ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
2 ผศ ดร เขมฤทัย ถามะพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Bio-nanomaterials, Biosensors and Chemical sensors, Forensic science
3 นางจิตตะวัน กุโบลา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร
4 นางสาวสุธีรา สุนทรารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การกำจัดขยะแต่ละประเภทให้เหมาะสม (การแปรรูป รีไซเคิล) ออกแบบและแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา
5 นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
6 นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
7 อ.ดร.ปิยาภรณ์ ภาษิตกุล มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การประยุกต์ใช้เอนไซม์
8 ผศ.ดร.นุกูล อินทระสังขา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้านจุลชีววิทยา
9 นางสาวหัสลินดา บินมะแอ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคทางจุลชีววิทยา, อบรมเจลยับยั้งจุลินทรีย์, การทำโยเกิร์ตอย่างง่าย, การผลิตโยเกิร์ตเพื่อสุขภาพ, การเลี้ยงและขยายเชื้อพันธุ์วุ้นสวรรค์อย่างง่าย, อาหารปลอดภัย ห่างไกลเชื้อโรค
10 นางสาวพาริณี โลมาอินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดเศรษฐกิจ
11 อ.ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การผลิตฟิล์มเคลือบผิวที่บริโภคได้ (Edible film) จากเพคทินที่สกัดจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
12 ผศ.ดร.หฤทัย ไทยสุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การตรวจสอบการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร
13 ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
14 อ.ดร.เยาวเรศ ชูศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การวิเคราะห์และทดสอบคุณสมบัติขอสารชีวโมเลกุล เช่น คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ
15 อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
16 นส.พิมพ์ใจ กอแก้ว มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ชีววิทยา
17 ดร.สุทธิลักษณ์ ขวัญไตรรัตน์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย จุลชีววิทยา
18 รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
19 รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
20 ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles
21 นางสาวอำพร ท่าดะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา • ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา เช่น Escherichia coli โคลีฟอร์มแบคทีเรีย และการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพน้ำของกรมอนามัย • ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางจุลชีววิทยา เช่น จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด การปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. • ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพร เช่น จำนวนแบคทีเรียทั้งหมด จำนวนยีสต์และราทั้งหมด Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Enterobacteria • การทดสอบตัวอย่างและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยเทคนิกทางจุลชีววิทยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. • ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางชีววิทยาให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน
22 ดร.พงษ์พันธุ์ ลีฬหเกรียงไกร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (จุลชีววิทยา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -ความหลากหลายทางชีวภาพสาหร่ายน้ำจืด -นิเวศวิทยาน้ำจืด -การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางน้ำ -สิ่งแวดล้อมทางน้ำ
23 ดร.ปมณฑ์ ภูมาศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท. ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์มลพิษสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
24 ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
25 ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
26 สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ
27 นายอรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชีววิทยาและเกษตรศาสตร์
28 นางสาวนาตาลี อาร์ ใจเย็น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สมุนไพรไทยปลาไหลเผือก
29 ดร.นงนาถ พ่อค้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี อณูชีววิทยา พันธุวิศวกรรม
30 ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
31 ดร.อรรถพล นาขวา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
32 ดร.อรวรรณ วนะชีวิน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัด การทดสอบฤทธิ์ต่อการทำงานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกลไกการเกิดโรคเบาหวาน (Glucosidase /Amylase) การทดสอบสารพฤษเคมีเบื้องต้น การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์
33 ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
34 นายธีรพงค์ หมวดศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ การใช้เครื่องมือวิเคราะห์อาหารทางกายภาพ
35 นายวินัฐ จิตรเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยา
36 นางสาวรจนา เชื้อโคกกรวด มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา
37 อาจารย์กัลย์สุดา ดวงศรีแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี จุลชีววิทยาทางอาหารและการเกษตร
38 นายสุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การตรวจวิเคราะห์อาหารทางจุลชีววิทยา
39 สุรศักดิ์ ขันคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีววิทยา ด้านพืชและสัตว์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ
40 ผศ.ดร.สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ด้านอาหารและการเกษตร โปรไบโอติกและยีสต์
41 รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก
42 ดร.ปวีณา ดีกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม การแปรรูปข้าว
43 ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การผลิตเครื่องสำอาง
44 อาจารย์เจนจิรา เดชรักษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์จุลินทรีย์ในดินและน้้า การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์
45 นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ 1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ 2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology)
46 อาจารย์วิจิตรา เฉิดฉิ้ม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เทคโนโลยีชีววิทยา
47 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารมี หนูนิ่ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - จุลชีววิทยาอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
48 นางสาวอังคณา ไพสิฐเฟื่องฟู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การใช้ประโยชน์จากเชื้อจุลินทรีย์ และการแก้ไขปัญหาในกระบวนการผลิตที่มีสาเหตุจากเชื้อจุลินทรีย์
49 นางวิมล อำนาจผูก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและ โภชนาการ เทคโนโลยีอาหาร และทางด้านการทดสอบหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้พ และสิ่งแวดล้อม
50 ผศ.ดร.พันธ์ทิพย์ ตันอร่าม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การใช้สารสกัดใบเหมียดแอ่เป็นสารช่วยย้อมติดสีไหม
51 ผศ.ดร.แววดาว ดาทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การป้องกันแมลงศัตรูพืชในนาข้าวด้วยชีววิธี และการใช้สารเคมี ในนาข้าวหอมมะลิด าและข้าว สังข์หยดโคราช บริเวณพื้นที่อ าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
52 ดร.สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ
53 นางสาวสุกัญญา ทับทิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านฟิสิกส์ทางการเกษตร ฟิสิกส์พลังงาน ชีวมวลและวิจัยในชั้นเรียนทางฟิสิกส์
54 ดร.อรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา แบคทีเรียดื้อยา และยีนดื้อยา
55 ดร.นุชสุภา สุนทมาลา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทบสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและสมุนไพร
56 นายคมศร เลาห์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนากระบวนการต้มเกลือ การผลิตดอกเกลือ และชุดตรวจสอบความเค็ม
57 ผศ.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้เทคนิคทางทางชีววิทยาโมเลกุลในการพัฒนาชุดตรวจุลินทรีย์ปนเปื้อนในอาหาร พัฒนาสารถนอมอาหารทางชีวภาพ
58 ผศ.นันท์ชนก นันทะไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การเก็บรักษาผลิตผลสดทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว 2. การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุมและสภาพบรรยากาศดัดแปลง 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร
59 ดร.ปิยสุดา เทพนอก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร น้ำ
60 นายธีระ ธรรมวงศา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
61 อาจารย์ ดร.วราภรณ์ แก้วคอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพาะเห็ดโดยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่น และใช้ประโยชน์และการแยกเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า
62 อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
63 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติชัย จันธิมา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปรสิตวิทยา, นิเวศวิทยาน้ำจืด ความหลากหลายและอนุกรมวิธานของพยาธิใบไม้ ระบาดวิทยาของพยาธิใบไม้ในโฮสต์กึ่งกลาง ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำกับโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้
64 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารและน้ำทางด้านจุลชีววิทยา
65 รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ ปิ่นมงคลกุล มหาวิทยาลัยพะเยา การประยุกต์ใช้นวัตกรรมบริหารจัดการน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินยกระดับขีดความสามารถ ชุมชนเพื่อรับมือภัยแล้ง ตำบลฝ่ายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
66 ผศ. ดร. นฤมล มงคลธนวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ด้านผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์
67 ผศ.อมรรัตน์ สุวรรณโพธิ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ การผลิตแบคทีเรียลเซลลูโลสหรือไบโอเซลลูโลส
68 ดร.ปกรณ์ ประจวบวัน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับพืชผัก
69 อ.พันธ์ทิพย์ เลิศบุรุษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ การเฝ้าระวังระบบน้ำทางการเกษตร การประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางน้ำ
70 รศ. ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร ความปลอดภัยในอาหารเเละจุลชีววิทยา
71 ผศ.ดร.ธรณ์ธันย์ สว่างวรรณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง Biosynthesis pf prebiotic compound from agricultural residue
72 นางสาวอาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การตรวจคัดแยกเชื้อจุลินทรีย์
73 ดร.อรรถพล ตันไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา แบคทีเรียดื้อยา และยีนดื้อยา
74 ดร.สุจิตตรา อินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ
75 นายธีระวัฒน์ สุขใส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ด้านห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับอาหารทั้งหมด
76 ผศ.ดร.ธนิกา ธรสินธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จุลินทรีลำไส้มนุษย์
77 นางสาวกาญจนา พิศาภาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการเกษตร -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การเตรียมและศึกษาสมบัติของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตขึ้น จากวัสดุทางธรรมชาติ
78 นางสาวกัญญา กอแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -จุลชีววิทยา -พันธุศาสตร์จุลินทรีย์
79 ผศ.ดร.วิชนี มัธยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การศึกษาสมบัติทางโครงสร้างและสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ของวัสดุหรือโครงสร้างอื่นๆด้วยระเบียบวิธีทางเคมีคอมพิวเตอร์
80 อาจารย์สุนทรา เฟื่องฟุ้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา - เคมีอินทรีย์ - เคมีสิ่งแวดล้อม - เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
81 อาจารย์ปวีณา สุขสอาด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา อนุกรมวิธานแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีท การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
82 วราภรณ์ ผาลี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Molecular genetics, Parasitology, Biology
83 สิทธิชัย อุดก่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Molecular genetics, Shrimp molecular genetics
84 นพรัตน์ วรรณเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม อนุกรมวิธานเห็ด, Fungal Systematics
85 นฤมล เถื่อนกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Biology, จุลชีววิทยา ด้าน แบคทีเรีย สีย้อมจากแอคติโนมัยซีส จุลชีววิทยาทางอาหาร
86 สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม fungal taxonomy, fungal diversity, การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา, Agriculture
87 วิสูตร จันทร์อิฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Diarrheal viruses ไวรัสก่อโรคท้องร่วง Rotavirus ไวรัสโรตา
88 รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ 4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์
89 ดร.วันฉัตร ศิริสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านจุลินทรีย์และเชื้อก่อโรคในอาหาร
90 นางสุภัทรตรา สุขะ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
91 รศ.เสมอขวัญ ตันติกุล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ
92 อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตสารสกัดจากพืช
93 ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
94 นางสาวนิรันตรี ทวีโคตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร ชีววิทยา และจุลชีววิทยา การทำงานของจุลินทรีย์
95 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ หัวเชื้อจุรินทรีย์หน่อกล้วย
96 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ฮอร์โมน- น้ำหมักชีวภาพ
97 นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ออร์โมนไข่
98 ดร.อดิศรา ตันตสุทธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์
99 รศ. ดร. พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีอาหาร และกระบวนการบรรจุภัณฑ์ ระบบ retort Food safety
100 ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
101 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ชีววิทยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แปรรูปสมุนไพร เวชสำอาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร
102 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา
103 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสง
104 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทำปุ๋ยอินทรีย์
105 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายฟางข้าว
106 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายเซลลูโลสในฟางข้าว
107 รศ.ดร.ปุริม จารุจำรัส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · Patterned Paper and Alternative Materials as Substrates for Low-Cost Microfluidics& Sensors · The development of functional nanocomposites on fiber-based microfluidics analytical device for novel chemical and biosensing · Functional Nanocomposites-Based Methodologies · Development of Field Test Kits · Analytical Chemistry Education · Spectroanalytical Chemistry
108 นางสาวหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี สิ่งประดิด่านเทคโนโลยีชีวภาพ
109 ผศ.ดร.ปิยะธิดา กุศล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชีววิทยาสิ่งมีชีวิต ปรสิตวิทยา
110 ดร.ยาสมี เลาหสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีชีวภาพ (ฺBiotechnology) กระบวนการชีวภาพ (Bioprocess) กระบวนการหมัก (Fermentation) การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือ (Waste Utilization)
111 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตจุลินทรีย์จาวปลวก
112 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
113 นางสาวทิพยาดา ธีรฐานกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อความงาม
114 ดร. สุภัทรา พงศ์ภราดร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สาหร่ายทะเล
115 รศ.ดร.เทียมหทัย ชูพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีชีววิทยา พืช
116 ผศ.ดร.ขวัญประเสริฐ พันธุ์ชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชีววิทยา จุลชีววิทยา
117 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาอัตราการงอกของพริกซุปเปอร์ฮ็อตที่ใช้สารSPEED B1 EXTRA PLUS ต่างอัตราส่วน
118 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาฮอร์โมนต่างชนิดที่มีผลต่อผลผลิตดาวเรืองตัดดอก
119 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท
120 นายสมบูรณ์ มัจฉา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน
121 ธรรมศาสตร์ จันทรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมข้าวศัตรูพืช, Zero Waste, การสร้างมูลค่า
122 ดร.ภัทรมาศ เทียมเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การบำบัดน้้าเสีย น้้าชะมูลฝอย การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการ การนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์
123 อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
124 ดารินทร์ ล้วนวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
125 กาญจนวรรณ สีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การวิเคราะห์ดิน การวิเคราะห์น้ำ การใช้พืชบำบัดน้ำเสีย
126 ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์
127 อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ศรีหงษ์ทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ชีวเคมี เคมี
128 ดร.พิชณ์สิณี สุวรรณแพทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Graphene-based materials and related nanomaterials, Nanocomposites, graphene oxide solution, calcium lactate solution, and a mixture of graphene oxide and calcium lactate solution.
129 ดร.ณัฏฐิรา ก๋าวินจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านโครงสร้างหน้าตัดของดิน (Soil Profile) และวัดปริมาณคาร์บอนที่สะสมในดิน
130 ผศ.ดร.พรทิพพา พิญญาพงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การคัดแยกแบคทีเรียกรดแลกติก
131 อ.ดร.สุทธิดา วิทนาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
132 ผศ.ดร.ศิรินาถ ศรีอ่อนนวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีจุลชีววิทยาทางอาหาร
133 ผศ.ดร.นพคุณ ภักดีณรงค์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ ชีววิทยา วิเคราะห์สารอาหาร
134 ผศ.ดร. ปิยนุช คะเณมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ ชีววิทยา วิเคราะห์สารในพืช
135 รศ.ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ ชีววิทยา
136 ผศ.ดร.จินดาพร จำรัสเลิศลักษณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิศวกรรมอุณหภาพ และขีวภาพ
137 ผศ.ดร.สิริพัค สุระพร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวภาพ การวิจัยด้านหม่อนและไหม วิจัยครั่งที่ใช้ย้อมสี
138 รศ.ดร.จิตรลดา วิชาผง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตรวจวิเคราะห์สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เคมีวิเคราะห์
139 ดร.อุไรวรรณ เพ็ชรกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ เคมีอินทรีย์
140 ผศ.ดร.สายใจ แก้วอ่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีชีวภาพ,ชีววิทยา
141 รองศาสตราจารย์ ดร.สราวุฒิ สมนาม มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมี) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ การวิเคราะห์ทางเคมี, การพัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์แบบประหยัด สาขาความเชี่ยวชาญ การวิเคราะห์ทางเคมี
142 อาจารย์ ดร.นฤมล รักไชย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การผลิตไซรัปจากข้าวช่อขิง ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ
143 ผศ.ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การเต​รี​ยม​สาร​สกัด​จาก​สมุน​ไพร​ การ​ทดสอบ​ฤทธิ์​ทางชีวภาพ​ต่าง​ ๆ ของ​สาร​สกัด​