานปลัดกระทรวง Analysis of systems described by difference equations and differential equations, Mathematical modelling
288 ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ ชยันตราคม สำนักงานปลัดกระทรวง Ocean wave modeling, Oil-spill modeling, Machine learning
289 ผศ.ดร.ชนันท์ ลิ่วเฉลิมวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Graph Theory, STEM Education
290 ผศ.ดร.ณัฐกรณ์ ผิวชื่น สำนักงานปลัดกระทรวง Financial mathematics, Modelling and analysis, STEM Education
291 ผศ.ดร.ดาราภรณ์ เตรียมโพธ สำนักงานปลัดกระทรวง TEM / AFM / CFM, Morphological Studies, TiO2 for environmental and biological systems Nanostructure Self-Assembly, Film Formation, Aggregation process, Chemical Education, STEM Education
292 ผศ.ดร.ทิพาลัคน์ กฤตยาเกียรณ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical optimization, Simulation-based optimization, Vehicle routing problem, Combinatorics, STEM Education
293 ผศ.ดร.นรินทร์ ณัฐวุฒิ สำนักงานปลัดกระทรวง Computational Biophysics, Applied Optics, STEM Education
294 ผศ.ดร.ไพโรจน์ สถิรคู สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modelling of complex systems, Actuarial mathematics and related areas
295 ผศ.ดร.ฟาริดา จำจด สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modeling and numerical investigations
296 ผศ.ดร.วรรณนิกา แสวงทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modeling, Optimization technique, STEM Education
297 ผศ.ดร.วรรธนันทน์ จตุวิริยะพรชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Applied probability, Stochastic processes, Interacting particle systems, Condensation, Stochastic Monte-Carlo methods, Mathematical Modelling of Complex systems, Interdisciplinary applications, STEM Education
298 ผศ.ดร.วสกร แลสันกลาง สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical Programming, Heuristic method for optimization problem, Vehicle routing problem (VRP), Data discovery, STEM Education
299 ผศ.ดร.วารุณี สาริกา สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modeling, Operations Research, STEM Education
300 ผศ.ดร.วิทวัชร์ โฆษิตวัฒนฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Coding theory
301 ผศ.ดร.สมคิด อมรสมานกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical modeling, Computer simulation, STEM Education
302 ผศ.ดร.สุนทรี อุณหพิพัฒน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Statistics,STEM Education
303 ดร.ณัฐนรงค์ ขจรศักดิ์สุเมธ สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical simulation
304 อ.ดร.พิชญ์กิตติ บรรณางกูร สำนักงานปลัดกระทรวง Functional Analysis, Math Education, STEM Education
305 อ.ดร.มัณฑนา ชุดทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Actuarial modeling, Mathematical modeling, STEM Education
306 รศ.ดร.บัญชา อานนท์กิจพานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Visual Computing, Machine Vision, Artificial Intelligence, Neural Networks, Data Science, System Identification
307 รศ.ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach,คณิตศาสตรศึกษา
308 รศ.ดร.สุพจน์ ไวท์ยางกูร สำนักงานปลัดกระทรวง Finite Element Method
309 รศ.เอื้อจิตร พัฒนจักร สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach,คณิตศาสตรศึกษา
310 ผศ.ดร.เกียรติ แสงอรุณ สำนักงานปลัดกระทรวง Financial Mathematics, Optimal Control, คณิตศาสตรศึกษา
311 ผศ.ดร.เกียรติ แสงอรุณ สำนักงานปลัดกระทรวง Financial Mathematics, Optimal Control, คณิตศาสตรศึกษา
312 ผศ.ดร.สัมพันธ์ ถิ่นเวียงทอง สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach, คณิตศาสตรศึกษา
313 อ.ดร.นิศากร บุญเสนา สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach, คณิตศาสตรศึกษา
314 อ.ณัฐธิดา นามบุดดี สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach,คณิตศาสตรศึกษา
315 นายสันติ บรรเลง สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach, คณิตศาสตรศึกษา
316 นางสาวอลิษา มูลศรี สำนักงานปลัดกระทรวง Lesson study and open approach, คณิตศาสตรศึกษา
317 รศ.ดร.จีรยุทธ ไชยจารุวณิช สำนักงานปลัดกระทรวง Bioinformatics, Machine Learning, Computer Science
318 รศ.ดร.จูลิน ลิคะสิริ สำนักงานปลัดกระทรวง Nonlinear Optimization Operation Research, Computational Mathematics, Discrete Mathematics, Optimization
319 รศ.ดร.ณัฐกร สุคันธมาลา สำนักงานปลัดกระทรวง Complex Analysis
320 รศ.ดร.ณัฐกร สุคันธมาลา สำนักงานปลัดกระทรวง Complex Analysis
321 รศ.ดร.สายัญ ปันมา สำนักงานปลัดกระทรวง Algebraic Graph Theory, Algebra, Discrete Mathematics
322 ผศ.ดร.กมลวรรณ ก่อเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical Modeling
323 รศ.ดร.กัญญุตา ภู่ชินาพันธุ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical PDE, Fluid mechanics,Numerical analysis, Analysis,Computational Mathematics, Mathematical Modeling
324 ผศ.ดร.จิรัฏฐ์ แสนทน สำนักงานปลัดกระทรวง Hydrogeology, Geochemistry
325 ผศ.ดร.เจนสมุทร แสงพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
326 ผศ.ดร.ณัฐพล พลอยมะกล่ำ สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical analysis, Computational Mathematics, Mathematical Modeling, Optimization, STEM Education
327 ผศ.ดร.ธนดล ชาวบ้านเกาะ สำนักงานปลัดกระทรวง Algebra, Analysis
328 ผศ.ดร.ธนะศักดิ์ หมวกทองหลาง สำนักงานปลัดกระทรวง Computational Mathematics, Discrete Mathematics, Optimization and control theory
329 ผศ.ดร.ธเนศร์ โรจนศิรพิศาล สำนักงานปลัดกระทรวง Control Theory, Data analysis, Mathematical model, Computational Mathematics, Mathematical Modeling
330 ผศ.ดร.ธีรนุช สืบเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical Modeling
331 ผศ.ดร.นวินดา ฉัตรสกุลพรหม สำนักงานปลัดกระทรวง Computational Mathematics, Mathematical Modeling
332 ผศ.ดร.เบน วงศ์สายใจ สำนักงานปลัดกระทรวง Analysis
333 ผศ.ดร.ภักดี เจริญสวรรค์ สำนักงานปลัดกระทรวง Fixed Point Theory, Analysis, Fixed Point
334 รศ.ดร.มรกต เก็บเจริญ สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical Analysis, Computational Mathematics, Mathematical Modeling, Optimization
335 ผศ.ดร.ศุภณัฐ ชัยดี สำนักงานปลัดกระทรวง Discrete and Computational Geometry, Mathematical Modeling with Geometry Approach, Computational Mathematics, Discrete Mathematics, Mathematical Modeling
336 ผศ.ดร.สมภพ มูลชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Mathematical Modeling, Optimization
337 ผศ.ดร.สุปรีดี แดงสกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Topology
338 ดร.ขวัญชนก ไชยชนะ สำนักงานปลัดกระทรวง Algebra, Computational Mathematics, Discrete Mathematics, Topology
339 ผศ.ดร.ปภังกร อิ่นแก้ว สำนักงานปลัดกระทรวง Pattern Recognition and Machine Learning, Feature Engineering, Signal and Image Processing, Radiomics
340 รศ.ดร.อภิรดี แซ่ลิ่ม สำนักงานปลัดกระทรวง วิธีวิทยาการวิจัย
341 รศ.ดร.อาทิตย์ อินทรสิทธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตร์ประยุกต์
342 ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ ดำชุม สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาการคอมพิวเตอร์
343 ผศ.ดร.มายือนิง อิสอ สำนักงานปลัดกระทรวง วิธีวิทยาการวิจัย
344 ผศ.ดร.รัตติกานต์ แซ่ลิ่ม สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตร์ประยุกต์
345 ผศ.ดร.ฤสา แม็คแนล สำนักงานปลัดกระทรวง สถิติประยุกต์
346 ผศ.ดร.ศิริเพ็ญ วิกัยสุขสกุล สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาการคอมพิวเตอร์
347 ผศ.ดร.สมพร ช่วยอารีย์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตร์ประยุกต์
348 ผศ.ดร.สล้าง มุสิกสุวรรณ สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาการคอมพิวเตอร์
349 ผศ.ดร.อัตชัย เอื้ออนันตสันต์ สำนักงานปลัดกระทรวง วิธีวิทยาการวิจัย
350 ผศ.ดร.บุญจิรา มากอ้น สำนักงานปลัดกระทรวง Applied Statistics, Computers in Biology and Medicine
351 ดร.สันธนา ชัยมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาการคอมพิวเตอร์
352 ดร.อนุรักษ์ บูสะมัญ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตร์ประยุกต์
353 รศ.ดร.ฉัฐไชย์ ลีนาวงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Logistics & Supply Chain, Operations research, Data Science ,Engineering Economy
354 รศ.ดร.นพรัตน์ โพธิ์ชัย สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical Analysis, Mathmatical Modeling, Numerical simulation models in pollution - assessment
355 ผศ.ดร.บุษยมาศ พิมพ์พรรณชาติ สำนักงานปลัดกระทรวง Financial Mathematics and Insurance, Mathmatical Modeling, Optimization, Actuarial Science
356 ดร.จินดา ไชยช่วย สำนักงานปลัดกระทรวง การจาลองแบบและจาลองสถานการณ์
357 ดร.พุทธพร วาณิชกร สำนักงานปลัดกระทรวง Analysis, Numerical Analysis, Differential Equations
358 ผศ.ดร.พันทิพย์ โตแก้ว สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical Analysis, Mathematical Model, การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
359 ผศ.ดร.วันดี วณิชย์ศักดิ์พงศ์ สำนักงานปลัดกระทรวง สถิติประยุกต์
360 ผศ.ดร.สุรีรัตน์ อารีย์รักสกุล ก้องโลก สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
361 อ.ดร.เกษม เปรมประยูร สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
362 อ.ดร.สุวรรณี เปลี่ยนรัมย์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
363 ผศ.ดร.วราภรณ์ จาตนิล สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
364 ผศ.ดร.ชนากานต์ เกียรติอร่ามกุล สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
365 รศ.ดร.สุรัตนา สังข์หนุน สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
366 ดร.เอลวิน มัวร์ สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
367 รศ.ดร.ภาณุมาศ แสวงทอง สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์ / STEM Education
368 ผศ.ดร.สายันต์ แก่นนาคำ สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์, Computational fluid dynamics
369 อ.ดร.ภัทรพงศ์ กุลสีดา สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
370 อ.ดร.อาริยา สุริยนต์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
371 อ.ชมพู่ ลุนศักดิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
372 ผศ.ดร.มนตรี ทองมูล สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์, Analysis, Topology
373 อ.ดร.กิตติศักดิ์ ใจอ่อน สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
374 อ.ดร.จุฬาลักษณ์ ใจอ่อน สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
375 อ.ดร.วิภาพร สุทธิอัมพร สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
376 อ.ดร.สุดาทิพย์ หาญเชิงชัย สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
377 อ.ดร.ชนิกา เสนาวงศ์ษา สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
378 อ.ดร.พิมพ์ผกา อินทะรส สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
379 อ.ดร.กาญจนา เวชบรรพต สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
380 อ.ดร.พิมพ์ลักษณ์ มูลโพธิ์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
381 อ.ณัฐวัตร สุดจินดา สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
382 อ.ศาสตรา หล้าอ่อน สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
383 อ.ทองอุ่น มั่นหมาย สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
384 อ.ดร.ธัญญา กาศรุณ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
385 อ.ดร.สุธารัตน์ บุญเลิศ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
386 อ.ดร.เอนก สุดจำนงค์ สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
387 อ.ดร.วีระศักดิ์ แก่นอ้วน สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
388 ผศ.ดร.นพดล ชุมชอบ สำนักงานปลัดกระทรวง Partial Differential Equation (PDE)-Based Variational Models in Image Processing, Mathematical Modelling and Numerical Methods for Image Registration, Electromagnetic Modelling for Geophysical Prospecting, Inverse Problems in Applied Mathematics, Multigrid Methods for Differential Equations, Numerical Optimisation
389 ผศ.ดร.สิทธิเศรษฐ์ พลเวียง สำนักงานปลัดกระทรวง Numerical Analysis, Biomathematics, Differential Equations
390 ผศ.ดร.วิชุดา แซ่เจีย สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
391 รศ.ดร.ศราวุธ แสนการุณ สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
392 ดร.นิวดี สาหีม สำนักงานปลัดกระทรวง วิธีวิทยาการวิจัย
393 นางเข็มทอง คตมรคา สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
394 นางสาวจิตรลดา ใจกล้า สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
395 รศ.ดร.สุวรรณ ถังมณี สำนักงานปลัดกระทรวง การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
396 นางสาวจตุพร นาสินสร้อย สำนักงานปลัดกระทรวง คณิตศาสตรศึกษา
397 ดร.สุวิทย์ สมสุภาพรุ่งยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา Internet of things, Electrical
398 อาจารย์พีรพันธ์ ทองเปลว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพืชไร่ และเมล็ดพันธุ์
399 อาจารย์พรวิภา สะนะวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเมล็ดพันธุ์ และพืชไร่
400 นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตพืชไร่