2566 ศูนย์บ่มเพาะซิ่นตีนจกดอยเต่า (โหล่งฮอด-ดอยเต่า) : เครื่องมือการสื่อสารเชิงเอกลักษณ์ตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาตร์เพื่อการส่งเสริมท่องเที่ยวและพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานภูมินิเวศวัฒนธรรมชุมชน   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [15726]

ผลผลิตที่ได้รับ(Output)(ผลผลิตที่ได้รับจากการดำเนินงานซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของโครงการ/กิจกรรม)
  1. องค์ความรู้เรื่องการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 องค์ความรู้
2. องค์ความรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 องค์ความรู้
3. องค์ความรู้เรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 องค์ความรู้
4. ผู้ร่วมเรียนรู้ อย่างน้อย 30 ราย

ผลลัพธ์ที่ได้รับ (Outcome) (ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตของโครงการ/กิจกรรม)
  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
3. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

ผลกระทบที่ได้รับ (Impact) (ผลกระทบที่ได้รับจากผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรม)
1. เศรษฐกิจ
- รายได้ที่เพิ่มขึ้นการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ story telling เป็นเครื่องมือ ของกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
- มูลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการเทียบกับงบประมาณที่ได้รับ ไม่น้อยกว่า 1 เท่า (B/C ratio >1)
2. สังคม (เช่น เกิดการจ้างงาน ลดการย้ายถิ่นฐาน ครอบครัวเป็นสุข เป็นต้น) โปรดระบุ
- เกิดผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชน โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 ราย
3. สิ่งแวดล้อม (เช่น การลดปัญหามลพิษ การเพิ่มพื้นที่ป่า การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น) โปรด
- จำนวนฐานข้อมูลพื้นที่/แหล่ง/สถานที่ เกิดพื้นที่การท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ อย่างน้อย 1 พื้นที่

สรุปอภิปรายผล ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะโครงการ (บรรยายพอสังเขป)
โครงการศูนย์บ่มเพาะซิ่นตีนจกดอยเต่า (โหล่งฮอด-ดอยเต่า) : เครื่องมือการสื่อสารเชิงเอกลักษณ์ตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อการส่งเสริมท่องเที่ยวและพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานภูมินิเวศวัฒนธรรมชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ story telling เป็นเครื่องมือ สร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ส่งเสริมเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และเพื่อส่งเสริมเรื่องการจัดการท่องเที่ยวตามแนววิถีใหม่โดยใช้อัตลักษณ์เชิงพื้นที่ (สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์) เป็นเครื่องมือ โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มทอซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่า จำนวน 30 ราย มีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้

 

1. เกิดกระบวนการจัดการองค์ความรู้ ได้แก่
1.1 การจัดการความรู้เรื่องการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
1.2 การจัดการความรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
1.3 การจัดการความรู้เรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
2. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แก่
2.1 เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
2.2 เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
2.3 เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
จากผลการดำเนินโครงการข้างต้น ทำให้เกิดความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งในระดับชุมชน ระดับตำบลหรือเทศบาล รวมไปถึงระดับอำเภอในการร่วมมือเป็นเครือข่ายเพื่อหนุนเสริมการขับเคลื่อนซิ่นตีนจกน้ำท่วมดอยเต่า-ฮอด เพื่อเป็นเครื่องมือการสื่อสารเชิงเอกลักษณ์ตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อการส่งเสริมท่องเที่ยวและพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานภูมินิเวศวัฒนธรรมของอำเภอดอยเต่าต่อไป

ประโยชน์ที่ประชาชน/สาธารณชนจะได้รับ
1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
3. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
 



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 28/09/2566 [15726]
0 0
4 [15725]

กิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมติดตามและประเมินผลโครงการ
ผู้ร่วมกิจกรรมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นายอำเภอดอยเต่า
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
กำนันตำบลดอยเต่า
รองนายกเทศบาลตำบลท่าเดื่อ-มืดกา
สารวัตรกำนัน ต.มืดกา
เกษตรอำเภอดอยเต่า
ครู กศน.ตำบลดอยเต่า
พัฒนาชุมชนอำเภอดอยเต่า
นักพัฒนาชุมชน อบต.บ้านแอ่น
นักพัฒนาชุมน อบต.ดอยเต่า
นักจัดการงานทั่วไป อบต.ดอยเต่า
ประธานสตรีอำเภอดอยเต่า
ประธานสตรีตำบลมืดกา
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านไร่
กลุ่มทอผ้า สโรชา มีสัตย์
กลุ่มทอผ้าฝ้ายอำพัน(ฮอด)
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านชั่งแปลง8
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านตีนดอย
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าบ้านแอ่น
กลุ่มทอบ้านชั่งแปลง

ผลผลิตและผลลัพธ์
ได้ทำความร่วมมือทางวิชาการ
 



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 28/09/2566 [15725]
25330 30
4 [15724]

กิจกรรมที่ 5 จัดถ่ายทอดความรู้เรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
ผู้ร่วมกิจกรรมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นายอำเภอดอยเต่า
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
กำนันตำบลดอยเต่า
รองนายกเทศบาลตำบลท่าเดื่อ-มืดกา
สารวัตรกำนัน ต.มืดกา
เกษตรอำเภอดอยเต่า
ครู กศน.ตำบลดอยเต่า
พัฒนาชุมชนอำเภอดอยเต่า
นักพัฒนาชุมชน อบต.บ้านแอ่น
นักพัฒนาชุมน อบต.ดอยเต่า
นักจัดการงานทั่วไป อบต.ดอยเต่า
ประธานสตรีอำเภอดอยเต่า
ประธานสตรีตำบลมืดกา
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านไร่
กลุ่มทอผ้า สโรชา มีสัตย์
กลุ่มทอผ้าฝ้ายอำพัน(ฮอด)
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านชั่งแปลง8
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านตีนดอย
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าบ้านแอ่น
กลุ่มทอบ้านชั่งแปลง

ผลผลิตและผลลัพธ์
ได้บทเรียนเรื่องการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
 



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 28/09/2566 [15724]
24672 40
4 [15723]

กิจกรรมที่ 3 จัดถ่ายทอดความรู้เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และ กิจกรรมที่ 4 จัดถ่ายทอดความรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

ผู้ร่วมกิจกรรมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นายอำเภอดอยเต่า
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
กำนันตำบลดอยเต่า
รองนายกเทศบาลตำบลท่าเดื่อ-มืดกา
สารวัตรกำนัน ต.มืดกา
เกษตรอำเภอดอยเต่า
ครู กศน.ตำบลดอยเต่า
พัฒนาชุมชนอำเภอดอยเต่า
นักพัฒนาชุมชน อบต.บ้านแอ่น
นักพัฒนาชุมน อบต.ดอยเต่า
นักจัดการงานทั่วไป อบต.ดอยเต่า
ประธานสตรีอำเภอดอยเต่า
ประธานสตรีตำบลมืดกา
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านไร่
กลุ่มทอผ้า สโรชา มีสัตย์
กลุ่มทอผ้าฝ้ายอำพัน(ฮอด)
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านชั่งแปลง8
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านตีนดอย
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าบ้านแอ่น
กลุ่มทอบ้านชั่งแปลง

ผลผลิตและผลลัพธ์
ได้บทเรียนเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และ บทเรียนเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
 



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 28/09/2566 [15723]
76982 40
3 [14551]

กิจกรรมที่ 2

ผู้ร่วมกิจกรรมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นายอำเภอดอยเต่า
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
กำนันตำบลดอยเต่า
รองนายกเทศบาลตำบลท่าเดื่อ-มืดกา
สารวัตรกำนัน ต.มืดกา
เกษตรอำเภอดอยเต่า
ครู กศน.ตำบลดอยเต่า
พัฒนาชุมชนอำเภอดอยเต่า
นักพัฒนาชุมชน อบต.บ้านแอ่น
นักพัฒนาชุมน อบต.ดอยเต่า
นักจัดการงานทั่วไป อบต.ดอยเต่า
ประธานสตรีอำเภอดอยเต่า
ประธานสตรีตำบลมืดกา
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านไร่
กลุ่มทอผ้า สโรชา มีสัตย์
กลุ่มทอผ้าฝ้ายอำพัน(ฮอด)
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านชั่งแปลง8
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านตีนดอย
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าบ้านแอ่น
กลุ่มทอบ้านชั่งแปลง

ผลผลิตและผลลัพธ์
นายเพิ่มศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ นายอำเภอดอยเต่า กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านพร้อมกล่าวเปิดการประชุมตามระเบียบวาระการประชุมดังนี้

เรื่องร่างคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนการรับรองมาตรฐานการขึ้นทะเบียน GI ของผ้าซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่า ว่าตอนนี้ทางพัฒนาชุมชนได้ดำเนินการจัดทำร่างคำสั่งเป็นที่เรียบร้อยแล้วพร้อมที่จะนำเข้าที่ประชุมในวาระเพื่อพิจารณาต่อไปและเน้นย้ำท่านที่เป็นคณะกรรมการทุกท่านไม่ว่าหน่วยงานราชการหรือองค์กรต่างๆขอให้ช่วยกันในการขับเคลื่อนเรื่องนี้ให้ประสบความสำเร็จให้ได้ หากมีอะไรที่ทางนายอำเภอจะดำเนินการให้ได้ขอให้แจ้งมาทางอำเภอจะรีบดำเนินการ

1 เรื่องที่ได้มอบหมายให้กลุ่มทอผ้าทุกกลุ่มให้ไปประชุมกลุ่มย่อยในการพิจารณาเรื่องลายผ้าที่จะขอรับรองมาตรฐานขึ้น GI และได้ให้ คุณฐาปนี ไหวยะประธานกลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านไร่พร้อมทั้งทีมงานได้นำเสนอลายผ้าให้ที่ประชุมได้รับทราบว่าจริงๆแล้วมีทั้งหมดหลักๆอยู่ 6 ลายแต่ละลายก็จะแตกแยกย่อยออกไปอีกเยอะแยะมากมายแต่ละรายบ่งบอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนนั้นๆและสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตนำมาทำเป็นลวดลายผ้าซิ่นตีนจกพร้อมทั้งได้ขึ้นสไลด์ลายผ้าต่างๆให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบรับชม
2 เรื่องการสืบค้นประวัติศาตร์ โดยคุณดำรงศักดิ์ มีสัตย์ กลุ่มทอผ้าสโรชาบ้านสันบ่อเย็นได้นำเสนอข้อมูลในส่วนของการสืบค้นประวัติศาสตร์ความเป็นมาเรื่องผ้าซิ่นมีหลายเรื่องราวที่สามารถอ้างอิงได้เช่น
          1 หนังสือการล่องเรือของบาทหลวงชาวอังกฤษ
          2 หนังสือการสร้างเขื่อนภูมิพล
          3 หนังสือนิคมสร้างตนเอง
           4 หนังสือจัดกลุ่มศิลปากร
           5 งานวิจัยของวช.
           6 งานวิทยานิพนธ์ของนักปราชญ์ราชบัณฑิตและได้เล่าที่ไปที่มาของประวัติศาสตร์เหล่านั้นให้ที่ประชุมได้รับทราบโดยสังเขป

3.นางสาวพิศาพิมพ์ จันทร์พรหม อาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบว่า สิ่งที่เราเก็บรวบรวมข้อมูลได้บ้างแล้วในตอนนี้คือเรื่องการยกย้ายถิ่นฐานของอำเภอดอยเต่าและอำเภอฮอดบางส่วนหากเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนจะนำเข้าที่ประชุมพิจารณายืนยันความถูกต้องอีกครั้ง
อีกทั้งได้ให้ข้อเสนอแนะว่า หากเก็บข้อมูลเรื่องลายผ้าเรียบร้อยแล้วควรมีการเปิดเวทีสาธารณะให้เรียนเชิญผู้ที่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องผ้ามาให้องค์ความรู้และมายืนยันลายผ้าของโหล่งฮอด-ดอยเต่าพร้อมทั้งขอทางอำเภอดอยเต่าแจ้งเครือข่ายทางอำเภอฮอดเพิ่มเติมฝากท่านนายอำเภอดอยเต่าประสานทางอำเภอฮอดด้วยเพราะจะได้ข้อมูลตรงกัน
พร้อมกันนี้จะนำผลการประชุมในครั้งนี้ ไปนำเสนอต่อทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเพื่อให้ท่านอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับอำเภอดอยเต่าและอำเภอฮอด เพื่อร่วมกันพัฒนาเชิงพื้นที่และเชิงนโยบายร่วมกัน และจะประสานงานทางเพื่อข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) อีกครั้งหนึ่ง

4.นายเพิ่มศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ นายอำเภอดอยเต่ากล่าวสรุปตามวาระการประชุมที่ผ่านมาและเน้นย้ำทุกส่วนไฟขอให้ช่วยกันในการขับเคลื่อนเรื่องนี้และขอให้กำลังใจทุกคนทุกท่านเพื่อประโยชน์ของพี่น้องชาวอำเภอดอยเต่า 



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 03/07/2566 [14551]
43216 30
3 [14550]

กิจกรรมที่ 1
ผู้ร่วมกิจกรรมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นายอำเภอดอยเต่า
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่า
ผู้ทรงคุณวุฒิ
กำนันตำบลดอยเต่า
รองนายกเทศบาลตำบลท่าเดื่อ-มืดกา
สารวัตรกำนัน ต.มืดกา
เกษตรอำเภอดอยเต่า
ครู กศน.ตำบลดอยเต่า
พัฒนาชุมชนอำเภอดอยเต่า
นักพัฒนาชุมชน อบต.บ้านแอ่น
นักพัฒนาชุมน อบต.ดอยเต่า
นักจัดการงานทั่วไป อบต.ดอยเต่า
ประธานสตรีอำเภอดอยเต่า
ประธานสตรีตำบลมืดกา
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านไร่
กลุ่มทอผ้า สโรชา มีสัตย์
กลุ่มทอผ้าฝ้ายอำพัน(ฮอด)
กลุ่มทอผ้าตีนจกบ้านชั่งแปลง8
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านตีนดอย
ประธานสตรีตำบลดอยเต่า
กลุ่มทอผ้าบ้านแอ่น
กลุ่มทอบ้านชั่งแปลง

ผลผลิตและผลลัพธ์
1.1 นายเพิ่มศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ นายอำเภอดอยเต่า เปิดประชุมเวทีเสวนาทางออกของผ้าซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่าพร้อมต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านและได้มอบหมายให้นายอนุรักษ์ ก๋องโน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่ากล่าวต้อนรับรวมถึงวัตถุประสงค์ของการประชุมเสวนาในครั้งนี้
1.2 นายอนุรักษ์ ก๋องโน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดอยเต่า กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมและแนะนำผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านพร้อมกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการประชุมในครั้งนี้เพื่อหาทางออกของผ้าซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่า เพื่อนำไปสู่การรับรองมาตรฐาน GI (ข้อบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์)รวมทั้งการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ลายผ้าซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่าและได้ให้ผู้เข้าร่วมประชุมพ่อครูแม่ครูกลุ่มทอผ้าต่างๆที่มาร่วมประชุมในครั้งนี้ให้ข้อมูลกับที่ประชุมว่าแต่ละกลุ่มได้ทำอะไรกับใครมาแล้วบ้างติดขัดปัญหาหรืออุปสรรคอะไรและทิศทางจะเคลื่อนควรเป็นอย่างไร
1.3 คุณฐาปนีย์ ไหวยะ ประธานกลุ่มทอผ้าตีนจกลายโบราณบ้านไร่ ได้เกริ่นนำเรื่องผ้าซิ่นตีนจกที่ได้ดำเนินการมาแล้วกับกลุ่มองค์กรต่างๆหลากหลายมากมายพร้อมทั้งได้สายวีดิทัศน์ คลิปวีดีโอที่ได้ออกรายการทางโทรทัศน์หรือข่าวสารต่างๆให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับชม
1.4 คุณแสงเดือน เปี้ยตั๋น ประธานกลุ่มทอผ้าบ้านชั่ง ได้ให้ข้อมูลเรื่องผ้าลายโบราณตั้งแต่อพยพจากลุ่มน้ำปิงย้ายถิ่นฐานขึ้นมาอยู่ข้างบนว่านี้มีผ้าซิ่นหลักหลายลวดลายที่แม่อุ้ยแม่หม่อนท่านได้ทอไว้แล้วส่งมอบให้ลูกหลานและตัวคุณแสงเดือนเองจึงได้สืบทอดส่งเสริมให้กลุ่มเด็กๆและเยาวชนในโรงเรียนดอยเต่าวิทยาคมรวมทั้งได้ร่วมทำงานกับหน่วยงานราชการหรือกลุ่มองค์กรต่างๆที่เข้ามาหนุนเสริมและอนุรักษ์ผ้าซิ่นตีนจกสืบไป
1.5 คุณดำรงศักดิ์ มีสัตย์ กลุ่มทอผ้าสโรชาบ้านสันบ่อเย็น ได้ให้ข้อมูลเรื่องลายผ้าต่างๆจุดเด่นของผ้าซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่า ประวัติช่างทอที่มีฝีมือดีในพื้นที่อำเภอดอยเต่า และได้ร่วมทำงานกับหน่วยงานไหนบ้างที่ผ่าน
1.6 นายเพิ่มศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ นายอำเภอดอยเต่า กล่าวสรุปในเบื้องต้นในการขับเคลื่อนเรื่องผ้าซิ่นตีนจกโหล่งฮอด-ดอยเต่า ในการจะขอรับรองมาตรฐาน GI ว่ามีขั้นตอนกระบวนการอย่างไรบ้างขอให้ทางเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเพราะเคยมีประสบการณ์ในเรื่องนี้
1.7 คุณพีรดี เหมวิรัตน์เกษตร อำเภอแม่ออนรักษาการเกษตรอำเภอดอยเต่า ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียน GI รวมถึงการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ลายผ้าซิ่นตีนจกอำเภอดอยเต่าว่าที่ผ่านมาเรื่องการขึ้น GI ผ้าทอก็มีหลายแห่งที่ได้รับรองมาตรฐาน GI เช่นผ้าซิ่นตีนจกแม่แจ่มซึ่งเน้นเรื่องนี้เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงานไม่ว่าพาณิชย์จังหวัดกรมทรัพย์สินทางปัญญาจะเสร็จจังหวัดพัฒนาชุมชนจังหวัดซึ่งมีแบบฟอร์มและมีหัวข้อต่างๆที่เราต้องเก็บรายละเอียดให้ครบทุกประเด็นครบทุกหัวข้อไม่ว่าจะเป็นเรื่องประวัติศาสตร์ ที่มาลายผ้า จุดเด่น คุณภาพสินค้า คุณภาพวัตถุดิบ การยอมรับจากลูกค้า และรายละเอียดอีกมากมายการจะขอ GR แต่ละอย่างต้องใช้เวลาอย่างน้อยเป็นปีถึง 2 ปีขอให้ทุกท่านทุกคนช่วยกันค้นหาเก็บข้อมูลให้ได้เยอะที่สุดค่อยขยับไปทีละสเต็ป



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 03/07/2566 [14550]
0 34
2 [14034]

จากแผนการดำเนินงานโครงการศูนย์บ่มเพาะชินตีนจกดอยเต่า(โหล่งฮอด-ดอยเต่า) เครื่องมือการสื่อสารเชิงอัตลักษณ์ตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจบนพื้นฐานภูมินิเวศวัฒนธรรมชุมชน
จ.เชียงใหม่ คณะผู้ดำเนินการจึงได้เริ่มกิจกรรมตามแผนดำเนินงานของโครงการฯ ในกิจกรรมที่ 1 จัดถ่ายทอดความรู้เรื่องการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนนั้น โดยใช้ story teling เป็นเครื่องมือ เนื่องจากเป็นโครงการที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากเครือข่ายสูงเพื่อเคลื่อนกระบวนการดำเนินงาน คณะผู้ดำเนินงานจึงเริ่มต้นด้วยการประสานงานหน่วยงานและกลุ่มทอผ้า และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ เพื่อสร้างความเข้าใจกับโครงการ แนวทางกาดำเนินโครงกร และความคาดหวังของโครงการให้แก่ กศนอ.ดอยเต่า เครือข่ายกลุ่มทอผ้าชินตีนจก (โหล่งฮอด-ดอยเต่า)

ผลการดำเนินงาน เกิด Line กลุ่มทอผ้านตีนจก (โหล่งฮอด-ดอยเต่า) เพื่อประสานงาน และการดำเนินกิจกรรมในโครงการทางนากอบต.ดอยเต่า จะรับเป็นหัวโต๊ะและพื้นที่กลางเพื่อดำเนินกิจกรรมในโครงการ



รายงานโดย นางสาวอภิญญา ไชยวงค์ วันที่รายงาน 04/04/2566 [14034]
34800 30