2566 การบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี    0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [15377]

ร่วมจัดงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ประจำปี  2566  ตั้งแต่วันที่  17-19  สิงหาคม  2566  ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ค่าจัดนิทรรศการรวมเงินเดือน  



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 04/09/2566 [15377]
24249 46
4 [15370]

รวมประชุมเชิงปฏิบัติการ เครือข่าย อว. เพื่อพัฒนาศักยภาพจังหวัดด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2566 และชี้แจงการเข้าพักระหว่างวันที่ 14 – 15 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรม ibis Bangkok IMPACT และ โรงแรม 12 The Residence



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 04/09/2566 [15370]
4200 2
3 [15044]

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่  ในพระราชนุเคราะห์  สมเด็จพระบนมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร  เฉลิมพระเกียรติ  เนื่องในโอกาศวันเฉลิมพระชนพรรษา  28  กรกฎาคม  พ.ศ.  2566  และออกหน่วยยริการ

มีกลุ่มเกษตรกรมาปรึกษาเรื่องการปลูกฝ้ายและเมล็ดพันธ์ุ มีเกษตรกร  ตำบลนาดินดำ  อำเภอเมืองเลย  จ.เลย  เข้ามาขอเมล็ดพันธ์ุเพื่อไปปลูก จำนวน  16  คน



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 13/08/2566 [15044]
32000 36
3 [14914]

คลินิกเทคโนโลยีลงพื้นที่บริการให้คำปรึกษาและถ่ายทอยเทคโนโลยี มีวิสาหกิจชุมชน มีจำนวน  6  กลุ่มดังนี้ 

1.กลุ่มภูคูนคำออร์แกนิกกรุ๊ป  จำนวนสมาชิกกลุ่ม  20  คน

ชื่อที่ปรึกษา  ดร.วิไลวรรณ สิมเชื้อ

เรื่องที่ให้ปรึกษา

การพัฒนาชาผงผัก

แนวทางที่ให้คำปรึกษา

ให้ทดลองใช้วิธีทำผักวัตถุดิบให้แห้งด้วยเทคนิคที่ยังคงรักษาสภาพ และสาระสำคัญของวัตถุดิบนั้นๆ

ทางคลินิกเทคโนโลยีเห็นว่าทางทางกลุ่มมีศักยภาพเพียงพอพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์การคงมาตรฐานผลิตภัณฑ์จำนวนผลิตภัณฑ์และสามรถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นและลดรายจ่ายได้จึงส่งต่อเข้าสู้แพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566

วันที่ให้ปรึกษา

12  เมษายน 2566

งบประมาณที่ใช้

ค่าเดินทาง 400 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240x2=480 บาท ค่าอาหาร 500 บาท รวม 1,380 บาท

2.การพัฒนาผ้าย้อมผงสีนาโนธรรมชาติที่มีสมบัติการต้านแบคทีเรียของกลุ่มฝ้ายย้อมไม้ จังหวัดเลย 

จำนวนสมาชิกกลุ่ม  28  คน

ชื่อที่ปรึกษา

ดร.ภัทรานุช ผงสุข

เรื่องที่ให้ปรึกษา

พัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตและพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ

แนวทางที่ให้คำปรึกษา

พัฒนากระบวนการเข็นฝ้าย (การตีเกรียวเส้นใยเป็นเส้นฝ้าย) ให้ง่ายและได้เร็วขึ้นวิเคราะห์เส้นใย เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเส้นใยฝ้ายเมืองเลย กับเส้นใยฝ้ายจากที่อื่น เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการยื่นขอจดสินค้า GIได้จึงส่งต่อเข้าสู้แพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566

วันที่ให้ปรึกษา

28  เมษายน  2566

งบประมาณที่ใช้

ค่าเดินทาง 500 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240x2=480 บาท ค่าอาหาร 350 บาท รวม 1,330 บาท

3.การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)และกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ สำหรับวิสาหกิจชุมชนกกก้านเหลือง จังหวัดเลย  จำนวนสมาชิกกลุ่ม  25  คน

ชื่อที่ปรึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เปรมชัย มูลหล้า

เรื่องที่ให้ปรึกษา

พัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตและพัฒนาระบบมาตรฐาน 

แนวทางที่ให้คำปรึกษา

พัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตให้ได้มาตราฐานการย้อมสีธรรมชาติพัฒนาลายผ้าเอกลักษณ์และมาตราฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน(มพช.)ได้จึงส่งต่อเข้าสู้แพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566

วันที่ให้ปรึกษา

งบประมาณที่ใช้

ค่าเดินทาง 700 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240x2=480 บาท ค่าอาหาร 300 บาท รวม 1,480 บาท

4.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ลวดลายอัตลักษณ์ย้อมสีธรรมชาติ สำหรับวิสาหกิจชุมบ้านณัฐจิรา จังหวัดเลย  จำนวนสมาชิกกลุ่ม  8  คน

ชื่อที่ปรึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เปรมชัย มูลหล้า

เรื่องที่ให้ปรึกษา

การพัฒนา นวัตกรรมการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมการพัฒนา และกระบวนการผลิต ออกแบบลวดลาย

แนวทางที่ให้คำปรึกษา

พัฒนาการออกแบบลวดลายที่ง่ายต่อการมัดหมี่ และขบวนการย้อมสีธรรมขาติที่สีสันสดใสติดทนนานเพื่อรอรับตลาดต่างประเทศ  พัฒนาขบวนการผลิต การสาวไหม การเข็นไหม การตีเกรียวให้ง่ายและเร็วขึ้น การย้อมเส้นไหม ขวบนการผลิตสีธรรมชาติสีสันที่ตลาดต้องการเพื่อเตรียมการขอรับมาตรฐานการผลิตและพัฒนาเพื่อขอรับ มผช. เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมได้จึงส่งต่อเข้าสู้แพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566

วันที่ให้ปรึกษา

งบประมาณที่ใช้

ค่าเดินทาง 500 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240x2=480 บาท ค่าอาหาร 300 บาท รวม 1,280 บาท

5.การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมลายนางหาร ผ้ารองจาน ผ้าคาดโต๊ะ และบรรจุภัณฑ์สำหรับวิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมืองหมู่ 12 จังหวัดเลย  จำนวนสมาชิกกลุ่ม  20  คน

ชื่อที่ปรึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เปรมชัย มูลหล้า

เรื่องที่ให้ปรึกษา

พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์และพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์

แนวทางที่ให้คำปรึกษา

ผ้าซิ่นลวดลายโบราณ หรือเกิดจากมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ตรงต่อความต้องการของลูกค้าการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น ผ้ารองจาน ผ้าปูโต๊ะ กระเป๋า หมวก ย่าม ฯบรรจุภัณฑ์ ต้องการบรรจุ สำหรับการส่งเสริมการขายสินค้า บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้จึงส่งต่อเข้าสู้แพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566

วันที่ให้ปรึกษา

งบประมาณที่ใช้

ค่าเดินทาง 700 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240x2=480 บาท ค่าอาหาร 650 บาท รวม 1,830 บาท

6.การพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสานบ้านจันทร์อ้อด้วยโปรแกรมพัฒนาลวดลาย จังหวัดเลย 

จำนวนสมาชิกกลุ่ม  5  คน

ชื่อที่ปรึกษา

วิสุทธิ์ กิจชัยนุกูล

เรื่องที่ให้ปรึกษา

พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์พัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตและพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ

แนวทางที่ให้คำปรึกษา

การผลิตกระเป๋าสานเส้นพลาสติกผสมวัสดุหนังต่อยอดผลิตภัณฑ์จักรสานหวายและไม่ไผ่ –ต้องการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตให้ได้มาตราฐานพัฒนาลวดลายของกระเป๋าสานพลาสติกที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มพัฒนาต่อยอดกระเป๋าสานพลาสติกให้ทันสมัยการตัดเย็บผ้าซับในกระเป๋าและการตัดเย็บกระเป๋าและตัดเย็บกระเป๋าผสมวัสดุหนังแท้หรือหนังเทียม (หนังPU)ได้จึงส่งต่อเข้าสู้แพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566

วันที่ให้ปรึกษา

งบประมาณที่ใช้

ค่าเดินทาง 500 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยง 240x2=480 บาท ค่าอาหาร 450 บาท รวม 1,430 บาท

จากที่คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราขภัฏเลย  ได้ส่งข้อเสนอโครงการแพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566  จำนวน  6  โครงการ  ได้รับการสนับสนุนโครงการแพลตฟอร์ม  OTP  ในปี 2566  สนับสนุนงบประมาณจำนวน  1,140,000  บาท   จำนวน  6  โครงการ ได้รับดั้งนี้

1. การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)และกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ สำหรับวิสาหกิจชุมชนกกก้านเหลือง จังหวัดเลย

2. การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ลวดลายอัตลักษณ์ย้อมสีธรรมชาติ สำหรับวิสาหกิจชุมบ้านณัฐจิรา จังหวัดเลย

3. การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมลายนางหาร ผ้ารองจาน ผ้าคาดโต๊ะ และบรรจุภัณฑ์สำหรับวิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมืองหมู่ 12 จังหวัดเลย

4. การพัฒนาผ้าย้อมผงสีนาโนธรรมชาติที่มีสมบัติการต้านแบคทีเรียของกลุ่มฝ้ายย้อมไม้ จังหวัดเลย

5. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสานบ้านจันทร์อ้อด้วยโปรแกรมพัฒนาลวดลาย จังหวัดเลย

6. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาผงผักและสมุนไพรเพื่อสุขภาพของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มภูคูนคำออร์แกนิคกรุ๊ป จังหวัดเลย

 



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 26/07/2566 [14914]
8730 106
3 [14892]

ในการติดตามข้อมูลวิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมือง หมู่ 12 ตั้งอยู่เลขที่ 20/2 หมู่ที่ 12 ตำบลเขาแก้ว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โดยมีนางโสภา คุ้มคำ อายุ 51 ปี เป็นประธานกลุ่มฯ จัดตั้งกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2549 รหัสทะเบียน 4-42-03-04/1-0002 มีสมาชิก จำนวน 20 คน (ช่างทอ 12 คน)

จากการร่วมจัดนิทรรศการผลงานการขับเคลื่อนล้านนาอย่างสร้างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม  สู้เศรษกิจฐาน  BCG “MHESI innovation  Fair for BCG Creative LANNA”  ในงาน Lanna  Expo  ๒๐๒๓ ตั้งแต่วันที่  ๓ - ๙  กรกฎาคม  ๒๕๖๖  ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเฉลิมพระเกียรติ  ๗  รอบพระชันพรรษา  อำเภอเชียงใหม่  จังหวัดเชียงใหม่ทางคลินิกเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยลงเก็บข้อมูลได้ดังนี้ 

1.ในการจัดนิทรรศการขายสินค้าได้ 10,000 บาท  ต้นทุน  7,500  บาท  รายได้เพิ่ม  2,500  บาท

2.ได้คอนแทคกับลูกค้าคนต่างชาติ  ในเรื่องการส่งและการขายให้ติดตามทางเพจน์ Taidamweaving  ลูกค้ามีดังนนี้

          -ลูกค้าประเทศเดนมาร์ค

          -ลูกค้าประเทศจีน

          -ลูกค้าประเทศเกาหลีใต้

3.ลูกค้าในประเทศไทย  มี 2  ที่

          1.โรงแรมอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ติดต่อซื้อขายเรื่องผ้าคุมเตียง ราคา  ผืนละ  6,500  บาท  ต้นทุน  2,200  บาทเพิ่มรายได้  4,300  บาท ต่อผืน

          2.โรงแรมอยู่ที่จังหวัดชลบุรี ติดต่อซื้อขายเรื่องผ้ารองจาน ราคา  ผืนละ  90  บาท  ต้นทุน  60  บาทเพิ่มรายได้  30  บาท  ต่อผืน

จากให้ปรึกษาลงพื้นที่เก็บข้อมูลแนะนำให้กลุ่มให้เข้าสู่การขอเขียนข้อเสนอโครงการ  BCE  ผลที่ได้รับข้อเสนอโครงการและได้การสนับสนุนโครงการ



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 19/07/2566 [14892]
10000 60
3 [14674]

ร่วมจัดนิทรรศการผลงานการขับเคลื่อนล้านนาอย่างสร้างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม  สู้เศรษกิจฐาน  BCG “MHESI innovation  Fair for BCG Creative LANNA”  ในงาน Lanna  Expo  ๒๐๒๓ ตั้งแต่วันที่  ๓ - ๙  กรกฎาคม  ๒๕๖๖  ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเฉลิมพระเกียรติ  ๗  รอบพระชันพรรษา  อำเภอเชียงใหม่  จังหวัดเชียงใหม่ 



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 05/07/2566 [14674]
32000 60
2 [13975]

ด้วย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) กำหนดจัดประชุม “การดำเนินงานตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในวันพุธที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 10.00 น. ผ่านระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Meeting)



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 31/03/2566 [13975]
0 5
2 [13974]

เข้าร่วมจัดนิทรรศการงานประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5   ประจำปี 2566  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน  ในวันศุกร์ที่  10  มีนาคม  2566   ณ  อาคารเรียนวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการ  (อาคาร  28)  คณะวิทยาศาสตร์แล้เทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 31/03/2566 [13974]
34000 68
2 [13880]

รวมจัดงานออกร้านนิทรรศการในงานดอกฝ้ายบาน  สืบสานนวัฒนธรรมไทยเลย  ประจำปีงบ  2566  ระว่างวันที่ 1-9  กุมภาพันธ์  2566  ณ  ร้านนิทรรศการมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย  หน้าสนามศาลากลางจังหวัดเลย  อำเภอเมืองเลย  จังหวัดเลย



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 23/03/2566 [13880]
54200 220
2 [13879]

ประชุมเชิงปฎิบัติการ  เรื่อง  แผนปฏิบัติการและแนวทางขับเคลื่อนงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สู่การพัฒนาภูมิภาค  ประจำปี  2567-2570



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 23/03/2566 [13879]
0 3
1 [13704]

ตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้มีประกาศรับสมัครคัดเลือกผู้ประกอบการเพื่อเข้าร่วมโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้าของ อว. ในการสนับสนุนการพัฒนาจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนไทยไปด้วยกันและหน่วยงานเครือข่ายของ อว. โดยมีผู้ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การคัดกรองตามหลักเกณฑ์ของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ และระบุรายชื่อสถาบันการศึกษาของท่านเป็นที่ปรึกษาโครงการ  ทางสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ พิจารณาแล้ว เห็นควรเชิญอาจารย์ที่มีรายชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการ พร้อมประสานผู้ประกอบการเข้าร่วมการประชุมพร้อมกันกับที่ปรึกษา  เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม 2565 – 13 มกราคม 2566 เวลา 09.30 – 16.30 น. 

ผ่านระบบประชุมทางไกลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Cloud Meetings) 

Meeting ID: 945 8178 8496 

Passcode: 500589 

ทางคลินิกเทคโนโลยีและที่ปรึกษาโครงการ พร้อมประสานผู้ประกอบการเข้าร่วมการประชุมพร้อมกันกับที่ปรึกษา  เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) เรื่องการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ลวดลายอัตลักษณ์ย้อมสีธรรมชาติ สำหรับวิสาหกิจชุมบ้านณัฐจิรา จังหวัดเลย

  ในวันที่  10  มกราคม  2566   เวลา  12.40-13.00  น.



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 02/03/2566 [13704]
2000 11
1 [13703]

ตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้มีประกาศรับสมัครคัดเลือกผู้ประกอบการเพื่อเข้าร่วมโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้าของ อว. ในการสนับสนุนการพัฒนาจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนไทยไปด้วยกันและหน่วยงานเครือข่ายของ อว. โดยมีผู้ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การคัดกรองตามหลักเกณฑ์ของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ และระบุรายชื่อสถาบันการศึกษาของท่านเป็นที่ปรึกษาโครงการ  ทางสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ พิจารณาแล้ว เห็นควรเชิญอาจารย์ที่มีรายชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการ พร้อมประสานผู้ประกอบการเข้าร่วมการประชุมพร้อมกันกับที่ปรึกษา  เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม 2565 – 13 มกราคม 2566 เวลา 09.30 – 16.30 น. 

ผ่านระบบประชุมทางไกลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Cloud Meetings) 

Meeting ID: 945 8178 8496 

Passcode: 500589 

ทางคลินิกเทคโนโลยีและที่ปรึกษาโครงการ พร้อมประสานผู้ประกอบการเข้าร่วมการประชุมพร้อมกันกับที่ปรึกษา  เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) เรื่องการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมลายนางหาร ผ้ารองจาน ผ้าคาดโต๊ะ และบรรจุภัณฑ์สำหรับวิสาหกิจชุมชนทอผ้าพื้นเมืองหมู่ 12 จังหวัดเลย

  ในวันที่  10  มกราคม  2566   เวลา  12.30-12.40  น.

 

 



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 02/03/2566 [13703]
2500 20
1 [13698]

 

ตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้มีประกาศรับสมัครคัดเลือกผู้ประกอบการเพื่อเข้าร่วมโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้าของ อว. ในการสนับสนุนการพัฒนาจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนไทยไปด้วยกันและหน่วยงานเครือข่ายของ อว. โดยมีผู้ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การคัดกรองตามหลักเกณฑ์ของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ และระบุรายชื่อสถาบันการศึกษาของท่านเป็นที่ปรึกษาโครงการ  ทางสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ พิจารณาแล้ว เห็นควรเชิญอาจารย์ที่มีรายชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการ พร้อมประสานผู้ประกอบการเข้าร่วมการประชุมพร้อมกันกับที่ปรึกษา  เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม 2565 – 13 มกราคม 2566 เวลา 09.30 – 16.30 น. 

ผ่านระบบประชุมทางไกลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Cloud Meetings) 

Meeting ID: 945 8178 8496 

Passcode: 500589 

ทางคลินิกเทคโนโลยีและที่ปรึกษาโครงการ พร้อมประสานผู้ประกอบการเข้าร่วมการประชุมพร้อมกันกับที่ปรึกษา  เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (Pitching) เรื่องการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)และกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ สำหรับวิสาหกิจชุมชนกกก้านเหลือง จังหวัดเลย  ในวันที่  9  มกราคม  2566   เวลา  12.17-12.47  น.

ค่าใช้รวมเงินเดือนเจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี  15000  บาท

 

 

 

 

 

 

 



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 01/03/2566 [13698]
18000 25
1 [13697]

ร่วมจัดนิทรรศการและถ่ายทอดเทคโนโลยีคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชชานุเคาระห์  สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ  ครั้งที่  1  ปีงบประมาณ  2566  ในวันศุกร์ที่  23  ธันวาคม  2565  ณ  โรงเรียนบ้านนายาง  หมู่ที่  4  บ้านยางเหนือ  ต.ภูกระดึง  อ.ภูกระดึง  จ.เลย 



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 28/02/2566 [13697]
8600 72
1 [13692]

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี การศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของถ่านไม้ไผ่ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สินค้าของชุมชุน

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สินค้าของชุมชุนที่จะนำาออกจำาหน่าย และยังมีส่วนช่วยในการพัฒนารูปแบบของผลิต ภัณฑ์ของชุมชนใน อนาคตของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรบ้านทุ่งใหญ่ ต. ภูกระดึง อ. ภูกระดึง จ. เลย ซึ่งพบว่าทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้น าไม้ไผ่ที่เหลือทิ้งจากการทำเกษตรมาเผา ถ่านในเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูง ให้สามารถนำ าไปใช้ในครัวเรือนช่วยลดค่าใช้จ่ายสำาหรับการซื้อแก๊สเชื้อเพลิงสำาหรับประกอบอาหาร และต่อยอดท าถ่านอัดแท่ง บางส่วน น าไปจำาหน่ายทำาให้มีรายได้เพิ่มเข้าสู่ครัวเรือนของเกษตรกร อีกทั้งเป็นการลดปัญหาผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมชาวบ้านในชุมชนรวมตัวก่อตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน เกิดความ ร่วมมือ สามัคคีและเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพในชุมชน ไม่ต้องเดินทางไปประกอบอาชีพยังต่างถิ่น ครอบครัวอบอุ่นมีความมั่นคง มีรายได้เพิ่มขึ้นท าให้มีความมั่งคั่งและ ความยั่งยืนของชุมชน โดยมีความร่วมมือจากทุกฝ่ายและหลากหลายหน่วยงาน อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเผาจากเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูงนั้นยังขาดในส่วนของ การวิเคราะห์คุณสมบัติเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นโครงการนี้จึงมีเป้าหมายในการวิเคราะห์คุณสมบัติเบื้องต้นของถ่านไม่ไผ่ โดยการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ เข้ามาช่วย เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สินค้าของชุมชุนที่จะน าออกจำาหน่าย และยังมีส่วนช่วยในการพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์ของชุมชนในอนาคต



รายงานโดย นายสมิง  ศรีกา วันที่รายงาน 27/02/2566 [13692]
17021 17