ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดชล วุ้นประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระบบการให้น้ำอัจฉริยะ (Smart Farm)
2 ผศ.ภัทราวดี ศิริวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตนนทบุรี ด้านสถาปัตยกรรม การตลาด ประชาสัมพันธ์
3 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
4 นายณรงค์ศักดิ์ เถื่อนใย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบบำบัดน้ำเสีย
5 ผศ.วิเชษฐ ยิ้มละมัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาเครื่องมือและเครื่องจักรทางการเกษตรและอื่นๆ ห้องอบผลิตภัณฑ์ Temperature Control ห้องอบผลิตภัณฑ์ใช้วัสดุฉนวนความร้อนและเมทัลชีสแบบเรียบขนาด 2 เมตร x 2 เมตร x 2 เมตร และใช้การระบายความร้อนด้วยลูกหมุนระบายความร้อน ควบคุมอุณหภูมิผ่าน Temperature Control วัดอุณหภูมิด้วย เทอร์โมคัปเปิล 2 จุด แหล่งกำเนิดความร้อนอยู่ภายนอก
6 ดร.เอกบุตร อยู่สุข มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี กระบวนทัศน์การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรทฤษฎีใหม่ในด้านเครื่องยนต์การเกษตร การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเครื่องยนต์การเกษตร
7 ดร.สัมฤทธิ์ มากสง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การเลี้ยงผึ้งและผลิตภัณฑ์จากผึ้ง
8 นายอับดุลเลาะ บากา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) การออกแบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การตลาดออนไลน์ (Digital online) การทำเกษตรสมัยใหม่ (Smart.Farm)
9 นายอับบ๊าส พาลีเขตต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา -การจัดการข้ามวัฒนธรรม - การตลาดระหว่างประเทศ - การเป็นผู้ประกอบการ - การตลาดออนไลน์ - การออกแบบโมเดลธุรกิจ - การพัฒนานวัตกรรม
10 นายประหยัด บุญโต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี ระบบพ่นหมอกในโรงเรือนเพาะเห็ด
11 ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบและวิเคราะห์เครื่องจักรกลโดยใช้โปรแกรมด้านCADและCAE,การวิเคราะห์เครื่องจักรกลโดยใช้ระเบียบทางด้านไฟไนท์อิลิเมนท์,Simulation,CFD,การจัดการและบริหารขยะ,หุ่นยนต์อัตฉริยะ,ระบบอบแห้ง,ระบบรักษาผลิตผลการเกษตร,The application of Mechatronics & Manufacturing Systems,พลังงานทดแทน
12 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนพร พยอมใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การออกแบบและพัฒนาโรงเรือนโดยใช้เทคโนโลยี 4.0 เข้ามาช่วยปรับปรุงคุณภาพโรงเรือนให้ทันสมัย
13 นายศรันย์ คัมภีร์ภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ระบบสื่อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย ด้านออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและ Data Warehouse ด้านปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ด้าน IOT
14 ดร.สุพิศ บุญลาภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารงานส่วนท้องถิ่น, กลยุทธ์การจัดการในองค์กร, รูปแบบการปกครองและการจัดการองค์กรในสภาวะวิกฤติ
15 ผศ.ดร.ปรรฐมาศ์ พสิษฐ์ภคกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิถีชีวิตชุมชน, ศิลปวัฒนธรรม, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
16 สุชาติ ปุริตธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การออกแบบอุปกรณ์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ การออกแบบและพัฒนาแท่นเลื่อนสำหรับเครื่องเร้าเตอร์ ประธานอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างประกอบติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ระดับ 1 และระดับ 2 การผลิตและการออกแบบอุปกรณ์ช่วยการผลิต
17 สูนฤต เงินส่งเสริม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ประวัติศาสตร์และการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ พัฒนาการของรูปแบบเครื่องเรือนลอยตัวชนิดสำเร็จรูปภายในอาคารพักอาศัยในประเทศไทย พ.ศ.2538-2548 การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ม้านั่งบนบาทวิถีกรุงเทพจากเศษวัสดุกิ่งไม้
18 นวลละออง อรรถรังสรรค์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบริหารการจัดาการชุมชนท้องถิ่น และการส่งเสริมด้านการตลาดและการทำมาตรฐาน
19 สุนันทา เลาวัณย์ศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก๊าซชีวภาพจากขยะมูลสัตว์และของเสียชุมชน
20 อัจฉรี จันทมูล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการชุมชน และการจัดทำมาตรฐาน
21 สถิตย์ เจ๊กมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การจักสาน การบริหารจัดการชุมชน
22 ปิยภัทร บุษบาบดินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการชุมชน การตลาดในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน แปรรูปผลผลิตการเกษตร
23 อาจารย์ กฤษณา เกตุคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ งานศิลปะประดิษฐ์ ดอกไม้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์เครื่องมือที่ใช้ในงานบายศรี งานประดิษฐ์ การจัดดอกไม้สด งานใบตอง งานแกะสลัก ผัก-ผลไม้
24 ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก การจัดทำบุญชีครัวเรือน การบริหารธุรกิจชุมชน การจัดทำบัญชีกลุ่มโอทอป
25 นายณัฏฐวุฑท์ กุตระแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ด ด้วยโรงเรือนเพาะเห็ดระบบทำความเย็นด้วยถ่าน
26 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรเทพ แก้วเชื้อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ความเชี่ยวชาญ : ลดต้นทุนการผลิต ลดของเสีย : สาขาเทคโนโลยีอาหาร GMP และ HACCP : ระบบการผลิต การเพิ่มผลผลิต
27 นายวิชัย นระมาตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ -เทคโนโลยีการสื่อสาร -เทคโนโลยีไฟฟ้า -เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร์ -เทคโนโลยีพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ -เทคโนโลยีระบบการให้น้ำ
28 อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต
29 นางสาวเมทิกา พ่วงแสง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจชุมชนฐานรากกับวิถีวัฒนธรรม การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์
30 ผศ.ดร.วราจิต พยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
31 อ.กฤตชัย บุญศิวนนท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
32 นายจีรพันธุ์ ชอบธรรม วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การสร้าโรงเรื่อน และระบบน้ำ
33 ดร.วัลลีย์ อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก เทคนิดการเข้าชุมชน
34 ผศ.ดร.วัชระ วงค์ปัญโญ มหาวิทยาลัยพะเยา เชียวชาญพลังงานทดแทน การสร้างโรงเรือน
35 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปฐมพงค์ จิโน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีโรงเรือน
36 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มงคลกร ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการขยะ
37 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเติมอากาศในสัตว์น้ำ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบิ้ลทางด้านการเกษตร 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟฟ้าแรงดันสูงในการกระตุ้นการออกดอกของเห็ด 4. การประยุกต์ใช้ไอออนบีมพลังงานสูงในการถ่ายภาพทางการแพทย์
38 นายสุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) , การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน , การออกแบบนวตกรรม , สื่อสร้างสรรค์
39 อาจารย์ปรมัตถ์ โพดาพล มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การบริหารจัดการชุมชน/การพัฒนาชุมชน/การบริหารโครงการ
40 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
41 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา หนูสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีเคมีวิเคราะห์
42 อาจารย์สุริยา ทองคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านอารักขาพืช(โรคพืช), การเพาะเห็ด, การปลูกเมล่อน ระบบ GAP
43 นางสาวสิริอนงค์ สมัครสมาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม, การจับผ้าเป็นรูปแบบลายต่างๆ, การย้อมสีผ้าไหม, การเลี้ยงไหม
44 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิชัย จีนะวงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมสื่อสาร โทรคมนาคม วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน
45 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิอร สิริมงคลเลิศกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
46 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultant’s Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
47 ผศ.ดร. ประเทือง โชคประเสริฐ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การพัฒนากรรมวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีการอาร
48 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การจัดทำแผนธุรกิจเกษตร
49 นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
50 นางสาวสุธีรา สุนทรารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การกำจัดขยะแต่ละประเภทให้เหมาะสม (การแปรรูป รีไซเคิล) ออกแบบและแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา
51 นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม
52 นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) • การจัดการสิ่งทอ • การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี • การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo) • การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
53 นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
54 นางสาวเบ็ญจวรรณ บัวขวัญ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การบูรณาการภูมิปัญญาเพื่อเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (การนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ และการสร้างสรรค์สิ่งเหลือใช้จากงานเกษตร งานหัตถกรรม มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อม
55 ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สาขาเทคโนโลยีการเกษตร (การประยุกต์ใช้เศษเหลือทิ้งจากการผลิตพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
56 นางสาวจรินรัตน์ วรวงศ์พิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวิเคราะห์สินเชื่อ การเงิน
57 น.ส.ชณิชา จินาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
58 ดร.พรปวีณ์ วรเศรษฐ์พงศา มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดการการเงินและการลงทุน, การวางแผนการเงินและจัดสรรกำไร, การวิจัยธุรกิจ, การพัฒนาทักษะทางการเงินส่วนบุคคล
59 นางสาวพอหทัย ซุ่นสั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ออกแบบลวดลาย ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่ง
60 นางสาวจิราพร เกียรตินฤมล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การออกแบบเชิงสร้างสรรค์แบบทันสมัย
61 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
62 อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
63 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
64 อาจารย์มานพ ดอนหมื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การพัฒนาเครื่องจักรด้านการเกษตร การพัฒนาเครื่องจักรด้านแปรรูปอาหาร การบริหารการเพาะปลูก การวางแผนการขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก
65 อ. ดวงจันทร์ แก้วกงพาน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาความรู้ในเนื้อผนวกวิธีสอนวิทยาศาสตร์ (PCK) ที่บูรณาการกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (TPCK) ในศตวรรษที่ 21
66 อ.จตุทิพย์ ก๋ายะ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การบูรณาการการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยกิจกรรม Tinkering & Making
67 นายธนพงศ์พันธ์ หมื่นโท่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนจัดทำโรงเรือน หมู่บ้าน Smart Village
68 อาจารย์ดวงพร อ่อนหลวาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การบริหาร การจัดการ การบัญชี เพื่อธุรกิจและการบริการ
69 อ.ชนาพร รัตนมาลี มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตเห็ดครบวงจรตั้งแต่กระบวนการเพาะเลี้ยงเชื้อกระบวนการผลิตก้อนเชื้อเห็ด การทำโรงเรือน การดูแลรักษาเห็ด
70 อาจารย์วรัญญา ฐานะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ
71 ดร.นวรัตน์ พรหมอุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ
72 อาจารย์อาทิตย์ บุดดาดวง มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การปลูกพืชในโรงเรือนกรองแสง
73 ดร. สุภาวดี สำราญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
74 อาจารย์อุไรวรรณ วันทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบจัดการน้ำพืชสวน แบบ Smart farming
75 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
76 รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Smart farming) - คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส
77 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักเรศ เมตตะธำรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ
78 นายอุกฤษฎ์ นาจำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส
79 นางเกษร ประทุม มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ
80 สุรศักดิ์ นุ่มมีศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม
81 ดร.ชาญ ยอดเละ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี B.Sc. (Chemistry) The University of New England, Australia วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.Sc. (Environmental and Ecological Science) Lancaster University, U.K. วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Environmental Science) University of East Anglia, U.K. ความเชี่ยวชาญ - การวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น การวิเคราะห์สารมลพิษทางน้ำและทางอากาศ รวมถึงสารตกค้างในสิ่งแวดล้อม
82 ธัชคณิน จงจิตวิมล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ชีววิทยาของแมลง, ชีววิทยา , ความหลากหลายทางชีวภาพ
83 ผศ.ดร.ทรงเกียรติ ภาวดี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีโรงเรือน, คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ, เทคโนโลยีการสื่อสาร, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things)
84 ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย​ เพชรช่วย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, การท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์​ ดาราศาสตร์​ ฟิสิกส์ศึกษา
85 ผศ.ภูริณัฐ ปลัดสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์
86 ผศ. ศิวพงศ์ ทองเจือ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, สถาปัตยกรรม, การออกแบบภูมิทัศน์, การวางแผนและออกแบบเมือง / การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน / การออกแบบภูมิสังคมภายใต้แนวคิดศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาบรรพบุรุษ "1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญสถาปนิก เลขที่ ส-สผ. 26 สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับภาคี เลขที่ ภ-สถ. 15729 สาขาสถาปัตยกรรมหลัก (อยู่ระหว่างประกาศผลเป็นระดับสามัญ)"
87 รศ.ดร.ชญานิศ​ ลือวานิช มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีโรงเรือน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สุขภาพผู้สูงอายุ​ การพยาบาลผู้ใหญ่
88 ดร.สุพิศ บุญลาภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารงานส่วนท้องถิ่น, กลยุทธ์การจัดการในองค์กร, รูปแบบการปกครองและการจัดการองค์กรในสภาวะวิกฤติ
89 ผศ.ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา อิเล็กทรอนิกส์, การโปรแกรม, ระบบฝังตัวและควบคุมอัตโนมัติ
90 นางสาวรุ่งฤทัย รำพึงจิต สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
91 นางสวรรยา หาญวงษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการและการตลาด
92 ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์
93 ดร.กาญจนา ทวินันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
94 นายมนตรี ธรรมพัฒนากูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
95 กรรณิการ์ ประทุมโทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศสตร์และสังคมศาสตร์
96 นางสาวศิริภรณ์ บุญประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
97 รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมวิทยา
98 นางสาวนฤภร ปาลวัฒน์วิไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์
99 นางสาวอุ่นอารี ตลาดเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
100 ดร.วิศรา ไชยสาลี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
101 ธีรพัชส ประสานสารกิจ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ smart technology. เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่ ระบบติดตามสิ่งแวดล้อมและควบคุมระบบน้ำอัจฉริยะ smart iot
102 ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
103 ดร.อรรถพล นาขวา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
104 นายปฏิวัติ งามดี วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เทคโนโลยีโรงเรือน
105 ดร.ธนัช มหาสินทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ ปริญญาโท สาขาการสอนภาษาไทย ปริญญาตรี สาขาภาษาไทย สาขาประถมศึกษา ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านการบริหารการศึกษา - การวิจัยด้านการจัดการศึกษา
106 ผศ.ดร.ศุภฤกษ์ ธาราพิทักษ์วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านบริหารธุรกิจ
107 อาจารย์ กฤตยชล ทองธรรมสถิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๒. การตลาด ๓. การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ๔. การพัฒนาผู้ประกอบการ
108 นางสาวเพ็ญพรรณ โกมลมิศร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางการตลาด
109 นายนเรศ ใหญ่วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
110 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
111 อาจารย์สุภาพร ไชยรัตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช บริหารธุรกิจ และการตลาด
112 พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สัตววิทยา, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, กีฏวิทยาทางการแพทย์และสัตวแพทย์ , อนุกรมวิธานของสัตว์, ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด, นิเวศวิทยา, พิษวิทยาของสารฆ่าแมลง, เนื้อเยื่อวิทยา
113 ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
114 ปรีชา นวลนิ่ม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
115 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงกล เพชรสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ การวางแผนการผลิต การจัดตารางการผลิต ด้านการสอน องค์การและการจัดองค์การ
116 อาจารย์กมลทิพย์ เดชะปรากรม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Incubator การให้คำปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรม Business Model Canvas Social Entrepreneur การจัดการวิสาหกิจกขนาดกลางและขนาดย่อม
117 ดร. จิระภา จันทร์บัว มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ Corporate social responsibility
118 อาจารย์ทัศนียา นิลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การย้อมสีผ้าไหม, การทำลายผ้าไหม, การเลี้ยงหม่อนไหม, การออกแบบลวดลายและการตัดเย็บ
119 อาจารย์สำเรียม คุมโสระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขาย การตลาดออนไลน์ การขับเคลื่อนบริบทชุมชนให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
120 อ.รัตนเรขา อัจฉริยะพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านผ้าทอ การออกแบบลายผ้าทอ การย้อมสีผ้าจากวัสดุธรรมชาติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทออีสาน
121 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรินทร คุ้มเขต มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ ชุมชนและศิลปะวัฒนธรรม
122 ดร.สุวลี ชูวาณิชย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - ชุดควบคุมแบบอัตโนมัติ - ฟาร์มอัจฉริยะ
123 อาจารย์วศกร ไตรพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีระบบสมาร์ท ฟาร์มส าหรับการปลูกผัก ปลอดภัย เทคโนโลยี ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับ
124 อาจารย์ประชุม อุทาพรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร
125 อาจารย์สุริยา น้ำแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีระบบสมาร์ทฟาร์มสำหรับการปลูกผักปลอดภัย
126 ผศ.ศรีชนา เจริญเนตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแบบจุภัณฑ์สินค้าในท้องถิ่น ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ออกแบบลวดลายผ้า
127 อาจารย์ศศิวัลย์ พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา มาตรฐานอาหาร, การจัดการ, วิทยากรชุมชน
128 ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พลังงาน
129 อ.อรรถพล ช่วยค้ำชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ อิเล็คทรอนิค
130 ผศ. ลัดดาวัลย์ จำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีทางด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเครื่องจักร การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว
131 อ.ปชาชิต ลิมวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการอาคาร การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
132 อ.เยาวลักษณ์ เกิดปั้น มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร รบบห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
133 อาจารย์สุวิตา แก้วอารีลาภ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟชั่น
134 ดร.วิชาญ เพ็ชรทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านระบบควบคุมโรงเรือนอัจฉริยะ
135 นางสาวจุฑามาศ ทองสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านการจัดทำมาตรฐาน อย. การจัดทำระบบ GMP&HACCP และการออกแบบกระบวนการผลิตและออกแบบแผนผังการผลิต
136 อ. พงช์ศนัญ ชาญชัยชิณวรฒ์ คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศ มหาวิทยาลัยบูรพา ระบบ Smart Farm
137 ผศ.ดร. นรินทร์ เจริญพันธ์ และทีมคณาจารย์ คณะเทคโนโ มหาวิทยาลัยบูรพา โรงเรือนอัจฉริยะ
138 ผศ.ดร. นรินทร์ เจริญพันธ์ และทีมคณาจารย์ คณะเทคโนโ มหาวิทยาลัยบูรพา โรงเรือนอัจฉริยะ
139 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักเรศ เมตตะธำรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร กลยุทธ์ทางการตลาด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน การวางแผนการคตลาด การตลาด
140 สีตลา วงศ์กาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของผู้ประกอบการ/วิเคราะห์ SWOT/การวางแผนเขียนแผนธุรกิจ/การจัดเก็บและการรวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลประกอบการออกแบบตราสินค้า/ออกแบบบรรจุภัณฑ์/การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย และการปนะนำการขายออนไลน์
141 อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
142 นางสาวนุจนาถ นรินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นวัตวิถีของดีกำแพงแสน และเส้นทางท่องเที่ยวของอภเภอกำแพงแสน
143 ผศ.ดร.เกษตร นครเขตต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รูปแบบเมืองผู้สูงอายุต้นแบบ ถือเป็นองค์ความรู้ใหม่รองรับสังคมผู้สูงอายุ
144 ดร.จักรกฤช ณ นคร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น/นิติศาสตร์
145 ผศ.วินิทร สอนพรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การออกแบบและทำแบบตัดเสื้อผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้า
146 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
147 ผศ.ดร.วัฒนณรงค์ มากพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 1. พลังงานทดแทนจากกระบวน Fermentation 2. การจัดการขยะ 3. การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน 4. เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม
148 อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ การปลูกพืชในระบบโรงเรือนแบบสมาร์ทฟาร์ม
149 นายศตายุ ร่มเย็น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - Transportation and Logistic System - Business Administration - Customer Service Standards - Incentive specialist
150 สุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
151 อ.ดร. สราวุฒิ แนบเนียร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนานักศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ
152 นายณัฐกิตติ์ มาฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำเสนอให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆร่วมกัน
153 นายสุทธิ มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด"
154 รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
155 อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบ
156 รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ
157 นายสมบัติย์ มงคลชัยชนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านงานเครื่อง งานด้านระบบอัตโนมัติ
158 ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
159 นางสาวพัชญทัฬห์ กิณเรศ มหาวิทยาลัยนครพนม ไม้กวาดจากขวดลพาสติก ที่มาจากขวดพลาสติกเหลือใช้ของชุมชน
160 ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
161 ดร.ธีรพรรณ อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการ บริหารธุรกิจ การเงิน
162 ผศ.มลิจันทร์ ทองคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตลาด การบัญชี การจัดการ
163 นายสถิติพงษ์ เอื้ออารีมิตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Multimedia, Photography, Content Marketing, Knowledge Management
164 นางศิริรัตน์ ดีศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ
165 อ.บุษบา ธระเสนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหาร
166 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิภาวรรณ์ จิตโสภากุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในไนโตรเจนเหลว การปรับปรุงพันธุ์ และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้
167 นายฐิติกร วงศ์เลื่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านออกแบบกระเป๋า หมวก เสื้อผ้า รวมถึงการแปรรูปจากวัตถุดิบธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น มาเป็นผลิตภัณฑ์ ของใช้ของตกแต่าง เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น
168 ผศ.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้เทคนิคทางทางชีววิทยาโมเลกุลในการพัฒนาชุดตรวจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร พัฒนาสารถนอมอาหารทางชีวภาพ
169 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
170 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบ ลวดลายผ้า การมัดย้อมสิ่งทอ
171 ผศ.ณัฏฐาพงศ์ อภิโชติเดชาสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญ : การพัฒนาชุมชน
172 นางอัญชาภัทร์ โพชนุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การส่งเสริมการเกษตร (ศูนย์การเรียนรู้)
173 อาจารย์ ดร. ศุภรัตน์ วัลกานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การจัดการ
174 อาจารย์ ดร. โชติกา ฉิมงามเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาด,บริหารจัดการ,บริหารธุรกิจ,การจัดการบัญชี,ระบบการจัดการ
175 อาจารย์ รังสรรค์ นามวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
176 อาจารย์ ธีรนุช สุมขุนทด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ บริหารทรัพยากรมนุษย์
177 ผศ.ดร.เบญจวรรณ ศฤงคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี บริหารธุรกิจ การจัดการ การพัฒนาธุรกิจวิสาหกิจชุมชนด้านการบริหาร
178 ผศ.ดร.อรจิรา ธรรมไชยางกูร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว และการประเมินผลความสำเร็จการดำเนินงาน
179 นางพจมาน วงษ์วิบูลย์สิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินงานจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ทำหน้าที่ได้ประสานงานติดต่อกับผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินจัดกิจกรรม จัดโครงการต่างๆ รวมถึงได้ลงพื้นสำรวจความต้องการของชุมชน และหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคณะทำงานมีการจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา โครงการต่างๆ ที่คณะได้จัดขึ้นจะยึดตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าของชุมชน เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วย
180 ผศ.ดร.คมกฤษณ์ ชูเรือง มหาวิทยาลัยนครพนม ระบบเกษตรอัจฉริยะ เช่น โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ โรงเรือนปลูกผัก และระบบน้ำใต้ดิน
181 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม
182 นางสาวศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดดิจิทัล การตลาดออนไลน์ การจัดการการค้าปลีกและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การบริหารธุรกิจการตลาด
183 ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การเตรียมสิ่งทอ - กระบวนการทําความสะอาด การฟอก การย้อมสีธรรมชาติ การพิมพ์ การตกแต่งสําเร็จเส้นใย/เส้นด้าย/ผืนผ้า แยกประเภทโครงสร้างผ้า ผ้าทอ ผ้าถัก ออกแบบลวดลายผ้าทอ - ลายขัด ลายสอง ฯลฯ ทดสอบคุณสมบัติของผ้า/เส้นใย เช่น ทดสอบความคงทนของผ้า และคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี และที่เกี่ยวข้อง
184 นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
185 ผศ. นเรศ ขวัญทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออกแบบ Web Application - การออกแบบระบบฐานข้อมูล - การออกแบบและวิเคราะห์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การออกแบบ Application ด้วยภาษา C , VB
186 ผศ.ดร.สมบูรณ์ คำเตจา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ความหลากหลายทางชีวภาพด้านสัตว์ โดยเฉพาะกลุ่มนกในเขตภาคเหนือ การถ่ายภาพสิ่งมีชีวิตด้านวิทยาศาสตร์ การสำรวจทรัพยากรชีวภาพ
187 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
188 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตวิชญ์ สุขอึ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่
189 คุณรัตนา นวลทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย./สถานที่ผลิต
190 ผศ.ซินเนีย รัติภัทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การจัดการธุรกิจ การจัดการความรู้ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ แผนธุรกิจ
191 ดร.จิตรา ปั้นรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การเขียนแผนธุรกิจ - การวิเคราะห์ต้นทุน - การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการตลาด
192 ผศ.ดร.สุรินทร์ พิทักษ์สิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการแผนธุรกิจ OTOP SME
193 ปิยรัตน์ วงศ์จุมมะลิ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การค้นหาทุนชุมชน ปราชญ์ และการจัดตั้งกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
194 ผศ.ดร.ธนกร สิริสุคันธา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การบริหารและการจัดการชุมชน การมีส่วนร่วม
195 อาจารย์อนุกิจ​ เสาร์แก้ว​ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง iot Smart city, iot​ ควบคุม​ทางการเกษตร​,iot​ งานอุตสาหกรรม​, iot ​environment monitoring, Mobile Application Devloper
196 นายสมศักดิ์ ก๋าทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การจัดการชุมชนและภูมิปัญญา
197 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา ไมโครคอนโทรลเลอร ์ และระบบสมองกลฝังตัว, ระบบอัตโนมัติและ ระบบสมารท์, วัสดุเชิงฟิสิกส์
198 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา ไมโครคอนโทรลเลอร์และระบบสมองกลฝังตัว, ระบบอัตโนมัติและระบบสมารท์, วัสดุเชิงฟิสิกส์
199 อาจารย์เอกรินทร์ วาโย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา Smart farm
200 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Road Safety Engineering วิศวกรรมโยธา
201 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิดา จุมปา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน การพัฒนากลุ่ม
202 นางสาวกฤติณา นิวรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน
203 นางสาวพัชรินทร์ อินทมาส มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช วิศกรรมไฟฟ้า
204 ผศ.ปฐมาภรณ์ ทิลารักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การแปรรูป การทำสบู่ จากเห็ดถังเช่า
205 ดร. จินดารัตน์ โตกมลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง การพัฒนาอาหารท้องถิ่น และพืชผักพื้นบ้าน
206 อ.จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ การพํฒนาอาหารพื้นบ้านชาติพัธุ์ วัฒนธรรมไทยทรงดำ
207 อ.พชร วรรณภิวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน
208 ดร.รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักการวัดผล ประเมินผล การวิจัย และสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
209 ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเงินและธนาคารอิสลาม
210 ผศ.ดร.ดุษฎี นาคเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวางแผนกลยุทธ์องค์กร การวางแผนและกำหนดทิศทางการพัฒนางานวิจัยขององค์กร
211 นางนินุสรา มินทราศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเกษตรและการพัฒนาชนบท การบริหารและการพัฒนาองค์กร
212 ดร.รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักการวัดผล ประเมินผล การวิจัย และสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
213 รองศาสตราจารย์นันทรัตน์ นามบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา แนวคิด เพื่อการพัฒนา การบริหารจัดการการท่องเที่ยว
214 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
215 นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วิทยาลัยชุมชนพังงา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน / คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ /การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
216 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบลายขิด
217 นายกวินท์ คำปาละ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การออกแบบและการผลิตผ้าขิดสลับหมี่
218 นางปราณี สถิตบรรจง วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ด้านการตลาดและการคํานวนต้นทุน กําไร ในการผลิต และออกแบบลายผ้า
219 นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ
220 นายอัครชัย บุญประเสริฐ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การทำบัญชีครัวเรือน
221 นางสาวสุกัญญา คำหล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ทรัพยากรการประมง
222 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ เหลาลาภะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการความรู้และการพัฒนาแนวทางส่งเสริม การจัดการความรู้ของเกษตรกร
223 อ.ดร.โกวิทย์ น้อยโคตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง การตรวจสอบชนิดของพืชและสัตว์ด้วยดีเอ็นเอ
224 ผศ.ดร.นิสราภรณ์ เพ็ชร์สุทธิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิเวศทางน้ำและการประมง สาหร่ายและแพลงก์ตอนวิทยา
225 ผศ.ดร.วสันต์ เพิงสูงเนิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง อนุกรมวิธานไลเคน, ราสาเหตุโรคพืช
226 ดร.วรีวรรณ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบัญชี - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
227 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แววดาว พรมเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - งานวิจัยเชิงปริมาณ - ผู้ช่วยจัดกระบวนกร (Facilitator) - การบัญชี
228 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การบัญชี - การเงินธุรกิจ - การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ - การประเมินโครงการลงทุน
229 นายวินัฐ จิตรเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา รวบรวม เก็บรักษา ทรัพยากรชีวภาพ จุลินทรีย์ พืช และสัตว์ พร้อมทั้งจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
230 นางสาวนภท์ชนก ขวัญสง่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
231 นายนวัตกร อุมาศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
232 นางสาวณัฐชนา นวลยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออแบบเครื่องแต่งกายและลายผ้า - การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
233 ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
234 นายสมบัติย์ มงคลชัยชนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านงานเครื่อง งานด้านระบบอัตโนมัติ
235 ดร.ปวีรัฐ ภักดีณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านแนวทางการจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพ การลำดับความสำคัญ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
236 ผศ.ดร.บงกช สุขอนันต์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี หุ่นยนต์ออกแบบเพื่อเคลื่อนที่ในโรงเรือน
237 รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ 4.วัสดุเก็บความร้อน
238 จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม งานประดิษฐ์, ด้านศิลปะและวัฒนธรรม, การผสมเครื่องดื่ม
239 รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ 2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช 3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค
240 ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.ชีวเคมี 2.โปรติโอมิกส์ 3.การเพาะเลี้ยงเซลล์ 4.กลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์
241 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ 4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์
242 ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ 2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง 3.สีย้อมอินทรีย์
243 นางสาวสมใจ แซ่ภู่ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ
244 นางสาวฉันทนา ธนาพิธานนท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การแปรรูปผลิตภัณฑ์​จากผ้า
245 นางสาวไอรดา สุดสังข์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
246 นางสุดากาญจน์ แยบดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผ้าและการออกแบบตัดเย็บ ของที่ระลึก แปรรูปจากผ้าพื้นเมือง
247 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
248 นายพันธ์ชิด ธรรมพิชัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
249 อาขารย์ชญานิน วังตาล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
250 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์
251 นางสาวธันยกานต์ คูณสิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง การเลี้ยงปลา
252 อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา
253 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยวุฒิ วัดจัง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เทคโนโลยีการยาง, การสังเคราะห์และทดสอบพอลิเมอร์
254 วิไลวรรณ สิมเชื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ด้านผ้า การออกแบบและการตัดเย็บ 2.การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง 3.เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ
255 อาจารย์นนท์ ปิ่นเงิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชุดเซนเซอร์ตรวจวัดสภาพอากาศในโรงเรือนโคนม
256 ผศ.ดร.ฤทธิชัย อัศวราชันย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โรงเรือนและเครื่องฟักไข่ระบบอัจฉริยะพลังงานสะอาด
257 ดร.มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการชุมชน การบริหารการตลาด ต่อยอดสินค้าชุมชน
258 ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
259 ผศ.ดร.อนุสรณ์ แสงประจักษ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ประยุกต์ พลังงานทดแทน พลังงานโซล่าเซลล์
260 ผศ.ไพรัตน์ ธรรมแสง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ประยุกต์ พลังงานทดแทน พลังงานโซล่าเซลล์
261 อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น
262 ดร.ฤทธิไกร ไชยงาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ประยุกต์ พลังงานทดแทน เตาเผาถ่านอัจฉริยะ ถ่านอัดแท่ง
263 ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ พลังงานทดแทน ผ้าไหมเคลือบพลาสม่าป้องกันแบคทีเรีย
264 ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
265 ดร.สุรเชต น้อยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบหลักสูตรเพื่อการจัดการชุมชนที่ดี และการใช้เทคโนโลยีในการจัดการ
266 ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช
267 นางพนิดา เหล่าทองสาร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์
268 ดร.ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน
269 ผศ.ดร.อุทุมพร หลอดโค มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมชุมชน การจัดการทุนวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
270 ดร. รุ่งนภา ทากัน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ Aquatic Insect/ Entomology, Ecotoxicology and Environmental Toxicology, Aquatic Pollution, Biodiversity, Biotechnique,
271 ดร. ศรัณย์ จีนะเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ Genetics, DNA Markers, Population Genetics, Conservation Genetics, Molecular Evolution
272 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ปินะเต มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม พลังงานทดแทน การส่งเสริมพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ โรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
273 อาจารย์อังศุมา ก้านจักร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ,คุณภาพน้ำ,การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในท้องถิ่น,กระบวนการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน
274 ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเงินและธนาคารอิสลาม
275 นางนินุสรา มินทราศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเกษตรและการพัฒนาชนบท การบริหารและการพัฒนาองค์กร
276 ดร.ยุทธนา กาเด็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การบริหารและการพัฒนาองค์กร
277 ผศ.ดร.ณัฎ​ฐ​กานต์​ ​พฤกษ์& มหาวิทยาลัยบูรพา การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ, การท่องเที่ยวยั่งยืน, การท่องเที่ยวเกษตร
278 ธินิกานต์ สังข์สุวรรณ มหาวิทยาลัยบูรพา การท่องเที่ยวและบริการ
279 รองศาสตราจารย์ ดร.เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล มหาวิทยาลัยบูรพา คุณภาพน้ำ, สิ่งแวดล้อมทางน้ำ, นิเวศวิทยาของป่าชายเลน, การประเมินผลก ระทบสิ่งแวดล้อม
280 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ
281 นางนิตยา เอกบาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การส่งเสริมงานด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดการขยะชุมชน
282 นายสุริยา อดิเรก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ระบบ ควบคุมโรงเรือนด้วย
283 ผศ.เพ็ญนภา มณีอุด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ผ้ามัดย้อมรายธรรมชาติ เลือกใช้สีออกแบบลาย
284 นางสาวชุดาภรณ์ ทองจุน วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเศรษศาสตร์และการจัดการ บริหารธุรกิจ
285 นางสาวอรุณวรรณ มุขแก้ว วิทยาลัยชุมชนพังงา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการชุมชน การท่องเที่ยว
286 อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
287 อาจารย์ กุลสตรี ปริญญา มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ
288 ดร.วาสนา ศรีนวลใย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การพัฒนาชุมชน การสื่อสารชุมชน
289 นายนิกร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน
290 นายสมพร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน การบันทึกข้อมูลผลิตภัณพ์ อ.ย. ขลู่ สครับจากเปลือกหอย
291 อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
292 ผศ.ดร.อาทิตยา มีหนองว้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เคมีประยุกต์ เคมีชีวภาพ
293 นางสาวปวีณา จารุศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร - รัฐประศาสนศาสตร์ - เศรษฐกิจพอเพียง - การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน - การบริหารจัดการชุมชน
294 รศ.ดร.กันทิมา สุวรรณพงศ์ มหาวิทยาลัยบูรพา ววิทยา สัตววิทยา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
295 นางสาวกิติยา หย่างถาวร มหาวิทยาลัยบูรพา การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสมุนไพร (in vitro) เช่น anti-oxidant, anti-diabetic, anti-hypertensive, cytotoxicity
296 ดร.จันทร์จรัส วัฒนโชติ มหาวิทยาลัยบูรพา เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล
297 ผศ.ดร.กุลยา สารชีวิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารจัดการโครงการ วางแผนและควบคุมดูแลโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย งานทางด้านสิ่งแวดล้อม วิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรม
298 อาจารย์มีนา ระเด่นอาหมัด มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ในงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์หัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
299 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC - นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine)
300 อาจารย์กัญญ์ณพัชญ์ พลเยี่ยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม, การออกแบบผังการผลิต
301 ผศ.ปกกสิณ ชาทิพฮด มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ความเชี่ยวชาญ : ภาษาและวรรณกรรมไทย, คติชนวิทยา, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, วัฒนธรรมศึกษา, การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรม, เทคโนโลยีสิ่งทอ, การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและภูมิปัญญา
302 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินีเพ้ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
303 อาจารย์ ดร. กัลยรัตน์ พินิจจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การจัดการ การค้า การตลาด
304 พาตีเมาะ อาแยกาจิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การสำรวจ ศึกษา วิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
305 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการน้ำ
306 อาจารย์ปิยพันธุ์ แสงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
307 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการเครือข่ายชุมชน
308 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน
309 นางณัฐกานต์ โลหิตะ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ระบบเกษตรอัจฉริยะ
310 ซูไบดี โตะโมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
311 นายมูฮัมหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
312 อภิชาติ สุวรรณชื่น มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
313 อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
314 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
315 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
316 ผศ.ปริญญา ไกรวุฒินันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การประเมินคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้ (T-VER ป่าไม้)
317 อาจารย์รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการความรู้ และการวิเคราะห์ผลกระทบ