2567 การพัฒนาผลิตภัณฑ์โกโก้นางั่วด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างครบวงจร 0
QR Code
รหัสโครงการ
6263
ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาวรัตนากร แสนทำพล 081-783-8250
หน่วยงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
ชื่อโครงการ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์โกโก้นางั่วด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างครบวงจร
พิกัด
ละติจูด : 16.504218826969666
ลองติจูด : 101.09624552591696
ผู้รับผิดชอบ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อนำองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ไปพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้นางั่ว อย่างครบวงจร
2. เพื่อจัดทำโมเดลธุรกิจในการขายสินค้าและบริการ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้นางั่ว
3. เพื่อให้เกิดชุมชน Start Up พัฒนาไปสู่การเป็นธุรกิจเพื่อสังคม
ตัวชี้วัด
งบประมาณอนุมัติ
175,000
งบประมาณที่ใช้
175,000
งบประมาณที่เหลือ
ใช้หมด
ข้อเสนอโครงการ
รายงานฉบับสมบูรณ์
ยืนยันโครงการ
24/07/2567
ผู้รับบริการ(แผน)
20
ผู้รับบริการ(จริง)
30
ติดตามผล
10
นำไปใช้ประโยชน์
10
มูลค่าทางเศรษฐกิจ
1,000
ความพึงพอใจ
85
ปัจจัยนำเข้า
ผลผลิต
แผน
ผล 1. ได้โมเดลธุรกิจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้นางั่ว จำนวน 1 โมเดล 2. องค์ความรู้ทักษะที่ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกโกโก้ จำนวน 3 เรื่อง 3. แผนพัฒนาธุรกิจยั่งยืนสู่ธุรกิจเพื่อสังคม จำนวน 1 แผ่น 4. ได้แผนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนนางั่ว จำนวน 1 แผ่น
ผล 1. ได้โมเดลธุรกิจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้นางั่ว จำนวน 1 โมเดล 2. องค์ความรู้ทักษะที่ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกโกโก้ จำนวน 3 เรื่อง 3. แผนพัฒนาธุรกิจยั่งยืนสู่ธุรกิจเพื่อสังคม จำนวน 1 แผ่น 4. ได้แผนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนนางั่ว จำนวน 1 แผ่น
ผลลัพธ์
แผน
ผล 1. เกษตรกรผู้ปลูกโกโก้สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. ชุมชนโกโก้นางั่ว มีการดำเนินงานของธุรกิจ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นธุรกิจเพื่อสังคม 3. ความพึงพอใจของเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ผล 1. เกษตรกรผู้ปลูกโกโก้สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. ชุมชนโกโก้นางั่ว มีการดำเนินงานของธุรกิจ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นธุรกิจเพื่อสังคม 3. ความพึงพอใจของเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ผลกระทบ
แผน
ผล ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 1. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 2. เกิดการกระจายรายได้ของเกษตรกรในชุมชน ผลกระทบด้านสังคม 1. จำนวนผู้ได้รับการจ้างงานเพิ่มขึ้น 1และ2คน 2. สร้างอาชีพให้แก่เกษตรกรผู้สูงอายุ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 1. ลดปริมาณเศษเหลือทิ้งในกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์โกโก้ 2. ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ให้ปลอดจากการใช้สารเคมีในระบบการผลิต 3. การรักษาระบบนิเวศให้มีความสมดุล
ผล ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 1. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 2. เกิดการกระจายรายได้ของเกษตรกรในชุมชน ผลกระทบด้านสังคม 1. จำนวนผู้ได้รับการจ้างงานเพิ่มขึ้น 1และ2คน 2. สร้างอาชีพให้แก่เกษตรกรผู้สูงอายุ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 1. ลดปริมาณเศษเหลือทิ้งในกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์โกโก้ 2. ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ให้ปลอดจากการใช้สารเคมีในระบบการผลิต 3. การรักษาระบบนิเวศให้มีความสมดุล
รายงานความก้าวหน้า
ไตรมาส | ผลการดำเนินงาน | งบประมาณที่ใช้ | ผู้รับบริการ |
---|---|---|---|
4 [17492] | 175000 | 25 |