1 |
นายณัฐกิตติ์ มาฟู |
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย |
สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำเสนอให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆร่วมกัน |
2 |
นายสุทธิ มลิทอง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย |
"การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง
การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด" |
3 |
ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร |
4 |
นางศิริรัตน์ ดีศีลธรรม |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ |
5 |
อ.บุษบา ธระเสนา |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีอาหาร |
6 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิภาวรรณ์ จิตโสภากุล |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ |
เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในไนโตรเจนเหลว การปรับปรุงพันธุ์ และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ |
7 |
ผศ.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การใช้เทคนิคทางทางชีววิทยาโมเลกุลในการพัฒนาชุดตรวจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร พัฒนาสารถนอมอาหารทางชีวภาพ |
8 |
ผศ.ดร.สมบูรณ์ คำเตจา |
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย |
ความหลากหลายทางชีวภาพด้านสัตว์ โดยเฉพาะกลุ่มนกในเขตภาคเหนือ
การถ่ายภาพสิ่งมีชีวิตด้านวิทยาศาสตร์ การสำรวจทรัพยากรชีวภาพ |
9 |
ผศ.ปฐมาภรณ์ ทิลารักษ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี |
การแปรรูป การทำสบู่ จากเห็ดถังเช่า |
10 |
อ.พชร วรรณภิวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี |
ความหลากหลายทางชีวภาพภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน |
11 |
นางสาวสุกัญญา คำหล้า |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
ทรัพยากรการประมง |
12 |
อ.ดร.โกวิทย์ น้อยโคตร |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
การตรวจสอบชนิดของพืชและสัตว์ด้วยดีเอ็นเอ |
13 |
ผศ.ดร.นิสราภรณ์ เพ็ชร์สุทธิ์ |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
นิเวศทางน้ำและการประมง สาหร่ายและแพลงก์ตอนวิทยา |
14 |
ผศ.ดร.วสันต์ เพิงสูงเนิน |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
อนุกรมวิธานไลเคน, ราสาเหตุโรคพืช |
15 |
นายวินัฐ จิตรเกาะ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
รวบรวม เก็บรักษา ทรัพยากรชีวภาพ จุลินทรีย์ พืช และสัตว์ พร้อมทั้งจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ |
16 |
ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร |
17 |
รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน
2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย
3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์
4.วัสดุเก็บความร้อน |
18 |
รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช
3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค |
19 |
ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.ชีวเคมี
2.โปรติโอมิกส์
3.การเพาะเลี้ยงเซลล์
4.กลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์ |
20 |
รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห
2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย
3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ
4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์ |
21 |
ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์
2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
3.สีย้อมอินทรีย์
|
22 |
นางสาวธันยกานต์ คูณสิน |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ |
ทรัพยากรประมง การเลี้ยงปลา |
23 |
อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ |
ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา |
24 |
ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร |
25 |
ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช |
26 |
นางพนิดา เหล่าทองสาร |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์ |
27 |
ดร. รุ่งนภา ทากัน |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
Aquatic Insect/ Entomology, Ecotoxicology and Environmental Toxicology, Aquatic Pollution, Biodiversity, Biotechnique, |
28 |
ดร. ศรัณย์ จีนะเจริญ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
Genetics, DNA Markers, Population Genetics, Conservation Genetics, Molecular Evolution |
29 |
รองศาสตราจารย์ ดร.เบ็ญจมาศ จันทะภา ไพบูลย์กิจกุล |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
คุณภาพน้ำ, สิ่งแวดล้อมทางน้ำ, นิเวศวิทยาของป่าชายเลน, การประเมินผลก ระทบสิ่งแวดล้อม |
30 |
ผศ.ดร.อาทิตยา มีหนองว้า |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ |
เคมีประยุกต์ เคมีชีวภาพ |
31 |
รศ.ดร.กันทิมา สุวรรณพงศ์ |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
ววิทยา สัตววิทยา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ |
32 |
นางสาวกิติยา หย่างถาวร |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสมุนไพร (in vitro) เช่น anti-oxidant, anti-diabetic, anti-hypertensive, cytotoxicity |
33 |
ดร.จันทร์จรัส วัฒนโชติ |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล |
34 |
พาตีเมาะ อาแยกาจิ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา |
การสำรวจ ศึกษา วิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพืช |
35 |
ซูไบดี โตะโมะ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา |
มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง |
36 |
นายมูฮัมหมัดตายุดิน บาฮะคีรี |
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา |
ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ |
37 |
อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา |
การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ |
38 |
ผศ.ปริญญา ไกรวุฒินันท์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ |
การประเมินคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้ (T-VER ป่าไม้) |
39 |
ผศ.ดร.วรนุช ดีละมัน |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การแปรรูปของเสียจากภาคการเกษตรมาเพิ่มมูลค่าลดปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม
|
40 |
ผศ.ดร. ปิยนุช คะเณมา |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ชีวภาพ ชีววิทยา วิเคราะห์สารในพืช |
41 |
รองศาสตราจารย์ ดร.ล้อมพงศ์ กลิ่นนาวี |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (ชีววิทยา)
Carbon Credit |
42 |
นายเวชศาสตร์ พลเยี่ยม |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
เฉพาะทางด้านไลเคน |