ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผศ.ดร.ชัยรัตน์ บูรณะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีการผลิตพืช การจัดการเกษตร การวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (สวนพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน) เกษตรสมัยใหม่ (Digital Agriculture, Smart Farm)
2 นางสาวภวิกา บุณยพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: ด้านโรคพืช วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด การเพาะเห็ด
3 นางสาวนพรัตน์ ถวิลเวทิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีความชำนาญ: - ดูแลงานขยายพันธุ์พืชด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และงานตลาดและงานวิจัยของศูนย์ฯ
4 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
5 นางสาวอชิรา ผดุงฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อาหารสัตว์ คำนวนสูตรอาหารสัตว์
6 นายทองมี เหมาะสม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการสกัดสารจากพืช, การกลั่นน้ำมันหอมระเหย
7 ดร.สุรชัย เตชะเอ้ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้ประโยชน์จากจุลชีพ,Microbiology, Biotechnology
8 นางสาวสุรีย์รัตน์ บัวชื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร การตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน ปุ๋ย
9 ผศ.ดร.กฤษดา พงษ์การัณยภาส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบบเกษตรเทคโนโลยีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ท้องถิ่นเพื่อการเกษตร สมุนไพรพื้นบ้าน
10 อุมาวดี ศรีเกษตรสรากุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี สรีรวิทยาพืช การผลิตพืช
11 ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสวน/พื้นที่เกษตรแบบปลอดภัย ตามหลักการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Zero Waste)
12 อาจารย์ ดร.อรรถกร พรมวี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทางด้านพืชศาสตร์ ระบบไฮโดรโปนิกส์
13 ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูพืช
14 รศ.ดร.เอกรัตน์ เอกศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะละกอแก่เกษตรกร
15 ผศ.เนตรนภา รัตนโพธานันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นำวัสดุเหลือใช้ทางเกาตรจากฟางข้าวเพื่อผลิตเป็นอาหารสัตว์อัดแท่ง
16 อาจารย์ปรัชญา บำรุงกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Image Processing, Smart Farm
17 อาจารย์ณัชชา สมจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. การจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ 2. การตลาดและการผลิต สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
18 อ.กฤตชัย บุญศิวนนท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
19 อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
20 อาจารย์นิรมล ศรีชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1. เคมีสภาวะแวดล้อม 2. เคมีอนินทรีย์ 3. เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 4. การผลิตอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
21 นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การทำสารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การปลูกผักอินทรีย์ การปลูกเมล่อนมาตรฐานอาหารปลอดภัยในโรงเรือน
22 ดร.วัลลีย์ อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การทำน้ายาอเนกประสงค์จากธรรมชาติ และสารชีวภาพเพื่อการเกษตร
23 อาจารย์ศิวดล แจ่มจำรัส มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเลือกพื้นที่ - สารเคมีเกษตร - การปรับปรุงดินสำหรับการปลูกพืช - ชนิดของผัก และระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ - ไม้ผล
24 นางสาวเกตวรรณ บุญเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านสัตวศาสตร์ โภชนศาสตร์สัตว์
25 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ดวงใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ...อาหารสัตว์น้ำ...ฮอร์โมนเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
26 นายจุลทรรศน์ คีรีแลง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน 1. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. อาหารสัตว์น้ำ 3. การเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่นในระบบน้ำหมุนเวียน
27 ผศ.ดร.วิรัช อนุชานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร, เทคโนโลยีการเกษตร
28 ดร.เรวัฒน์ เติมกล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลเกษตร
29 ผศ.วัฒนา ภารัตนวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร, เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการเกษตร
30 ดร.ณัฎฐ์ธนัน กีรติญาดาธนภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกล, ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร
31 ผศ.ณัฐรินทร์ ศิริรัตนนันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำ - วิธีการวัดคุณภาพน้ำ และการประเมินค่าคุณภาพน้ำอย่างง่ายสำหรับเกษตรกร
32 นายชัยยุทธ นนทะโคตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาศาสตร์การเกษตร
33 นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
34 ผศ.ดร.กมลพร ปานง่อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เทคโนโลยีพลาสมา การใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำเพื่อเพิ่มคุณภาพของเมล็ดพันธุ์พริก
35 อ.ดร.รัฐพล แสงระยับ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง 3.การอบแห้งอาหาร 4.การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
36 อ.ดร.นิรมล สันติภาพวิวัฒนา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การยืดอายุการเก็บรักษาดอกไม้โดยใช้เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการจัดดอกไม้
37 นางสาวประภาพันธ์ ศิริขันธ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
38 นางสาวสุวรรณา จันคนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร สมุนไพร การวิเคราะห์ทางเคมี
39 นายทวีชัย นิมาแสง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร การแปรสภาพ แปรรูปผลผลิตเกษตร การออกแบบเตาอบใช้ฟืนและท่อแลกเปลี่ยนความร้อนสำหรับผลผลิตเกษตร
40 อาจารย์เนติยา การะเกตุ มหาวิทยาลัยมหิดล การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช
41 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
42 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
43 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
44 ดร.ชยานนท์ สวัสดีนฤนาท มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (สิ่งแวดล้อม) วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.S. (Environmental Engineering) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Molecular Biosciences and Bioengineering) - ด้านเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ - ด้านเทคโนโลยี biorefinery - ด้านเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียและของเสีย - ด้านเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน - ด้านมลพิษทางอากาศ PM 2.5
45 ผศ.นภา ขันสุภา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
46 ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว)
47 ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ข้าว
48 รศ.ดร.จานุลักษณ์ ขนบดี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
49 นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
50 ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
51 ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
52 ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ ชุมแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการจัดการเกษตรให้มีคุณภาพ การขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เชื้อราไตรโคเดอร์มาและวิธีการใช้งานกับพืชแต่ละชนิด เทคโนโลยีการ ผลิตสับปะรดทั้งในและนอกฤดู
53 อาจารย์ ดร.พจนีย์ แสงมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง การตรวจวิเคราะห์ดินและการใช้ปุ๋ยอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การขอมาตรฐานทางการเกษตร
54 อรุณศักดิ์ ไชยอุบล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เครื่องกรองน้ำ แก๊สชีวภาพ เครื่องอัดถ่าน ปุ๋ย
55 รศ.ดร.ฤทธิชัย พิลาไชย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์
56 ดร.วิบูล เป็นสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เทคโนโลยีการผลิตพืช การปรับปรุงพันธุ์พืช
57 ดร.ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ 2.เทคโนโลยีการเกษตรการผลิตอาหารสัตว์ต่างๆๆๆ
58 อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีการผลิตผักไร้สารพิษ
59 อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - เทคโนโลยีขั้นสูงสำหรับการผลิตพืช
60 นายบัญชา รัตนีทู มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เชี่ยวชาญในเรื่องของการปรับปรุงสภาพดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการลดการใช้ปุ๋ยเคมี
61 อาจารย์อุไรวรรณ วันทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบจัดการน้ำพืชสวน แบบ Smart farming
62 ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
63 ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
64 รศ. ดร.โอภาส พิมพา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โคเนื้อ โคขุน อาหารโค
65 ผศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น การแปรรูป การตลาด เป็นต้น
66 ดร.ไมตรี แก้วทับทิม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
67 รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
68 รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
69 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
70 นายมนตรี โนนพะยอม วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น พัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร
71 ผศ.ดร.รัชนี เพ็ชร์ช้าง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
72 รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Smart farming) - คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส
73 รศ. ดร.วิชัย หวังวโรดม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก
74 ผศ. ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนานวัตกรรมการใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นในการกำจัดศัตรูพืชในนาข้าวอินทรีย์
75 ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 8. ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
76 อาจารย์วาสนา แผลติตะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การผลิตพืชผลทางการเกษตร (Crop)
77 ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(เกษตรศาสตร์)มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.(Animal Production), The University of Aberdeen Scotland, UK ความเชี่ยวชาญ การผลิตสัตว์ พฤติกรรมสัตว์ เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการฟาร์มเกษตร การบริหารจัดการการศึกษา การจัดการเกษตรนานาชาติ การจัดการชุมชน
78 อัตถ์ อัจฉริยมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(พืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(เกษตรศาสตร์เชิงระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ระบบผลิตทางการเกษตร
79 ดร.สุพจน์ บุญแรง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาอุคสาหกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก สาขาพัฒนาทรัพยากรชนบท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ความเชี่ยวชาญ - จุลินทรีย์ อุตสาหกรรมการหมัก
80 นายธวัชชัย นิ่มพญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบและสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ ชุดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานอิเล็กทรอนิกส์ เพาเวอร์ซัพพลายต่างๆ วงจรควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ สมาร์ทฟาร์ม และเครื่องกลไฟฟ้า
81 ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา
82 ดร.อภิรัฐ ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิศวกรรมชลประทานและการจัดการน้ำ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
83 ผศ.ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา อิเล็กทรอนิกส์, การโปรแกรม, ระบบฝังตัวและควบคุมอัตโนมัติ
84 สุทธิรักษ์ ผลเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 1) ปรับปรุงพันธุ์พืช 2) สรีรวิทยาของพืช 3) เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 4) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร // เกษตรอินทรีย์ 7) ระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ
85 ดร.ภัทยา นาประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า
86 นางศศิธร ปรือทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเคมี, วิทยาศาสตร์ ,เกษตร
87 วาสนา สิงห์ดวง (ชัยเสนา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเคมีชีวภาพ วิทยาสาตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
88 นางสาวสุกัญญา ทับทิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพลังงาน, วิจัยชั้นเรียน
89 นางสาวสุจิตรา เรืองเดชาวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชายด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์
90 ดร.วิศรา ไชยสาลี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
91 นายวิทยา พรหมพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์
92 อาจารย์ปณิดา กันถาด มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก
93 ธีรพัชส ประสานสารกิจ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ smart technology. เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่ ระบบติดตามสิ่งแวดล้อมและควบคุมระบบน้ำอัจฉริยะ smart iot
94 ดร.ลภัสรดา มุ่งหมาย มหาวิทยาลัยพะเยา Microbiology and cosmetic science ที่ปรึกษาเวชสำอางแก้สิวจาก “ใบมะม่วง” คว้ารางวัล “Special Award”จากไต้หวัน เกาหลีและอียู link : http://www.pharmacy.up.ac.th/PHAR1/
95 ผศ.ขนิษฐา ไชยแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก
96 ผศ.สุดารัตน์ สุตพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก
97 ดร.พีรพงศ์ งามนิคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food
98 ดร.ลลิตา ศิริวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ
99 อาจารย์สงบ ศรีเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความเชี่ยวชาญด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำ รวมถึงเชี่ยวชาญด้านการเพาะเลี้ยงสาหร่าย แพลงก์ตอน
100 ผศ.ดร.บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำด้านการเพาะเลี้ยงพืชน้ำ ด้านสิ่งแวดล้องทางประมง
101 นายทองมี เหมาะสม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านการส่งเสริมการเกษตร ด้านบริการวิชาการกลุ่มชุมชน ด้านการผลิตพืช
102 ผศ.ภูรินทร์ อัครกุลธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเพาะพันธุ์ และการขยายพันธุ์พืช และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
103 ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทคโนโลยรีะบบการให้น้ำพืชแบบอัจฉริยะและแม่นยำ
104 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนิตชยา พุทธมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การเก็บรักษาในสภาพควบคุมบรรยากาศและสภาพบรรยากาศดัดแปลง ๒. Structure and transpiration of netted melon fruit ๓. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มผักผลไม้
105 ธันวา เอี่ยมงาม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร
106 อาจารย์ วชิราภรณ์ เรือนแป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑.เกษตรอินทรีย์ ๒.การปลูกพืชแบบวนเกษตร ๓.การจัดการดินเพื่ออาหารปลอดภัย ๔.การผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ
107 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น
108 อาจารย์ ดร. ยุภา ปู่แตงอ่อน มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้านเคมีภัณฑ์ธรรมชาติ เคมีเกษตร การวิเคราะห์สาร การศึกษาสังเคราะห์และพัฒนายา
109 อาจารย์ ดร. วัชรา ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยศิลปากร ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท
110 ดร.พันธ์ลพ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
111 ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
112 ผศ.ดร.สมคิด ชัยเพชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ทุกชนิด และการเกษตรทุกรูปแแบบ
113 ผศ.ธรรมศักดิ์ พุทธกาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเกษตร เทคโนโลยีไม้ดอก ไม้ผล ทุกชนิด
114 ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
115 อาจารย์จักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
116 เดชาวัต มั่นกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การบริหารจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับครัวเรือน
117 ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเขียนระบบแอพพลิเคชั่น
118 ผศ.ดร.วีระพงษ์ อินทร์ทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Statistics in Agricultural Research
119 อ.ดร.อัจฉราวดี เครือภักดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ด้านการเกษตรและการดูแลปรับปรุงพันธุ์พืช
120 อ.ลักขณา พิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร
121 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภควดี ศิริหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมการออกแบบและผลิต / เทคโนโลยีวัสดุ
122 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอี้ยวกฤตยากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - การผลิตปุ๋ย - bioplastics - การสกัดน้ำมัน - การสกัดสาระสำคัญจากธรรมชาติ - การนำของเสียจากชีวมวลมาใช้ประโยชน์
123 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตปลาหมอไทย
124 ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ปลานิล
125 ดร.ตรี วาทกิจ มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มมูลค่าสับปะรด GI
126 ดร.กัมปนาจ เภสัชชา มหาวิทยาลัยนครพนม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์
127 อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย
128 ผศ.ดร.ถนอม ทาทอง มหาวิทยาลัยนครพนม ลดต้นทุน ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความเข้มแข็ง
129 ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ กกแก้ว มหาวิทยาลัยนครพนม กระบวนการแปรรูปวัสดุเศษเหลือจากข้าวอินทรีย์ ใช้ปลายข้าวกล้องหอมมะลิและไรซ์เบอร์รี่
130 อาจารย์ชนาพร รัตนมาลี มหาวิทยาลัยนครพนม การผลิตเห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดบด เห็ดกระด้าง การแปลรูปเห็ด
131 อาจารย์นิรัติศักดิ์ คงทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เครื่องจักรกลเกษตร
132 นายประยูร ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีการเกษตร ,เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก
133 อ.วราเดช แสงบุญ มหาวิทยาลัยนครพนม การวิเคราะห์คุณสมบัติของถ่านไบโอชาร์ - คาร์บอน(Carbon (C)) - โฮโดรเจน (Hydrogen (H)) - ไนโตรเจน (Nitrogen (N)) - ออกซิเจน (Oxygen (O)) - ซัลเฟอร์ (Sulfur (S)) การวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของถ่านไบโอชาร์
134 ผศ. ณรงค์ฤทธิ์ อุปพงษ์ มหาวิทยาลัยนครพนม นำของเสียมาใช้ประโยชน์ และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ แก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์สำหรับครัวเรือน เพิ่อนำของเสียจากมูลสัตว์มาใช้ผลิตแก๊สชีวภาพ
135 นางสาวกานดา ปุ่มสิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ทางด้านสิ่งแวดล้อม,เทคโนโลยีทางด้านเกษตร3.เทคโนโลยีพลังงานทอแทน
136 นายวีรชน มีฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีทางด้านเกษตร พลังงานและสิ่งแวดล้อม
137 รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก
138 อาจ่ารย์จักรวัฒน์ เรืองแรงสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ การพัฒนาต้นแบบเครื่องจักรการเกษตร
139 อ.ประภาพร พลอยยอด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ การพัฒนาโปรแกรมควบคุมและสั่งการ
140 ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พลังงาน
141 รศ.ดร.สภุกร บุญยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลิตภัณพ์จากไผ่ เคมีใบไผ่ สารสกัดไผ่
142 อ.พฤกษา ปิ่นสวาสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานทางการเกษตร ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
143 อ.ปัณณวุฒิ ปิ่นสวาสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการโลจิสติกส์ ระบบห่วงโซ่อุปทานภาคเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานสินค้าหัตถกรรม
144 1. ดร.ศิวพร แพงคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีทางด้านการเกษตร
145 นายชัยธวัช จารุทรรศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
146 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
147 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
148 พิมพ์นภา ภูฆัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
149 รศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื่องงวิเคราห์คุณภาพน้ำอ้อยที่สามารถพกพาและนำไปใช้งานในไร่ได้
150 นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาการเจริญของราก ทำให้ทราบข้อมูลการกระจากตัวของรากและความหนาแน่นของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน
151 อ.ดร.ภวินทื ธัญภัทรานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรือรดน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยวิทยุบังคับเพื่อให้เหมาะสมกับกับต้องการของเกษตรกร
152 นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ
153 รศ.ดร.เรวัต เลิศฤทัยโยธิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การพัฒนาอ้วยพันธุ์กำแพงแสน ที่เหมาะกับการปลูกแล้วได้ผลผลิตที่ดี เเละเป็นพันธุ์ของกำแพงแสน
154 ผู้ช้วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชพล เมธารัชกุล มหาวิทยาลัยพะเยา - ศึกษาความชุกของการปนเปื้อนปรสิตในสิ่งแวดล้อม อาหาร การเกิดโรค โดยผสมผสานเทคนิคพื้นฐาน และเทคนิคชั้นสูงทางห้องปฏิบัติการ เพื่อมาประยุกต์สู่ชุมชน - ปรสิตวิทยา เกษตรปลอดภัย อณูชีวโมเลกุล อาหาร สิ่งแวดล้อม
155 อาจารย์กัณญพัตส บุญล่ำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การอบรมส่งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือก เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่
156 อาจารย์ญาณพัฒน์ ลาภพาณิชยกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาเทคโนโลยีระบบสมาร์ทฟาร์ม และการซ่อมบำรุงดูแลรักษา
157 นายสุชาติ เฮ็งฉุน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
158 นายสมพงษ์ แซ่บ่าง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
159 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
160 ดร.เยาวมาลย์ เขียวสอาด มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีการปลูกข้าว การผลิตข้าวปลอดภัย&ข้าวอินทรีย์
161 ดร.นฤมล มีบุญ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง
162 ดร.นุจิรา ทักษิณานันต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว 2. กระบวนการผลิตอาหารสัตว์
163 ดร.ปัทมาวดี คุณวัลลี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
164 ผศ.ดร. วิกันดา รัตนพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการแมลงศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมีอันตราย การใช้พืชกับดัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
165 ผศ.ดร.สุรพล ฐิติธนากุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การวางแผนการผลิตและองค์ความรู้ในการผลิตผักอินทรีย์ให้ได้คุณภาพ
166 ผศ. มานพ ธรสินธุ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การใช้ประโยชน์ไม้มีค่าในพื้นที่ และการผลิตถ่านและน้ำส้มควันไม้ที่ได้มาตรฐานทางการเกษตร
167 ผศ.ดร. นิตยา อัมรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของผลผลิตผักอินทรีย์เพื่อรักษาคุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
168 นายสุทธิ มลิทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย "การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์และแมลง การใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจบางชนิด"
169 นายกวินท์ จิตอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การปลูกผักอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการแปลงผักอินทรีย์และการป้องกันแมลง
170 ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
171 อาจารย์กฤตธี สงวนศักดิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม ช่วยลดต้นทุนการผลิตเตาเผาถ่านชีวภาพ
172 อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น
173 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
174 ดร.พฤฒิพงศ์ เพ็งศิร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับและเทคโนโลยีสื่อผสมเพื่อส่งเสริมการค้าผลิตภัณฑ์มะขามป้อม
175 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชาวลิต อุปฐาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีความเชี่ยวชาญในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ อาหารไทย ขนมไทย การแกะสลักผักผลไม้ เป็นต้น
176 ผศ.ดร.คมกฤษณ์ ชูเรือง มหาวิทยาลัยนครพนม ระบบเกษตรอัจฉริยะ เช่น โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ โรงเรือนปลูกผัก และระบบน้ำใต้ดิน
177 ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา มหาวิทยาลัยนครพนม การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการผลิต (GAP/อินทรีย์) การบริหารจัดการชุมชน เพื่อส่งเสริมการเกษตรให้ได้มาตรฐาน
178 อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
179 นิเวศ จีนะบุญเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจ, การจัดการนวัตกรรม, การจัดการโลจิสติกส์, การพัฒนาผู้ประกอบการ startup, การออกแบบและพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมสำหรับธุรกิจ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง สามารถออกแบบและพัฒนารูปแบบธุรกิจกลยุทธ์ธุรกิจที่ทำให้ผู้ประกอบการมีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถทำให้เกิดการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน
180 ผศ.ดร.กฤษฏิ์พนธ์ พรรณรัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ นวัตกรรมทางการเกษตรและพลังงานทดแทน -โดรนเพื่อการเกษตร
181 นางปราโมทย์ ทิมขำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ด้านการจัดการดิน และปุ๋ยในพืชเศรษฐกิจ การเพาะเห็ด
182 ดร. ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาอาหารหมักจากเมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เสริมด้วยผลไม้เศรษฐกิจตามฤดูกาลเพื่อเลี้ยงโคขุน
183 ผศ.ดร.ไวพจน์ กันจู มหาวิทยาลัยพะเยา การพัฒนาประชากรลูกผสมกลับข้าวเหนียวพันธุ์สันป่าตอง 1 ให้มียีนความหอม ยีนต้านทาน โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง โดยใช้วิธีการผสมกลับร่วมกับการใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
184 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณิดา โขนงนุช มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม โลจิสติกส์ การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
185 อาจารย์ชิตณรงค์ เพ็งแตง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Internet of Things (IoT) Software Engineering Automation
186 นายพีรวัจน์ ชูเพ็ง มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
187 นวัตกรรมเพื่อเกษตรปลอดภัยครบวงจร (พืชและสัตว์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา การประเมินห่วงโซ่คุณค่า การจัดทำแผนธุรกิจระดับชุมชน และการศึกษาความเป็นไปด้วยของโครงการทางด้านการจัดการ
188 ผศ.ดร.นิตยา วานิกร มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีการเกษตร การบริการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การกำจัดศัตรูพืช
189 อ.พันธ์ทิพย์ เลิศบุรุษ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ การเฝ้าระวังระบบน้ำทางการเกษตร การประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางน้ำ
190 นายกุลวิชญ์ พานิชกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีข้าว และเมล็ดพันธุ์ การปลูกผักไร้ดิน
191 นายธิติวัฒน์ ตาคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การออกแบบผังภาคเมือง ด้านภูมิทัศน์
192 นาย ทวีสิน ปัญญาสีห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การออกแบบวางผังการจัดสวน
193 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
194 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
195 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
196 ผศ.นภา ขันสุภา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
197 ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว)
198 นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
199 ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
200 ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
201 ดร.กัญญณัฐ ศิริธัญญา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์ข้าว
202 อาจารย์ อธิปวัฌณ์ อมรปัญญานันท์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง, การจัดการโคเนื้อและโคนม, การจัดการอาหารโคเนื้อและโคนม, สูตรอาหารสัตว์
203 ผศ.ดร.สัญญา กุดั่น มหาวิทยาลัยรามคำแหง การประยุกต์ใช้สารธรรมชาติ จุลินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ในการเกษตรและอุตสาหกรรม
204 อาจารย์ จิรเวฐน์ เพ็ชร์สุทธิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขยายพันธุ์พืช การผลิตผัก ไม้ดอกไม้ปรัดับ การแปรรูปพืชผักการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
205 ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
206 ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
207 นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
208 รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
209 รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
210 นางสาวศิริพร อ่ำทอง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
211 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญฤทธิ์ สินค้างาม มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีการเกษตร
212 นายปิยพงษ์ วงศ์ขันแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตรAgricultural System & Engineering
213 นายวรกฤช ดอนคำเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรมบ่อก๊าซชีวภาพสำหรัครัวเรือน เครื่องบรรจุก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน และออกแบบและสร้างเครื่องจักรงานอุตสาหกรรม
214 อ.สมยศ ศรีเพิ่ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การผลิตไม้ดอก ไม้ผล
215 ดร.ชนะดล สุภาพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
216 นวลนพมล ศรีอุทัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
217 เสกศักดิ์ น้ำรอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
218 ผศ.ชาญณรงค์ ศรีทรงเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดระบบปลูกผักพื้นบ้านเพื่อเศรษฐกิจชุมชน การจัดระบบการปลูกถั่วฝักยาวที่มีผลต่อปริมาณของเพลี้ยอ่อนถั่ว (Aphis glycans Matsumura) และศัตรูธรรมชาติที่สำคัญของเพลี้ยอ่อน
219 ผศ.ดร.บงกช สุขอนันต์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี หุ่นยนต์ออกแบบเพื่อเคลื่อนที่ในโรงเรือน
220 ผศ.สุวันชัย สินโพธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการเกษตร
221 ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเคมี
222 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
223 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
224 รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การวิเคราะห์ระบบเพื่อการวางแผนและจัดการทรัพยากรทางน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและเหตุการณ์รุนแรง(อุทกภัยและภัยแล้ง) การจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมน้ำบาดาล
225 นายสิริศักิ์ บุตรกระจ่าง สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การเพาะเห็ด
226 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา Microcontroller and Embedded System, Automatic and Smart Systems, Material Physics
227 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ มหาวิทยาลัยพะเยา Microcontroller and Embedded System, Automatic and Smart Systems, Material Physics
228 ผศ.ร่วมฤดี พานจันทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
229 ผศ.ดร.เมธาวี รอตมงคลดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
230 รศ.ดร.เอกพล วังคะฮาต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การประมง เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
231 นายพัฒนา ภาสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การปลูกพืชผักสวนครัว การปรับแต่งพันธุกรรมพืช
232 ผศ.เรืองฤทธิ์ หาญมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การคัดพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โคขุน ,การประกอบสูตรอาหารต้นทุนต่ า จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น, การจัดการฟาร์ม
233 ดร.วิรุณ โมนะตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
234 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตพืช
235 ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
236 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา
237 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการใช้สารชีวภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสง
238 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปผงข้าวแดงปรุงแต่งอาหาร
239 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
240 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทำปุ๋ยอินทรีย์
241 นาย สุระพล เขียวหวาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การย่อยสลายฟางข้าว
242 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ
243 อาจารย์ ธีรภัทร์ อนุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีท้างด้านอาหาร เทคโนโลยีทางด้านเกษตร เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน
244 ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
245 นางวรัญญา หัสโรค์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น นาฬิกาอัจฉริยะใช้ในการตั้งเวลา บอกเวลา ของเครื่องอบข้าว
246 นายธีระ อุ่นเบ้า วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น อุปกรณ์เด็ดก้านพริกในครัวเรือน
247 อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
248 ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
249 อาจารย์ธนภัทร วรปัสสุ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การเลี้ยงปลาหมอ และการเพาะพันธุ์ปลาหมอ การเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย
250 นางสาวศศิรภัทร์ เกาะแก้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
251 นางสาวอังควิภา อาจไธสง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผลิตเห็ด
252 ศิริพันธ์ แสงมณี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล
253 ดร. ขวัญใจ หรูพิทักษ์ มหาวิทยาลัยบูรพา Plant Breeding
254 นางสาวปาริชาต ราชมณี มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลโรงงาน
255 พุทธชาติ อิ่มใจ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
256 ผศ.วันทนีย์ พลวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
257 อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตถ่านไบโอชาร์ โดยใช้วิธีการอบไม้
258 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เทคโนโลยีพลังงานเก็บเกี่ยว
259 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พลังงานเเละ เทคโนโลยีทางการเกษตร
260 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วยปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยไม่กลับกลอง
261 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน
262 นายปราสาท จุลพวก วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การจัดการดิน การปลูกอ้อย
263 นายมานิตย์ จันทวงศ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก การขับโดนการเกษตร และการบริหารการจัดการนำ้
264 นายดำรง ด้วงแห้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การเพาะเห็ดแบบครบวงจร เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดโคนน้อย
265 ดร.ธัญจิรา เทพรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริหารจัดการและขับเคลื่อนธุรกิจไก่เบขลาจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ
266 นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดชนิดต่างๆภายใต้แสงเทียมในระบบโรงเรือน
267 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาอัตราการงอกของพริกซุปเปอร์ฮ็อตที่ใช้สารSPEED B1 EXTRA PLUS ต่างอัตราส่วน
268 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ศึกษาอัตราการงอกของคื่นฉ่ายโดยใช้วัสดุเพาะต่างกัน
269 นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท
270 นายสมบูรณ์ มัจฉา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี การศึกษาการอนุบาลลูกปลานิลจิตรดา 4 โดยใช้จุลินทรีย์บาซิลลัสไบไอต้าโปรในปริมาณที่แตกต่างกัน
271 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
272 นางสาวกมลพร สิทธิไตรย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การแปรรูปอาหาร เทคโนโลยี่ทางการเกษตร
273 ศิริภรณ์ โคตะมี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิเคราะห์คุณภาพสัตว์น้ำ
274 ดร.วิวรรธน์ แก่นสา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การแปรรูปพืชผลทางการเกษตร สัตว์ ผลไม้ ฯลฯ
275 อาจารย์วรกฤช ดอนคำเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรมบ่อก๊าซชีวภาพสำหรัครัวเรือน เครื่องบรรจุก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน และออกแบบและสร้างเครื่องจักรงานอุตสาหกรรม
276 นายนำโชค ชมกระโทก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
277 ดร.เศรษฐวัฒน์ ถนิมกาญจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิศวกรรมเกษตร
278 ผศ.ดร.สุนทรีย์ วิพัฒครุฑ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์
279 นายรุ่งโรจน์ สุพงษ์วิบูลพันธ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีโรงเรือน เทคโนโลยีเครื่องจักร IoT (Internet of Things) , robot, Smart Farming Technology
280 รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา มิ่งฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การพัฒนาพลังงานทางเลือกทางการเกษตร
281 ว่าที่ร้อยตรีสมหมาย แก้วมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์
282 ผศ.ดร.กฤตยา หนูสาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช กลุ่มสาขา Natural Sciences เทคโนโลยีการสกัดสีจากธรรมชาติสำหรับใส่ในอาหาร การใช้สีจากธรรมชาติในการทำผ้ามัดย้อม
283 ดร.วิญญา ดุงแก้ว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การศึกษาดินเค็มในนาข้าว การปรับปรุงดินเค็ม
284 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ภัสสร มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพด้านเชื้อรา ชีวเคมีทางด้านการสังเคราะห์ลิปิด และ สารทุติยภูมิในพืช
285 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมนา เหลืองฐิติกาญจนา มหาวิทยาลัยพะเยา ชีววิทยาโมเลกุลของพืช การเพาะเลี้ยงและการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อพืช การดูดซึมธาตุอาหารพืช)
286 ดร.เพียงออ ยี่สา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การออกแบบการทดลอง (Experimental Designs),การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis)
287 ดร.อภิรดี โพธิพงศา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช กลุ่มสาขา Life Sciences & Biomedicine,กลุ่มสาขา Natural Sciences
288 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกิต ทิมขำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เทคโนโลยีการให้น้ำในแปลงกาแฟอย่างมีประสิทธิภาพ
289 ดร.ชนินทร์ แก้วมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
290 ดร.ณัฐกร ไชยแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์
291 ดร.ปัทมา จันทร์เรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์
292 ดร.นัทท์ นันทพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เทคนิคและวิธีการผลิตและผสมวัตถุดิบอาหารสำหรับปลิงทะเลในบ่อดิน
293 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การผลิตผึ้งชันโรง
294 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ โวทโอสถ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
295 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
296 ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
297 นายเสกสม พัฒนพิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการน้ำชลประทานที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว แบบเปียกสลับแห้ง และการคํานวณความต้องการน้ำของการเพาะปลูกข้าวในเขตชลประทาน
298 ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การจัดการดินและปุ๋ย
299 รศ.ดร.ไสว บัวแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
300 รศ.ดร.ไสว บัวแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
301 รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ธนภร อำนวยกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น้ำมันจากเมล็ดยางพาราในรูปแบบ CLEANSING OIL