ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ดร.เยาวลักษณ์ จันทร์บาง สำนักงานปลัดกระทรวง Stored product insects, Insect pests of fruit crops, Urban Entomology
2 ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน สำนักงานปลัดกระทรวง Pollen development
3 ดร.พิชญา พูลลาภ สำนักงานปลัดกระทรวง Pichaya.aey@hotmail.com
4 ดร.ปาริชาติ เทียนจุมพล สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Technology Application of Near Infrared Spectroscopy
5 ดร.อรอุมา เรืองวงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Plant Pathology (bacteria and fungi), Plant Disease: Biological Control, Molecular Biology
6 ดร.พิมพ์ใจ สีหะนาม สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Physiology, Plant Physiology
7 ดร.ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest handling, Drying technology and Non-destructive
8 ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Post-Production Engineering
9 ดร.ดามร บัณฑุรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Thermal Fluid
10 ดร.ณัฐวุฒิ เนียมสอน สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Non-destructive Testing
11 ดร.วชิรญา อิ่มสบาย สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Biology and Technology (fuits and flowers)
12 ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย สำนักงานปลัดกระทรวง 1.ชีววิทยา สรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลทางพืชสวนหลังการเก็บเกี่ยว 2.การควบคุมคาร์เมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรตในพืช เช่น เมตาบอลึซึมของแป้งและน้ำตาล 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุ และรักษาคุณภาพของผลผลิตพืชสวน เน้น ผัก ผลไม้ และไม้ดอก ที่ปลูกในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical)
13 ดร.เนตรนภิส เขียวขำ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
14 ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล สำนักงานปลัดกระทรวง 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
15 ดร.วาณี ชนเห็นชอบ สำนักงานปลัดกระทรวง 1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร 2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ) 3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
16 ดร.วราภา มหากาญจนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง 1. ศึกษาการปรับตัวของแบคทีเรีย (Bacillus cereus, Escherichia coli , Salmonella และ Listeria monocytogenes) ต่อสภาพเครียดของกรด เกลือ และความร้อนในอาหาร 2. ประสิทธิภาพของสารฆ่าเชื้อ Ozone Chlorine dioxide และ สารประกอบคลอรีนต่อการยับยั้ง Salmonella spp., E. coli และ Listeria monocytogenes ในผักสด
17 ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา สำนักงานปลัดกระทรวง เป็นทีมวิจัยที่พบสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนและรายงานว่าเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani พบในประเทศไทย โดยตีพิมพ์ผลงาน ในวารสาร Plants Pongpisutta, R., Keawmanee, P., Sanguansub, S., Dokchan, P., Bincader, S., Phuntumart, V. and Rattanakreetakul, C. 2023. Comprehensive investigation of die-back disease caused by Fusarium in durian. Plants 12, 3045. https://doi.org/10.3390/plants12173045 นอกจากนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยซึ่งได้รับทุนจากศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวารสารนานาชาติ 2 ฉบับ ได้แก่ 1) Rattanakreetakul, C., Keawmanee, P., Bincader, S., Mongkolporn, O., Phuntumart, V., Chiba, S. and Pongpisutta, R. 2023. Two newly identified Colletotrichum species associated with mango anthracnose in central Thailand. Plants 12, 1130. https://doi.org/10.3390/plants12051130 และ 2) Bincader, S., Pongpisutta, R. and Rattanakreetakul, C. 2022. Diversity of Colletotrichum species causing anthracnose disease from mango cv. Nam Dork Mai See Tong based on ISSR-PCR. Indian Journal of Agricultural Research 56 (1): 81-90. https://doi.org/10.18805/IJARe.AF-691.
18 ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก, เครื่องสับเหง้ามันสำปะหลัง, งานวิจัยด้านการนวัตกรรมทางการเกษตร
19 ดร.ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ สำนักงานปลัดกระทรวง Micro-nano bubbles Technology, การปลูกพืชในระบบ Plant factory, เทคโนโลยีการผลิตต้นอ่อนพืชในระบบปิด
20 ดร.มัณฑนา บัวหนอง สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Technology of Ornamentals
21 ดร.พนิดา บุญฤทธิ์ธงไชย สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology, Fresh cut Technology
22 ดร.วาริช ศรีละออง สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Physiology and Biochemistry, Postharvest Logistics and supply chain management
23 ดร.ผ่องเพ็ญ จิตอารีย์รัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest pathology and physiology; Food safety of minimally processed fruit and vegetables
24 ดร.ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย สำนักงานปลัดกระทรวง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์พืช และเมล็ดพืชอาหาร
25 ดร.อภิรดี อุทัยรัตนกิจ สำนักงานปลัดกระทรวง การลดความเสียหายของผักและผลไม้, การใช้เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้, ผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค, การใช้ LEDs กระตุ้นสารสำคัญในผัก
26 ดร.เฉลิมชัย วงษ์อารี สำนักงานปลัดกระทรวง Storage System and Logistics of Fresh Produce, Colour and Flavour Analysis in Fresh Produce
27 ดร.จารุพล สุริยวนากุล สำนักงานปลัดกระทรวง Heat Treatment, Quality control of temperature measuring instrument, การวิเคราะห์แบบจำลองทางพลศาสตร์
28 ดร.สมพร เกษแก้ว สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 การศึกษาคุณลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน เอนไซม์ เปปไทด์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านพลังงานและเวชสำอางจากพืช อันดับ 2 พลังงานชีวมวล
29 ดร.กิตติพงษ์ ลาลุน สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) , อันดับ 2 เทคโนโลยีชีวมวล (Bio mass Technology) , อันดับ 3 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology)
30 ดร.คำนึง วาทโยธา สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) , อันดับ 2 ด้านกระบวนการอบแห้ง (Drying Process)
31 ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สำนักงานปลัดกระทรวง อันดับ 1 เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) , อันดับ 2 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) , อันดับ 3 วิศวกรรมเกษตรและอาหาร (Agricultural and Food Engineering) อันดับ 4 การจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม (Farm Technology Management) , อันดับ 5 เทคโนโลยีชีวมวล (Bio mass Technology)
32 ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology /technology and handling of tropical fruit and vegetable/fruit growth and development
33 ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology of horticultural crops, Plant Biotechnology
34 ดร.วราภา มหากาญจนกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Safety of minimally processed produce Microbial stress response GMP/HACCP system Mycotoxin detection in food products ความปลอดภัยของการผลิตด้วยการแปรรูปน้อยวิธี, การตอบสนองต่อความเครียดของจุลินทรีย์, ระบบ GMP/HACCP, การตรวจสารพิษจากเชื้อราในผลิตภัณฑ์อาหาร
35 ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา สำนักงานปลัดกระทรวง 1. อนุกรมวิธานของเชื้อราและชีวโมเลกุล , 2. ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 3. เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว
36 ดร.อนุพันธ์ เทอดวงศ์วรกุล สำนักงานปลัดกระทรวง Non-destructive evaluation of fruit quality; Near infrared spectroscopy; Hyperspectral imaging technique; Electrical impedance spectroscopy
37 ดร.วาณี ชนเห็นชอบ สำนักงานปลัดกระทรวง Food Packaging, Active Packaging of Fresh Produce, Distribution Packaging
38 ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล สำนักงานปลัดกระทรวง 1. ความสัมพันธ์ของพืชและเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 2. การจัดการโรค และการใช้สารเคมี
39 ดร.เนตรนภิส เขียวขำ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
40 ดร.สมศิริ แสงโชติ สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Pathology
41 ดร.วชิรญา อิ่มสบาย สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Biology and Technology (fuits and flowers)
42 ดร.จริงแท้ ศิริพานิช สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest physiology of fruit and vegetable
43 ดร.ณัฐวุฒิ เนียมสอน สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Non-destructive Testing
44 ดร.ดามร บัณฑุรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Thermal Fluid
45 ดร.ดามร บัณฑุรัตน์ สำนักงานปลัดกระทรวง Thermal Fluid
46 ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ สำนักงานปลัดกระทรวง Agricultural Post-Production Engineering
47 ดร.ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest handling, Drying technology and Non-destructive
48 ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน สำนักงานปลัดกระทรวง Pollen development
49 ดร.อรอุมา เรืองวงษ์ สำนักงานปลัดกระทรวง Plant Pathology (bacteria and fungi), Plant Disease: Biological Control, Molecular Biology
50 ดร.พิมพ์ใจ สีหะนาม สำนักงานปลัดกระทรวง Postharvest Physiology, Plant Physiology
51 ดร.พิชญา พูลลาภ สำนักงานปลัดกระทรวง Bioresouce Engineering