ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทธวัช โมฬี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงไก่เนื้อโคราช
2 ผศ.ดร.สมร พรชื่นชูวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศ
3 อาจารย์ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม 1. โภชนศาสตร์สัตว์ (Animal Nutrition) 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management) 3. การพัฒนาพื้นที่ด้านการเกษตรในจังหวัดนครพนมและกลุ่มจังหวัด
4 นายปรีชา ศิริสม มหาวิทยาลัยนครพนม 1. พืชอาหารสัตว์และการจัดการทุ่งหญ้า 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management)
5 ดร. กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม อาหารและการให้อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน การใช้ประโยชน์ของผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์ และการใช้เทคนิคทางชีวโมเลกุลในการศึกษาจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมน
6 นางณิฐิมา เฉลิมแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อเศรษฐกิจ โดยเน้นวัสดุในท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาประยุกต์คำนวณสูตรอาหารสัตว์
7 ดร.สัมฤทธิ์ มากสง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การเลี้ยงผึ้งและผลิตภัณฑ์จากผึ้ง
8 นางสาวอิงณภัสร์ วงษ์สิทธิชัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง
9 นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
10 นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเลี้ยงปลาน้ำจืด
11 นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การผลิตอาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำ
12 นายศิลชัย หล่อเลิศธรรม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน
13 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี แหยมคง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ เช่น ไข่ ไก่ ปลา หมู เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ
14 นางสาวจิระวัลย์ โคตรศักดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การประกอบสูตรอาหารสัตว์
15 รศ.ดร.เสมอใจ บุรีนอก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การจัดการด้านพืชอาหารสัตว์เขตร้อน
16 นายศรันย์ คัมภีร์ภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ระบบสื่อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย ด้านออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและ Data Warehouse ด้านปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ด้าน IOT
17 อาจารย์จันทร์จิรา โต๊ะขวัญแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การประกอบสูตรอาหารสัตว์ปีก, การเลี้ยงไก่เนื้อ, การเลี้ยงนกกระทา การเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์
18 อาจารย์รัตนากร แสนทำพล มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร, การแปรรูปผลิตผลปศุสัตว์(เนื้อ นม ไข่) การทำมาตรฐานอาหารปลอดภัย, การทำมาตรฐานฟาร์ม
19 ดร.ยุพิน พูนดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการสิ่งแวดล้อม
20 ดร.มงคล เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความเชี่ยวชาญในด้านการเลี้ยงสัตว์ พร้อมปรับปรุงพันธุ์สัตว์ได้
21 มนกานต์ อินทรกำแหง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการฟาร์มโคนมผ่านแอพลิเคชั่น
22 ปณรัตน์ ผาดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเลี้ยงกบ การเลี้ยงปลาและการเลี้ยงสัตว์น้ำทุกชนิด
23 นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อเศรษฐกิจ และการรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก
24 ดร.ทินกร ทาตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก การคำนวณสูตรอาหารสัตว์และทำอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำ สำหรับผู้เลี้ยงสัตว์เพื่อเศรษฐิจ เพื่อลดต้นทุน
25 ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชียวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลาสวยงาม และการจัดการโรคระบาดในสัตว์น้ำ
26 นายประวัติ ปรางสุรางค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจ
27 นางจันทรา สโมสร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม การผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
28 ผศ.โสภณ บุญล้ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี สัตว์ปีก
29 นายสมจริง หมื่นวิเวก วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การผลิตอาหารไก่ไข่อารมณ์ดี
30 อาจารย์ ดร.กฤติกา กาบพลอย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โภชนศาสตร์อาหารสัตว์
31 อาจารย์ ดร.จันทิรา วงศ์เณร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ด้านสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร
32 นางวิจิตรา ตุ้งซี่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
33 นายไพศาล โพธินาม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเลี้ยงสุกรขุน
34 นายไพศาล โพธินาม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเลี้ยงสุกรพันธุ์
35 ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ แนวทางพัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาไหลนา
36 ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเพาะหนอนแมลงวันเพื่อการเลี้ยงสัตว์น้ำ
37 รศ.ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเพาะกบบนพื้นที่สูง
38 ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปูนาไทย
39 ผศ.สมพงศ์ วงษ์มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคนิคการสัตวแพทย์
40 ผศ.พีรกูร อนุชานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สัตว์ปีก, การทำสูตรอาหารสำหรับสัตว์ปีก, การผลิตสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
41 นางบรรเจิดโสม ขันแข็ง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร การเลี้ยงโค
42 นางสาวเอื้ออารี สุสมนิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม และอาหารสัตว์น้ำมีชีวิต
43 นางพิศมัย เฉลยศักดิ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม และอาหารสัตว์น้ำมีชีวิต
44 นายสมศักดิ์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเลี้ยงโคนม การทำเกษตรผสมผสาน
45 นางนุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะพันธุ์กรรมกุ้ง และการเลี้ยงไรแดง ไรน้ำนางฟ้า
46 นางสาวนัสวัล บุญวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
47 นางสมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การผลิตไข่ไก่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
48 นายสันติ คำไหว วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การเลี้ยงวัว
49 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเติมอากาศในสัตว์น้ำ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบิ้ลทางด้านการเกษตร 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟฟ้าแรงดันสูงในการกระตุ้นการออกดอกของเห็ด 4. การประยุกต์ใช้ไอออนบีมพลังงานสูงในการถ่ายภาพทางการแพทย์
50 อาจารย์ประธาน เรียงลาด มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การผลิตพืชอาหารสัตว์ - การใช้วัสดุเศษเหลือทางการเกษตรให้เป็นอาหารสัตว์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตสัตว์
51 อาจารย์ปิยพงศ์ บางใบ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงกบ - วิธีการเพาะพันธุ์กบ
52 อาจารย์พรทิศา ทองสนิทกาญจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเตรียมวัตถุดิบในการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย - วิธีการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย
53 นางสาวเกตวรรณ บุญเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านสัตวศาสตร์ โภชนศาสตร์สัตว์
54 นางสาวจารุณี หนูละออง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วิเคราะห์อาหารสัตว์ / การผลิตสัตว์
55 รศ.ดร. กฤติมา เสาวกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การจัดการคุณภาพน้ำ, การผลิตอาหารสัตว์น้ำ,การเพาะเลี้ยงปลาหลด
56 ผศ.เถลิงเกียรติ สมนึก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การเพาะพันธุ์ปลา
57 ดร.อุดมศักดิ์ นพพิบูลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การปรับปรุงพันธ์สัตว์(สุกร โคนมและโคเนื้อ), การปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์
58 ผศ.ณัฐรินทร์ ศิริรัตนนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำ - วิธีการวัดคุณภาพน้ำ และการประเมินค่าคุณภาพน้ำอย่างง่ายสำหรับเกษตรกร
59 อาจารย์วุฒิกร สระแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน  เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตอาหารสัตว์.................  เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสัตว์……………...
60 นายภูริงพงศ์ จิตรมะโน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การเลี้ยงโคนม
61 นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
62 ดร.พิชิตร์ วรรณคำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดการพัฒนาพันธุกรรม ไก่ชน สตูรอาหารไก่ต้นทุนต่ำคุณภาพสูงและการคำนวณสูตรอาหารปริมาณที่เหมาะสมกับช่วงอายุไก่
63 ผศ.ดร.สุรพงษ์ ทองเรือง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ การผสมเทียมโคและสุกร การจัดการฟาร์มสุกร เช่น การจัดการสุกรเล้าคลอด การจัดการลูกสุกร
64 ผศ.ดร.วรศิลป์ มาลัยทอง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดการระบบปศุสัตว์อินทรีย์ การผลิตสัตว์ปีก
65 รศ.ดร.สรพงค์ เบญจศรี มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สาขาวิชาพืชศาสตร์
66 ดร.ปิยมาสฐุ์ ตัณฑ์เจริญระตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีก
67 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์สวยงาม และสุกร
68 นายสมเกียรติ ตันตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก แลกบ เป็นต้น
69 ผศ.ดร.เฉลิมพล เยื้องกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การเลี้ยงสัตว์ ระบบการเลี้ยงสัตว์ การจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าในการเลี้ยงสัตว์
70 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยะ จันทร์แก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การเพาะพันธุ์ปลา คุณภาพน้ำ การเลี้ยงปลา
71 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
72 อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล ดร.กัมปนาถ เภสัชชา อ.บงกชไพร มหาวิทยาลัยนครพนม นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัยครบวงจร 1.เทคโนโลยีการผลิตมันหมักยีสต์ให้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ธาตุและอาหารอัดก้อนโปรตีนสูงต้นทุนต่ำ 3.เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อคุณภาพ
73 น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตปุ๋ยไส้เดือน 1. วิธีการผลิตปุ๋ยจากมูลไส้เดือน 2. วิธีการดูแลรักษา 3. การประยุกต์ใช้ปุ๋ยจากมูลไส้เดือนกับพื้นที่การเกษตร
74 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฺ ดร.คู่ขวัญ จุลละนันทน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด สัตวศาสตร์/การพัฒนาอาหารสัตว์
75 ดร.ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ 2.เทคโนโลยีการเกษตรการผลิตอาหารสัตว์ต่างๆๆๆ
76 อาจารย์ ดร.คณิน บรรณกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การผลิตอาหารโคเนื้อ
77 อ.ดร.กนก เชาวภาษี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีเทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงและการคัดเลือกสายพันธุ์ - เทคโนโลยีการสร้างโรงเรือนที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่เบตง - เทคโนโลยีการผสมเทียม และเก็บน้ำเชื้อไก่เบตง - การสร้างตู้ฟักไข่
78 อาจารย์สุนีย์ ตรีมณี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การบริหารจัดการฟาร์มไก่เบตง - เทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงเชิงพานิชย์ - การใช้สมุนไพรเพื่อการเลี้ยงไก่เบตง
79 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สว่าง กุลวงษ์ ตำแหน่ง มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การเลี้ยงสัตว์และกระบวนการผลิตสัตว์ปีก
80 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาสินี ครุฑธกะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย การผลิตสัตว์ปีกและกระบวนการเลี้ยงสัตว์ปีก
81 อาจารย์นายศรุติวงศ์ บุญคง มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.การผลิตก๊าซชีวภาพระดับครัวเรือน 2.การเลี้ยงโคและกระบือ
82 อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน
83 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ซารีนา สือแม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - มาตรฐานฟาร์มแพะเนื้อ และแพะนม
84 อาจารย์ณัฐพัชรากานต์ แก้วพลอย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ปีก
85 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน
86 นางปรารถนา ควรดี มหาวิทยาลัยบูรพา เพาะเลี้ยงหอยหวาน เพาะเลี้ยงปลาสวยงามในแนวปะการัง เพาะขยายปะการังแบบไม่อาศัยเพศ ระบบหมุนเวียนน้ำ
87 นายธนกฤต คุ้มเศรณี มหาวิทยาลัยบูรพา การดูแลสัตว์น้ำ
88 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ มหาวิทยาลัยบูรพา การเลี้ยงสัตว์น้ำในระบบน้ำหมุนเวียน (Recirculating aquaculture systems) การเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลสวยงาม (Marine ornamental organisms breeding and culture) คุณภาพน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ(Water quality and management in aquaculture)
89 ดร.วรรณภา กสิฤกษ์ มหาวิทยาลัยบูรพา ด้านโรคสัตว์น้ำ , พันธุศาสตร์เซลล์สัตว์น้ำ
90 ดร.นิศารัตน์ ทิพยดารา มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เพาะเลี้ยง
91 รศ. ดร.โอภาส พิมพา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โคเนื้อ โคขุน อาหารโค
92 นายมนตรี โนนพะยอม วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น การออกแบบและพัฒนาเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงปลา ใช้สำหรับการพัฒนานวัตกรรมซอฟต์แวร์ ควบคุมด้วยระบบ Microcontroller
93 อาจารย์ปิยรัตน์ นาควิโรจน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การเลี้ยงผึ้งชันโรง - การแปรรูปน้ำผึ้งและผลผลิตจากชันโรง
94 รศ.ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การจัดการโคนม การจัดการโรงงานอาหารสัตว์ (โคนม) การผลิตพืชอาหารสัตว์
95 ดร.นครินทร์ พริบไหว มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - การผลิตสัตว์กระเพาะเดี่ยว - อาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว - วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ - Molecular Genetics
96 ดร.วลัยลักษณ์ แก้ววงษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การผลิตกระบือแบบครบวงจร
97 ดร.วิศรา ไชยสาลี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
98 อพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านชีววิทยาประมง
99 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ระบบน้ำหมุนเวียน การกำจัดของเสียZero Waste สรีรวิทยาสัตว์น้ำ ระบบคุ้มกันโรคกุ้ง การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อการประมง
100 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา สว่างอารมย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ ระบบน้ำหมุนเวียน การใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อการประมง
101 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร การผลิตสัตว์ปีก การผลิตสุกร โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง การผลิตอาหารสัตว์และโรงงานอาหารสัตว์การวิจัยด้านการผลิตสัตว์ในระบบอุตสาหกรรม
102 ผศ.ดร.สมคิด ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด และการเกษตรทุกรูปแแบบ
103 อาจารย์บุญธรรม แสงแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคพื้นบ้าน โคขุน โคเนื้อ
104 ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
105 สพ.ญ.ดร.พิมพ์ชนก โล่ห์ทองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การผลิตโคเนื้อปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และฟาร์มมาตรฐาน
106 นายสุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การผลิตลูกปลานิล
107 วิภาวี ไทเมืองพล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง การเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลี้ยงกบ การแปลงเพศปลา อุปกรณ์เลี้ยงกบสำเร็จรูป
108 ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเขียนระบบแอพพลิเคชั่น
109 ธนพล หนองบัว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านการสัตวศาสตร์ การจัดการฟาร์มโคและกระบือ การรักษาโรค การเหนี่ยวนำ ผสมเทียม
110 อ.สพ.ญ.ดวงสุดา ทองจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีการผสมเทียม การปรับปรุงพันธุ์ โรคและรักษา
111 ดร.สริยา สุภัทรานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด
112 น.ส.รุจาภา สุกใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการบัญชี และส่งเสริมการตลาด
113 อ.ทรงยศ กิตติชนม์ธวัช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านโภชนะศาสตร์สัตว์ การจัดการฟาร์ม
114 อ.สุภา ศรียงยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การผลิตพืชอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิดและระบบเปิด การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
115 ผศ.ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคโนโลยีการผสมเทียมโคเนื้อแบบกำหนดเวลา
116 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตปลาหมอไทย
117 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ปลานิล
118 ดร.กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์
119 อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย
120 ผศ.ดร.ถนอม ทาทอง มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุน ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความเข้มแข็ง
121 ดร.มัสธูรา ละใบเด็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วทน.Prebiotic ในการเลี้ยง กุ้ง
122 อาจารย์สุภาวดี โกยดุลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการจัดการคุณภาพนำ้ทิ้ง
123 รองศาสตราจารย์ ดร. สุรินทร บุญอนันธนสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงสัตว์น้ำ
124 อาจารย์ ดร.ปรัชญาพร เอกบุตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สัตวศาสตร์
125 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีกสวยงาม และสุกร
126 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล รักษา สัตว์ปีกสวยงาม และสุกร
127 นายสมเกียรติ ตันตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น
128 พิมพ์นภา ภูฆัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
129 นางทวีพร เรืองพริ้ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์กระบือให้มีคุณภาพและเหมาะสมกับการเลี้ยงของประเทศไทย
130 รศ.สพ.ญ.ดร.สุนทรี เพ็ชรดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นอุปดรณืที่ไว้เพื่อใช้ในการตรวจโรคกล้ามเนื้อหัวใจในแมว
131 นายณัฐพงษ์ ปานขาว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การเพาะเลี้ยงปลานิลและการแปลงเพศปลานิล เพื่อให้ได้ผลผลิตดีกับเกษตรกรชาวประมงที่ต้องการเลี้ยง
132 นางทวีพร เรืองพริ้ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โคที่สามารถเลี้ยงในสภาพอากาศที่ร้อนของประเทศไทยได้ได้ดี ทนต่อโรค เห็บ และแมลง
133 นายกฤษฎิ์ พลไทย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด การประมง
134 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
135 ดร.กนก เชาวภาษี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ระบบการผลิตและการจัดการสัตว์ปีก
136 อาจารย์เปลื้อง บุญแก้ว มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก
137 นายอนาวิน เปาะชู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีการเลี้ยงแพะนม การแปรรูปนมแพะ
138 ผศ.ดร.ซารีนา สือแม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยเฉพาะด้านสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก และการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
139 ดร.นุจิรา ทักษิณานันต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว 2. กระบวนการผลิตอาหารสัตว์
140 นายสุทธิ มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด"
141 ดร. ชัยณรงค์ สินภู่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรคผึ้ง การวิเคราะห์คุณภาพน้ำผึ้ง สูตรอาหารเสริมสำหรับการเลี้ยงผึ้ง
142 ดร. วศิน วงศ์วิไล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ทางด้านเคมี, เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับวิเคราะห์ทางด้านสิ่งแวดล้อม, พัฒนาชุดทดสอบ (Test kit)
143 นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
144 ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่
145 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุทธิดล ปิยะเดช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สัตวศาสตร์,zoonosis,ระบาดวิทยา ชีวะสารสนเทศ,สุขภาพสัตว์ การจัดการฟาร์มและโรคสุกร
146 ดร.ชยพล มีพร้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ โภชนศาสตร์สัตว์ การผลิตโค เทคโนโลยีอาหารสัตว์
147 นายกฤษณธร สินตะละ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน มีความเชี่ยวชาญด้าน การผลิตสัตว์ การปรับปรุงพันธ์สัตว์ การผสมพันธุ์สัตว์
148 นางสาวกัญญ์ฐญา ทรัพย์ทวีธนกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก การส่งเสริมด้านการตลาดและเข้าถึงผู้บริโภคผ่านกระบวนการออนไลน์ การเชื่อมโยงตลาดของผลิตภัณฑ์บูรณาการกับการท่องเที่ยว
149 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์วรรณ สรรพสัตย์ มหาวิทยาลัยพะเยา เรื่องการเลี้ยงผึ้งโพรงไทยตามวิถีภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์ จากผลิตภัณฑ์ผึ้ง http://www.science.up.ac.th/downloads/1647831490.pdf
150 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
151 ผศ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม การใช้ฮอร์โมนกระตุ้นการเป็นสัดแม่โค ชนิดสังเคราะห์แบบฉีด
152 ดร.รัฐกร มิรัตนไพร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การเลี้ยงโคเนื้อโคนมครบวงจร/ อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
153 อาจารย์สุธาทิพย์ ไชยวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การเลี้ยงสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ไก่พื้นเมือง
154 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา การเพาะเลี้ยงปลานิลหมัน
155 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา กบคอนโดและกบนอกฤดูหนทางสู่ความพอเพียงวิถีเพียงพอที่ยั่งยืนแด่พ่อหลวงไทย
156 ดร. ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาอาหารหมักจากเมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เสริมด้วยผลไม้เศรษฐกิจตามฤดูกาลเพื่อเลี้ยงโคขุน
157 รศ.ดร.โชค โสรัจกุล (มิเกล็ด) มหาวิทยาลัยพะเยา อาหารสัตว์หมักจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
158 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณิดา โขนงนุช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม โลจิสติกส์ การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
159 เชาวลีย์ ใจสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน พันธุศาสตร์สัตว์น้ำ การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาแบบแช่เย็น
160 ผศ.นฤมล เวชกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี การจัดการเลี้ยงดูสุกร
161 ดร.ปิยมาสฐุ์ ตัณฑ์เจริญระตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล การรักษา สัตว์ปีก
162 ผศ.จรูญ สินทวีวรกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเลี้ยง การดูแล การรักษา สัตว์สวยงาม และสุกร
163 นายสมเกียรติ ตันตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น
164 ผู้ช่วยศาสตราจราย์ธันวา ไวยบท มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ความเชี่ยวชาญ:
165 นายมนตรี ทองเชื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ความเชี่ยวชาญ:การผลิตสัตว์, การจัดการฟาร์ม
166 นางสาวสุกัญญา คำหล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ทรัพยากรการประมง
167 นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
168 ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่
169 ดร.อัษฎาวุธ สนั่นนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการผลิตและการจัดการฟาร์มสุกร
170 อ.บุญธรรม แสงแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ใหญ่
171 ดร.ชนะดล สุภาพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
172 นวลนพมล ศรีอุทัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
173 เสกศักดิ์ น้ำรอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
174 Ms.Sitthichai Saeho มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผู้เชี่ยวชาญการเลี้ยงกุ้งในต่างประเทศ
175 อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเตรียมบ่อเพาะพันธุ์ปลาไหลนา
176 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สุขภาพคน จากสุขภาพสัตว์
177 นางสาวธันยกานต์ คูณสิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง การเลี้ยงปลา
178 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติกร จินดาพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ประมง ทรัพยากรประมง
179 อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา
180 ผศ.อภิชาติ พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการการเลี้ยงจระเข้
181 ผศ.อภิชาติ พันชูกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการการเลี้ยงโคเนื้อและการแปรรูป
182 รศ.ดร.นิวุฒิ หวังชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเลี้ยงปลากะพงขาวน้ำจืดในระบบน้ำหมุนเวียน
183 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสรา กิจเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระบบการจับคู่ผสมพันธุ์ปลานิล
184 อาจารย์ ดร. สายัณห์ อุ่นนันกาศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฟาร์มต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาว
185 นายสันติ เตือประโคน มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การเลี้ยงจิ้งหรีดในโรงเรือนแบบปิด
186 ผศ.ร่วมฤดี พานจันทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
187 ผศ.ดร.เมธาวี รอตมงคลดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
188 รศ.ดร.เอกพล วังคะฮาต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
189 ดร.กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตอาหารหนูอัดเม็ดใช่เอง ต้นทุนต่ำ
190 ผศ.ธันวา ไวยบท มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์(สัตว์ปีก)
191 ผศ.เรืองฤทธิ์ หาญมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การคัดพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โคขุน ,การประกอบสูตรอาหารต้นทุนต่ า จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น, การจัดการฟาร์ม
192 ผศ.ทาริกา ผาใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การเลี้ยงลูกอ๊อก การคัดเลือกพ่อพันธุ์แม่พันธุ์
193 ผศ.ทรงทรัพย์ อรุณกมล มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ทคโนโลยีการเลี้ยงปลา การปลูกพืชไร้ดิน
194 นำยเทพกร ลีลำแต้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร นวัตกรรมอาหารหมักจุลินทรีย์ เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์โค-กระบือ การออกแบบและสร้างเตาพลังงานชีวมวล การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุภายในชุมชน การอบแห้งด้วยลมร้อน
195 รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ คำผา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม อาหารสัตว์ และการตลาดปศุสัตว์เกษตร ค้าขายออนไลน์และส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ แปรรูปวัตถุดิบอาหารสัตว์ลดต้นทุนใช้เลี้ยงสัตว์ แปรรูปกากมันสำปะหลังมาหมักยีสต์ใช้เลี้ยงสัตว์ วิทยากรอบรมถ่ายทอดความรู้เกษตรกรทำอาหารลดต้นทุนเลี้ยงสัตว์ และเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เลี้ยงสัตว์ทั่วประเทศ
196 ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
197 นายทนงศักดิ์ ธาตุชัย มหาวิทยาลัยนครพนม -เทคนิคการผลิตสุกรในระบบฟาร์มแบบปิด (EVEP) และระบบเปิด - เทคนิกการผลิตโคเนื้อ
198 อาจารย์ธนภัทร วรปัสสุ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเลี้ยงปลาหมอ และการเพาะพันธุ์ปลาหมอ การเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย
199 ผศ.ธันวา ไวยบท มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์
200 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตไข่ของเป็ดไข่สาวทีเลี้ยงด้วยหอยเชอรี่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารโดยเก็บข้อมูลน้ำหนักและจำนวนไข่ของเป็ดสาว
201 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ตู้ฟักไข่จากกล่องพลาสติกแบบกลับไข่อัตโนมัติออกแบบและสร้างพัฒนาหาประสิทธิภาพการทำงาน และประเมินความพึงพอใจที่มีต่อตู้ฟักไข่จากกล่องพลาสติกแบบกลับไข่อัตโนมัติ
202 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ธนาคารไข่พัก
203 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีอนุรักษ์พันธุกรรมไรน้ำกาบหอย
204 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีอนุรักษ์พันธุกรรมกุ้งน้ำจืด
205 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การใช้ไรน้ำนางฟ้าอนุบาลลูกปลาบู่ทราย
206 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี กุ้งน้ำจืดไทยและศักยภาพการใช้ประโยชน์
207 ดร.นุกูล แสงพันธุ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การเพาะเลี้ยงและผลิตไข่ไรแดงสยาม (Moina siamensis n. sp.).
208 นางรักชนก กิมสงวน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผสมเทียมปลา
209 ผศ.น.สพ.ประยุทธ กุศลรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การจัดการสุขภาพสัตว์ ปรสิตวิทยา
210 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี บัวระภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน พืชอาหารสัตว์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
211 รองศาสตราจารย์ ดร.เกชา คูหา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การวางแผนการทดลอง
212 นางสาวชวันรัตน์ มีคล้าย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
213 ว่าที่ร้อยตรีวุธเมธี วรเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การเพาะพันธุ์กบนานอกฤดู การสร้างระบบควบคุมอุณหภูมิสำหรับพ่อแม่พันธุ์บนาเพื่อเพาะในฤดูหนาว เพาะขยายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจได้หลายชนิด เพาะขยายพันธุ์ปลาสวยงามได้หลายชนิด
214 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การเลี้ยงใส้เดือน
215 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
216 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเลี้ยงไก่ไข่โดยการเปรียบเทียบสูตรอาหารโดยใช้เปลือกไข่ป่นแทนเปลือกหอยป่นในอัตราส่วนที่ต่างกัน
217 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบารี่โดยใช้ใบกระถินป่นแห้งทดแทนมันสำปะหลังป่นแทนแห้งในอาหารสูตร
218 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิต และต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบาบารี่โดยใช้ใบกระถินแห้งแทนกากเมล็ดนุ่นในสูตรอาหาร
219 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการผลิตการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้มันสำปะหลังป่นทดแทนใบกระถินป่นในสูตรอาหาร
220 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการปลูกหญ้าเนเปียร์โดยใช่มูลสุกรในระดับที่ต่างกัน
221 นายณรงค์เดช ณ พิโรจน์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การบำรุงรักษาลัตว์เบื้องต้น การเลี้ยงสุกร
222 นายสมเกียรติ นิตพงศ์สุวรรณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การผลิตอาหารสัตว์ การเลี้ยงสุกร
223 นางศยามล นิติพงศ์สุวรรณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การผลิตอาหารสัตว์
224 นางนุกูล ประเสริฐดี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การจัดการฟาร์มการเลี้ยงโคนม โคเนื้อการ
225 ดร.ธัญจิรา เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริหารจัดการและขับเคลื่อนธุรกิจไก่เบขลาจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ
226 ดร.ศุภนนท์ ตู้นิ่ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
227 ผศ.ดร.ประพจน์ มะลิวัลย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
228 สพ. ญ. ชญานิศ ดาวฉาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในทะเลไทย
229 รศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก การจัดการฟาร์ม และการแปรรูปแพะ
230 นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
231 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ผลการเสริมขมิ้นชันผงในอาหารไก่ไข่อินทรีย์เพื่อเพิ่มสีไข่แดง
232 นาง สมพร เกตุผาสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงโดยใช้ผักตบชวาป่นแห้งแทนใบมันสำปะหลังป่นแห้งในสูตรอาหารเป็ดปักกิ่ง
233 นายสมบูรณ์ มัจฉา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน
234 อาจารย์สิทธิศักดิ์ เตียงงา มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การเลี้ยงปลาดุกและการแปรรูป
235 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โภชนาการอาหารม้า
236 ศิริภรณ์ โคตะมี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิเคราะห์คุณภาพสัตว์น้ำ
237 อาจารย์อพิศรา หงส์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านการจัดการทรัพยากรประมง ระบบนิเวศทางน้ำ ปลาสวยงาม และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
238 ผศ.ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชียวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์น้ำ และปลาสวยงาม
239 ผศ.ดร.จารวี เลิกสายเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
240 อาจารย์ณวรรณพร จิรารัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตสัตว์
241 อาจารย์จันทรา สโมสร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม และการผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
242 ดร.พรศิลป์ แก่นท้าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงโค-กระบือ
243 อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงแมลงโปรตีนเพื่อเป็นอาหารสัตว์
244 ผศ.สุไหลหมาน หมาดโหยด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ การปรับปรุงพันธุ์ การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ สารสกัดยับยั้งเชื้อก่อโรคในสัตว์น้ำ
245 อาจารย์สุภภณ พลอยอิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
246 อาจารย์ปุณณะวุทฒ์ ยะมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านสรีรวิทยาทางการสืบพันธุ์
247 รศ.ดร.สิริวดี พรหมน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนปศุสัตว์
248 รศ.ดร.สิริวดี พรหมน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนปศุสัตว์
249 ดร.สุณิษา คงทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สารเสริมสุขภาพและอาหารเพื่อสุขภาพ เภสัชวิทยา (pharmacology)
250 ดร.สุณิษา คงทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบสารเสริมอาหารจากพืชกระท่อมชนิดผงไมโครแกรนูลต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและสุขภาพลำไส้ในไก่เนื้อ
251 อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช อายุรศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
252 อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช พืชอาหารสัตว์ คุณค่าทางโภชนะ
253 น.สพ.จตุรพัฒน์ คำแป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การตัดแต่งชิ้นเนื้อ
254 นางสาวนวลนพมล ศรีอุทัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช กลุ่มสาขา Natural Science โภชนะศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง,การผลิตโคนม,การผลิตสุกร
255 ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพ
256 รองศาสตราจารย์ ดร.ไพบูลย์ ปะนาเส มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง
257 รศ. ว่าที่ร้อยตรี ดร.ฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง
258 ดร.กรทิพย์ กันนิการ์ มหาวิทยาลัยพะเยา เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
259 รศ.ดร.ดุจฤดี ปานพรหมมินทร์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพด้านการประมง
260 ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการประมง
261 ว่าที่ร้อยตรีฉัตรชัย ศรีเพิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์/การผลิตอาหารข้นสำหรับโคขุน/การเลี้ยงโคขุน
262 นายเสกศักดิ์ น้ำรอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคนิคการเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสุกรขุน
263 อาจารย์สุภิญญา ชูใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
264 ดร.สุณิษา คงทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เภสัชวิทยา (pharmacology)
265 ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเชือดแพะตามมาตรฐานม การเตรียมซาก และการตัดแต่งชิ้นส่วน
266 ดร.ณัฐกร ไชยแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์
267 ดร.ปัทมา จันทร์เรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์
268 อาจารย์สราวุฒิ ดาแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ: - เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) - เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Agricultural Machinery Technology
269 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร พังสุบรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, ชีววิทยาประยุกต์, เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์, เทคโนโลยีการเกษตร
270 อาจารย์สุวรรณา ทองดอนคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การผลิตสัตว์, การจัดการการเลี้ยง/การจัดการฟาร์ม, โภชนศาสตร์สัตว์/อาหารลดต้นทุน, คุณภาพเนื้อสัตว์
271 อาจารย์ทวีศักดิ์ ทองไฝ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์
272 อาจารย์รัญจวน อิสรรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การเลี้ยงกระบือและความสมบูรณ์พันธ์ในสภาพการเลี้ยงแบบปล่อยแปลง
273 1. อาจารย์วุฒิพล ฉัตรจรัสกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ โฆษณา การสื่อสารการตลาด สื่อสารมวลชน สื่อสารระหว่างประเทศ การเงินและการบัญชี การตลาดดิจิทัล
274 1. อาจารย์กฤษดา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ ระบบสมองกลฝังตัว ระบบเครือข่าย การจัดการนวัตกรรม
275 1. อาจารย์กาญจนา ดงสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย การจัดการนวัตกรรม
276 อาจารย์นัชชา อู่เงิน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ : การทำสื่อออนไลน์ และการประชาสัมพันธ์การตลาด
277 1. ผศ. ดร. เหล็กไหล จันทะบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ ด้ารการเกษตร ประมง กบ ระบบอัตโนมัติด้านการเกษตร สมาร์ทฟาร์ม