1 |
ดร.ยามีละ ดอแม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย การบริการวิชาการ |
2 |
ดร.บุณณดา ภมรปฐมกุล |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ระบบนำส่งสมุนไพร/ยา |
3 |
ดร.สิริภัทร ชมัฒพงษ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การแปรรูปสมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ |
4 |
นางสาวกัญญ์ธศยา อัครศิริฐรัตนา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การใช้ประโยชน์จากพืช สมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ |
5 |
ดร.ไฉน น้อยแสง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การบริการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ |
6 |
นางสาวทิศากร ดำรงพุฒิเดชา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและความงาม |
7 |
นางสาวเขมจิรา จามกม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร วิชาชีพแพทย์แผนไทย/วิทยาการด้านเภสัชภัณฑ์ |
8 |
นางสาวสุรัติวดี ทั่งมั่งมี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และสมุนไพร |
9 |
ดร.ณัฐนรี ศิริวัน |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
Cancer immunotherapy, Gene therapy, Chemical engineering
ภูมิคุ้มกันโรคมะเร็ง, ยีนบำบัด, วิศวกรรมเคมี |
10 |
ผศ.ดร.กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
Natural Product development for pharmaceuticals, cosmetics and food supplements/ Thai Traditional Medicine/ Biochemistry and Biotechnology in Pharmaceuticals/ Cell culture/ Nanotechnology for drug and gene delivery systems/ Organic and Analytical Chemistry
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติสำหรับเภสัชภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารเสริม / การแพทย์แผนไทย / ชีวเคมีและเทคโนโลยีชีวภาพด้านเวชภัณฑ์ / การเพาะเลี้ยงเซลล์ / นาโนเทคโนโลยีสำหรับระบบส่งยาและยีน / เคมีอินทรีย์และการวิเคราะห์ |
11 |
ประนัดฎา พิมสี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ |
-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพและความงาม
-อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี
ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากถั่วดาวอินคา ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากสมุนไพรในท้องถิ่น
สาขาสิ่งแวดล้อม-การวิเคราะห์สารประกอบ PAHs ในน้ำ |
12 |
วัลยา สุทธิขำ |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
เครื่องสำอางจากโปรตีนไหม |
13 |
ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ |
กรมวิทยาศาสตร์บริการ |
เภสัชกรรม |
14 |
ผศ.ดร.กฤษดา พงษ์การัณยภาส |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ระบบเกษตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ท้องถิ่นเพื่อการเกษตร สมุนไพรพื้นบ้าน |
15 |
อาจารย์ ดร.ฉวีวรรณ คล่องศิริเวช |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
พฤกษเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ |
16 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพัฒน์ นาวารัตน์ |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
กายภาพบำบัดทางระบบประสาท การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างและพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุ
|
17 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
การวินิจฉัยโรคติดเชื้อด้วยเทคนิคทางห้องปฏิบัติการ ด้านระบบภูมิคุ้มกันในมนุษย์ |
18 |
อาจารย์ ดร.อโนมา สันติวรกุล |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
กายภาพบำบัดระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต การออกกำลังกาย กิจกรรมทางกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
19 |
อาจารย์ ดร.ชฎายุ อุดม |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
กายวิภาคศาสตร์และกายภาพบำบัด |
20 |
อาจารย์ ดร. จารุภา เลขทิพย์ |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
กายภาพบำบัดชุมชน กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุ |
21 |
รศ.ดร.ธนิดา ผาติเสนะ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การทำและการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอบตัว พัฒนากระโจมอบตัวสมุนไพรอบตัว การทำผลิตภัณฑ์ดระโจมอบตัวสมุนไพรให้ได้มาตรฐานตามมารตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน |
22 |
นางสาวอัญชนา ขัตติยะวงศ์ |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสกัดสารจากธรรมชาติ และสารต้านอนุมูลอิสระ
การทำผลิตภัณฑ์จากสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ครีม โลชั่น เซรั่ม เป็นต้น
การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือนจากสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น น้ำยาล้างจานสมุนไพร ยาหม่องสมุนไพร สเปรย์ไล่ยุง ยาดมสมุนไพร เป็นต้น
การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับร่างกาย เช่น สบู่ แชมพู คอนดิชั่นเนอร์ เป็นต้น |
23 |
ผศ.อุดมเดชา พลเยี่ยม |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีในครัวเรือน สารทำความสะอาด แชมพู ยาสระผม สบู่ล้างมือ น้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม ยาหม่อง น้ำยาล้างรถ พิมเสนน้ำ สบู่เหลวล้างมือ และการผลิตกระดาษ |
24 |
นางธนาพร บุญชู |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนโดยการเติมสารที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้สารเคมี |
25 |
ผศ.ดร.วราจิต พยอม |
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
|
26 |
ดร.ปรีชา ทุมมุ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย
2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ
3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
|
27 |
รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญการหลายๆด้าน ทั้ง ด้านเกษตร อาหาร สารสำคัญในพืช น้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากพืช นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีผลงานวิจัยและบทความในวารสารนานาชาติ ไม่ต่ำกว่า 25 เรื่อง และวารสารในประเทศอีกจำนวนมาก |
28 |
ดร.วัลลีย์ อาศัย |
วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก |
การแปรรูปสมุนไพร |
29 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรุณรัตน์ ปัญจะกลิ่นเกษร |
มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด |
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร |
30 |
ดร.คมสัน นันทสุนทร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
สารสกัดสมุนไพรทุกชนิด เพื่อนำมาใช้ใให้เกิดประโยขน์ต่อร่างกายมากที่สุด |
31 |
นางลักขณา ศิรประภาพูน |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ |
ด้านสุขภาพ, ความงาม, ด้านเคมี |
32 |
ดร.กรกันยา ประทุมยศ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
- Expertise on solid-phase peptide synthesis (SPPS), cell culture and siRNA transfection assay
- Extensive experience in determining the encapsulation and the organization of molecules in molecular level. |
33 |
นางสาวเจิมขวัญ ศรีสวัสดิ์ |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1. เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (สิ่งทอ)
3.การย้อมสีธรรมชาติ (สิ่งทอ)
4.การเลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่(สิ่งทอ) |
34 |
นางจีราภรณ์ สังข์ผุด |
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและเครื่องสำอาง |
35 |
นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์ |
36 |
นางสาวสุวรรณา จันคนา |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี |
37 |
นางสุภาพร ชื่นชูจิตร |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
ตรวจสุขภาพ การนวดแผนไทย และการจัดการเกี่ยวกับสุขภาพ |
38 |
อาจารย์นิดา นุ้ยเด็น |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
ด้านแพทย์แผนไทย |
39 |
นายไชยวัฒน์ ไชยสุต |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
เทคโนโลยีเภสัชกรรม,เภสัชวิเคราะห์,โภชนาเภสัชภัณฑ์,เวชสำอาง
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร,น้ำหมักชีวภาพเพื่อการบริโภค
โพรไบโอติก พรีไบโอติก |
40 |
นายณัฐอมร จวงเจิม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
การพัฒนาพืชสมุนไพร ด้านสุขภาพ และความงาม |
41 |
ดร.อนิรุทธิ์ รักสุจริต |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาเอก
วท.ด. วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
-วัสดุนาโน
-ชีววัสดุ
-เซรามิก
-วัสดุผสมนาโน
|
42 |
ดร.สิริลักษณ์ สินธุพาชี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช |
การศึกษาการสกัด สารสกัด วัฏจักร และการวิเคราะห์ สมุนไพร |
43 |
ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ |
44 |
อ.ดร.วิภานุช ใบศล |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ |
45 |
ผศ.ดร.วีรนุช คฤหานนท์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ |
46 |
อ.ฉัตรสุดา มาทา |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ |
47 |
อ.ชิสาพัชร์ ชูทอง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ |
48 |
ดร.นพ.เกษม ใช้คล่องกิจ |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
การออกกำลังกาย ศัลยกรรมกระดูกและข้อ
|
49 |
ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น |
Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles |
50 |
นางสาวนิสารัตน์ ไปตามหา |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
การนำสมุนไพรท้องถิ่นไล่ยุงแทนการใช้สารเคมี |
51 |
ผศ.ดร.ณิชารีย์ ใจคำวัง |
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ |
การประเมินผลโครงการ การพยาบาลและสาธารณสุข การวิจัยเชิงคุณภาพ |
52 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี |
การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม |
53 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี |
การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม |
54 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี ศรีราช |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
การสกัดน้ำมันหอมระเหย รวมไปถึงการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร |
55 |
นางอุไรวรรณ ไกรนรา มูรานิชิ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, โรคติดเชื้อ, ปรสิตวิทยาทางการแพทย์, เทคนิคการแพทย์ ด้านปรสิตทางการแพทย์, โรคติดเชื้อ, ปฏิบัติการชันสูตรทางการแพทย์
|
56 |
ดร.นิศากร ตันติวิบูลชัย |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สรีรวิทยา และการประเมินสมรรถภาพ
|
57 |
ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
|
58 |
ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
|
59 |
รศ.ดร.ชญานิศ ลือวานิช |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
เทคโนโลยีโรงเรือน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สุขภาพผู้สูงอายุ การพยาบาลผู้ใหญ่
|
60 |
ดร.สมพงศ์ บุญศรี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร
|
61 |
ดร.สุธิดา รัตนบุรี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ "- สกัดสารจากพืชเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
- การศึกษาพฤกษเคมีในพืช
- การหาสารออกฤทธิ์จากพืช"
|
62 |
ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย)
- จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ
- การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
|
63 |
นางสาวอารยา ข้อค้า |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เภสัชวิทยา และการพยาบาล
|
64 |
ดร.อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product Chemistry)
|
65 |
ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา |
66 |
ดร. ณัติฐพล ไข่แสงศรี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
บรรจุภัณฑ์อาหารที่ย่อยสลายได้จากพอลิเมอร์ สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน |
67 |
นางสาวรสริน ทักษิณ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทั้งสาขาการนวดเพื่อการบำบัด การดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพแบบตะวันตก การแพทย์ทางเลือกต่าง รวมถึงการทำผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงการเป็นที่ปรึกษาการเปิดคลินิก ร้านนวด ร้านสปา เเละสามารถเรียนรู้การจัดตั้งสถานพยาบาลเพื่อสุขภาพในศาสตร์ของการแพทย์แผนไทย |
68 |
ผศ. นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ความรู้ทางด้านเวชกรรมแผนไทย ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ด้านหัตถเวชกรรมแผนไทย ทางด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic anatomy หรือ Histology) และด้านผดุงครรภ์แผนไทย เช่น การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักาทางการแพทย์แผนไทย เช่นเครื่องช่วยนวดกล้ามเนื้อ อุปกรณ์วิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสมุนไพร การทดสอบผลิตภัณฑ์ |
69 |
นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การดำเนินธุรกิจคลินิกการแพทย์แผนไทย
การปลูกพืชสมุนไพรเพื่อการใช้เป็นยา
ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางการแพทย์แผนไทย
การนำสมุนไพรมาพัฒนา |
70 |
ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย |
71 |
นางสาวสังเวย เสวกวิหารี |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สบู่ และสารทำความสะอาดในครัวเรือน การสกัดกลิ่นจากดอกไม้และสมุนไพรด้วยกระบวนการไฮโดรซอล |
72 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมศักดิ์ พินธะ |
มหาวิทยาลัยพะเยา |
- Cell biology ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารเคมีจากพืช (phytochemicals)
- งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและการรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันและไขมันในเลือด
- การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพร |
73 |
รองศาสตราจารย์ ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ |
1.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง
2.อะโรมาเธอราพี
3.อาหารสุขภาพ |
74 |
ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ |
75 |
อาจารย์ลัดดาวัลย์ ชูทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยและการบริหารธุรกิจ |
76 |
ผศ.ดร.กมลมาลย์ วิรัตน์เศรษฐสิน |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การสร้างเสริมสุขภาพ ดุลยภาพชีวิต |
77 |
อาจารย์ มาโนช รัตนคุณ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ |
๑. การวิเคราะห์สารอินทรีย์
๒. การสกัดสารสำคัญในพืชและสมุนไพร |
78 |
ผศ.ดร.อวยพร วงศ์กูล |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
การใช้สารเคลือบเส้นใย การป้องกันเชื้อราในเส้นใย การใช้สาร
ฟอกสีเส้นใย โดยมุ่งเน้นกรรมวิธีที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ครื่องสําอางค์และกระบวนใช้สมุนไพรในการผลิตเครื่องสําอางค์
การให้คําปรึกษาด้าน ส่วนผสม ขั้นตอนการผลิต การยืดอายุ
และการเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม |
79 |
ดร.เพียงออ ยี่สา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต
การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร
ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
|
80 |
อาจารย์เกวลี ชัยชาญ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
การทดสอบฤทธิทางกายภาพและชีวภาพของสมุนไพร การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพร การแยก กระบวนการผลิตเครื่อง
สําอางค์ผสมสมุนไพร การผลิตสบู่แบบ cold process
สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร |
81 |
นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร |
82 |
นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพร |
83 |
ณัชชลิดา ยุคะลัง |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การจัดการสมุนไพร การจัดการสาธารณสุข |
84 |
ผศ.ดร. ภาวิณี อารีศรีสม |
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
การแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารจากสมุนไพร สมุนไพรวิเคราะห์พืชน้ำมันหอมระเหย |
85 |
รศ.ดร.สภุกร บุญยืน |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
ผลิตภัณพ์จากไผ่ เคมีใบไผ่ สารสกัดไผ่ |
86 |
ผศ ดร คันธมาทน์ กาญจนภูมิ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
สุขภาพ การแพทย์แผนไทย |
87 |
อาจารย์วัชราภรณ์ พัทคัน |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
การแพทย์แผนไทย |
88 |
อาจารย์ธนพร อิสระทะ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
สุขภาพ การแพทย์แผนไทย |
89 |
อาจารย์เยาวลักษณ์ เตี้ยนวน |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
การแพทย์แผนไทย |
90 |
อาจารย์ ดร.สลิลา เศรษฐไกรกุล |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
กายภาพบำบัด |
91 |
รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
เวชศาสตร์เขตร้อน พยาธิวิทยาและพยาธิกำเนิดของมาลาเรีย |
92 |
ภก.ผศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ คณะเภสัชศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร |
93 |
รองศาสตราจารย์ ดร.อุไร จเรประพาฬ |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
การจัดการระบบสุขภาพชุมชน สารสนเทศทางสุขภาพ สารสนเทศทางการพยาบาล การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การดูแลมารดาก่อนและหลังคลอดในชุมชน |
94 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กำไล สมรักษ์ |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
สุขภาพชุมชน |
95 |
นายณัฐอมร จวงเจิม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม |
96 |
นางสาวดุษฎี ศรีธาตุ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
การแพทย์แผนไทย และสิ่งทอ |
97 |
รศ.ดร.อัจฉราภรณ์ ดวงใจ |
มหาวิทยาลัยพะเยา |
การสกัดสมุนไพร การตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและทางชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพ ระบบทางเดินอาหาร เบาหวาน ลดไขมัน |
98 |
นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม |
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ |
1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ
2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology) |
99 |
ดร.สุรสวดี สมนึก |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
เครื่องดื่มเพื่อนำไปพัฒนาที่ส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ออกกำลังการและผู้เล่นกีฬา |
100 |
ดร.ปิยนารถ ศรชัย |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ |
101 |
รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
การแพทย์แผนไทย สมุนไพร ยาสมุนไพร |
102 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิษา สุวรรณเจริญ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี |
การวิจัยสรรพคุณของกระชาย เพื่อการรักษาโรค |
103 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน |
104 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี |
เทคโนโลยีกระบวนการผลิตสมุนไพร ประเภทแคปซูล |
105 |
นางสาวพชรพร ขำหรุ่น |
วิทยาลัยเทคนิคนครนายก |
การโรงแรม |
106 |
นางพัชรา ศรีคำ |
วิทยาลัยเทคนิคนครนายก |
การโรงแรม การแปรรูป |
107 |
ภก.ธงธรรม สุขสวัสดิ์ |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด |
108 |
รศ.ดร. สุพร จารุมณี |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ตำรับยา เครื่องสำอาง การรักษาด้วยสมุนไพร การสมานเเผล การพัฒนาเเคปซูลชนิดรับประทาน ยาภายนอก |
109 |
รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ |
110 |
รศ.ดร.ภญ วรรธิดา ชัยญาณะ |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง การสกัดสารสำคัญเพื่อใช้ในเครื่องสำอาง สารต้านอนุมูลอิสระในการดูเเลผิว |
111 |
นางสาวกานต์สุภัค นพรัตน์ |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและขอการรับรอง |
112 |
อาจารย์ณกันต์วลัย วิศิฎศรี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดสมุนไพรในระดับเซลล์และโมเลกุล การค้นหากลไกการทำงานของยา และสารสกัดสมุนไพร |
113 |
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกอุมา อิ้มคำ |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน |
114 |
ผศ.ดร. จุไรรัตน์ กีบาง |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลกลุ่มเด็กปฐมวัย |
115 |
รศ.ดร.พานทิพย์ แสงประเสริฐ |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
การพยาบาลสุขภาพชุมชน |
116 |
ผศ.ดร. พนิดา ศิริอำพันธ์กุล |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
|
117 |
ดร.ฉัฐสิณี หาญกิตติชัย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ |
พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าแปรรูปทางการเกษตร, การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
|
118 |
นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การทำลูกประคบเพื่อสุขภาพ การนวดคอ บ่า ไหล่เพื่อความผ่อนคลาย |
119 |
นายวินัฐ จิตรเกาะ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ |
120 |
นางสาวรจนา พิทักษ์ธันยพร |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ |
121 |
ดร.อัญชลี จันทาโภ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ด้านสุขภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพยาบาลมารดา ทารก และการจัดการเครือข่ายสุขภาพ |
122 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
- ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง
-สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล
-ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย
-อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น
-วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย
-การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ
-การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย
-สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน
- เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว |
123 |
อาจารย์นิธิพันธ์ บุญเพิ่ม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ด้านหัตถเวช ด้านการนวดต่างๆ นวดเพื่อการรักษาอาการต่างๆเป็นต้น |
124 |
พทป.สรัญญา ชะงัดรัมย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
แปรรูปสมุนไพร ดูแลให้คำปรึกษาที่คลินิกกัญชา |
125 |
นายพงษ์สิทธิ์ พิริ |
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี |
การจัดโปรแกรมทัวร์ การเป็นวิทยากร มัคคุเทศน์ |
126 |
อ.กัลยาภรณ์ จันตรี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี |
ผู้เชี่ยวชาญด้านเคมีและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง |
127 |
นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การทำแชมพูสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การสกัดน้ำมันสมุนไพร |
128 |
ราตรี พระนคร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
สมุนไพร |
129 |
นายอภิเดช บุญเจือ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา |
การทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร
ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผัก
ผลไม้รวมถึงสมุนไพร
|
130 |
นายณัฐอมร จวงเจิม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม |
131 |
นายณัฐอมร จวงเจิม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม |
132 |
ผศ.ดร.ณีรนุช ควรเชิดชู |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
บูรณาการเส้นใยนาโนและสมุนไพรเพื่อใช้รักษาบาดแผล และความงามของผิวพรรณ |
133 |
ผศ.ดร.วชิราภรณ์ อาชวาคม |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
- |
134 |
รศ.ดร.บุญเอก ยิ่งยงณรงค์กุล |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
การสกัด การแยก และการวิเคราะห์สารสำคัญในสมุนไพร |
135 |
ผศ.ดร.ลินดา บุหงาเรือง |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
การใช้ประโยชน์จากพืชและสมุนไพร |
136 |
ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์
2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
3.สีย้อมอินทรีย์
|
137 |
นายศิริชัย สาระมนัส |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
|
138 |
นายศิริชัย สาระมนัส |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
|
139 |
ดร.ศานตมน ล้วนวุฑฒิ |
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |
Electrochemical properties |
140 |
อ.ดร.สุกาญจนา กำลังมาก |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
1.สาขาการแพทย์แผนไทย
-องค์ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การนวดไทย เภสัชกรรมไทย ผดุงครรภ์ไทย และเวชกรรมไทย
2. สาขาเภสัชศาสตร์
-การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการนำส่งยา โดยใช้องค์ความรู้ ภูมิปัญญา มาประยุกต์ใช้ร่วมกับเทคโนโลยีเภสัชกรรม และการแพทย์แผนไทย
|
141 |
อาจารย์ ดร.พรวิชัย เต็มบุตร |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
1.การแปรรูปสินค้าเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง
แปรรูปสินค้าเกษตร สู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ทางด้านอาหารและเครื่องสำอาง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป
2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตั้งแต่ การแปรรูป คิดค้นสูตร ออกแบบสูตร ทดลองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น
3.การทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ทดสอบคุณสมบัติทางเคมี-กายภาพ คุณสมบัติความคงตัว ทดสอบคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย
4.ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ระบบนำส่งยา
การศึกษา ค้นคว้า ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลไกการออกฤทธิ์ของสารสำคัญ ตัวยา |
142 |
ดร.พท.พิรุณรัตน์ แซ่ลิ้ม |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์
การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การควบคุมคุณภาพ การศึกษาความคงตัวของสารและผลิตภัณฑ์
การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์
ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การศึกษาการต้านเซลล์มะเร็ง การศึกษาฤทธิ์แก้ปวดแก้อักเสบ
|
143 |
ดร.พท.ศรสวรรค์ คงภักดี |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
1.เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมและเภสัชวิทยา
การพัฒนาระบบนำส่งสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ต้านอักเสบและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสมุนไพร |
144 |
ดร.พท.ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์
การจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร |
145 |
ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น |
146 |
ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร |
147 |
นางชฎาพร เสนาคุณ |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร |
148 |
ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช |
149 |
นางพนิดา เหล่าทองสาร |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์ |
150 |
ดร.ธายุกร พระบำรุง |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน |
151 |
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ดินสอพอง |
152 |
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การแปรรูปดินสอพอง |
153 |
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การแปรรูปดินสอพอง |
154 |
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การแปรรูปดินสอพอง |
155 |
นายณัฐอมร จวงเจิม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ |
156 |
นางพรพิมล อริยะวงษ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
การจัดการขยะชุมชน การจัดการบุคคลภาพส่วนบุคคล เศรษฐกิจพอเพียง |
157 |
ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ |
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |
ระบบนำส่งทางผิวหนัง ลิโพโซม นาโนเทคโนโลยี การออกแบบการทดลอง การหาสูตรที่เหมาะสมที่สุด พื้นผิวตอบสนอง นาโนเทคโนโลยีสำหรับเครื่องสำอาง |
158 |
นายนิกร สาระการ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
มัคคุเทศก์ ท่องเที่ยวชุมชน |
159 |
นายสมพร สาระการ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
มัคคุเทศก์ ท่องเที่ยวชุมชน การบันทึกข้อมูลผลิตภัณพ์ อ.ย. ขลู่ สครับจากเปลือกหอย |
160 |
รศ.ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ |
การนวดด้วยลูกประคบ |
161 |
ผศ.ดร.ฤทัยรัตน์ สุทธิสุวรรณ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ |
เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพรไทย |
162 |
อ.วรรณนิสา แก้วบ้านกรูด |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ |
วิทยาศาสตร์สุขภาพและความงาม |
163 |
นางสาวศุฐิษา เผ่าจันทวงค์ |
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี |
โครงการปลูกกระชายตามมาตรฐานGAP(มกอช.) |
164 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน |
- การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC
- นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine) |
165 |
ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย |
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ |
สเปรย์ที่สกัดมาจากมิ้นต์ มีสรรพคุณช่วยในการบรรเทาอาการปวดศรีษะ ลดอาการหวัด ลมหายใจสดชื่น |
166 |
อาจารย์เกศระวี ปานทับ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี |
วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์ |
167 |
ดร.อริสรา อิสสะรีย์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี |
การสกัดสารจากธรรมชาติ การสกัดสารเพื่อใช้ทางด้านเวชสำอางค์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์ |
168 |
อาจารย์ ดร.ธนา จักษ์เมธา |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร, Anti-inflammatory, Antimicrobial and Anti-cancer activities, Antioxidant activity |
169 |
อาจารย์พิริยา ชนสุต |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร, Anti-estrogenic activities, Anti-cancer activities, Cytotoxic activity, Galactogogue activities, Antioxidant activity |
170 |
ดร. พท. เสถียรพงษ์ ภูผา |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
การแพทย์แผนไทย และสมุนไพร |
171 |
นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การสกัดสมุนไพร |
172 |
นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การนวดด้วยลูกประคบสมุนไพร |
173 |
จิระศักดิ์ ธาระจักร์ |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
เทคโนโลยีวัสดุ
|
174 |
ผศ.ดร.ไชยวัฒน์ ไชยสุต |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
เทคโนโลยีการสกัดสมุนไพรทำเครื่งสำอาง อาหารเสริมจากสมุนไพร |
175 |
พท.ป.รัฐพรรณ สันติอโนทัย |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนเทคโนโลยีทางเครื่องสำอาง ยา และเวชสำอาง |
176 |
พิชญ์ชาญ ศรีเจริญ |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
เคมี เคมีมีวิเคราะห์ เคมีเครื่องสำอาง วัสดุศาสตร์ การสังเคราะห์ทางเคมี
|
177 |
รศ.ดร.ภญ. วรินธร รักษ์ศิริวณิช |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ปรับปรุงสูตรเบสสบู่ และกระบวนการผลิต |
178 |
ผศ.นฤมลวรรณ สุขไมตร |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม |
179 |
นางสาว จรินทร โคตพรม |
มหาวิทยาลัยนครพนม |
1.การนำองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมนุนไพร มาประยุกต์ใช้การดูแลสุขภาพอาทิเช่น การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ หรือการแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้น
2.การนำองค์ความรู้ทางการพยาบาลในด้านการป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟู และส่เงสริมสุขภาพ |
180 |
ผศ.ดร.กฤตยา หนูสาย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
กลุ่มสาขา Natural Sciences เทคโนโลยีการสกัดสีจากธรรมชาติสำหรับใส่ในอาหาร การใช้สีจากธรรมชาติในการทำผ้ามัดย้อม |
181 |
อาจารย์ ดร. สุพัตรา บุตรเสรีชัย |
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ |
เครื่องกลั่นสมุนไพรด้วยระบบไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน |
182 |
นายวทัญญู ศรีไสว |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
ความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ยาหม่อง เพื่อบรรเทาอาการแมลงสัตย์กัดต่อย หน้ามือดวิงเวียน คัดจมูกเนื่องจากหวัด |
183 |
นางสิรินทร เขียนสีอ่อน |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
ด้านการผลิต และพัฒนาอาหาร เพื่อบำรุงสุขภาพ |
184 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวาพร มหาทำนุโชค |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ส.บ. (สาธารณสุขชุมชน), วท.บ. (กิจกรรมบำบัด)
วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (การส่งเสริมสุขภาพ)
วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์)
ความเชี่ยวชาญ การสร้างเสริมสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ ปัญหาการฆ่าตัวตาย
สาขาความเชียวชาญ สุขภาพ [181] |
185 |
นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์)
วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา)
วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์)
ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ
จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ
สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181]
เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140] |
186 |
อาจารย์สุรัติ สังข์แก้ว |
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ |
Anti-inflammatory, Anti-inflammatory activities, Antioxidant activity, Phytochemical screening, Natural products, Bioactivities, Phytochemistry |
187 |
อาจารย์ รัฐพรรณ สันติอโนทัย |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต
วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการเภสัชภัณฑ์)
ความเชี่ยวชาญ การแพทย์แผนไทย / เครื่องสำอาง / เวชภัณฑ์เภสัชภัณฑ์/ การพัฒนา
สารสกัดจากสมุนไพรเพื่อพัฒตาเป็นผลิตภัณฑ์ / Cosmetic nano technology
สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] |
188 |
ผศ.ดร.อิศรา ศิรมณีรัตน์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ด้านสุขภาพประชากร |
189 |
ปุณยนุช อมรดลใจ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ด้านสมุนไพร แปรรูปสมุนไพร |
190 |
อาจารย์ยุพา คงพริก |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ |
191 |
ผศ.ดร.วัชระ ดำจุติ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การแปรรูปสมุนไพร พัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร |
192 |
อาจารย์แสงนภา ทองสา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ด้านเภสัช การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง พัฒนาผลิตภัณฑ์และยาจากสมุนไพร |
193 |
อาจารย์ปาริชาติ แปลงไธสง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร |
194 |
ภญ.ดร.ภัทรานุช เอกวโรภาส |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การผลิตยา, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ |
195 |
อาจารย์ธัญญรัตน์ ศุภการนรเศรษฐ์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช |
ด้านสาธารณสุข ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร การทำสปา |
196 |
ดร.วชิรชัย พบูประภาพ |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้ทางยาและเครื่องสำอางค์ |
197 |
ผศ.ศศิธร ตัณฑวรรธนะ |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
การแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์หรือยาใช้ภายนอก |