หมู่บ้านสมุนไพรบ้านโคกกลาง อ.บรบือ จ.มหาสารคาม


กลุ่มสมุนไพรบ้านโคกกลาง หมี่ 3 และหมู่ 12 ต.บรบือ อ.บรบือ จ.มหาสารคาม

รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4
[5253]

กิจกรรมที่ 1 การประชุมเวทีกลุ่มเฉพาะ/เวทีเสวนา เพื่อรวบรวมข้อมูลปัญหาและความต้องการจากเวทีประชาคมท้องถิ่น ระดับหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อจัดทำแผนพัฒนาตามประเด็นความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์
      เนื้อหา : -วิเคราะห์ปัญหาและประเมินความต้องการจากกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดทำแผนพัฒนาตามประเด็นความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์
ผลการดำเนินงาน
การประชุมเวทีกลุ่มเฉพาะ เพื่อรวบรวมข้อมูลปัญหาและความต้องการจากกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดทำแผนพัฒนาตามประเด็นความต้องการของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์
                                                         



รายงานโดย นางสาวสิริกร งามสมัย วันที่รายงาน 30/09/2567 [5253]
13300 70
4
[5254]

กิจกรรม 2 การวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน โดยห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
หัวข้อบรรยาย : การวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน โดยห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
 เนื้อหา : - คุณภาพและมาตรฐานสมุนไพรไทย
- การวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพร
- การควบคุมคุณภาพและทดสอบความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
วิทยากร : 1. ผศ.ดร.กิติพงษ์ เวชกามา อาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
2. อ.ดร.วรชาติ โตแก้ว อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3. ผศ.ดร.อรอนงค์ ไชยเชษฐ อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ผลการดำเนินงาน
การอภิปรายเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน โดยห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์

  



รายงานโดย นางสาวสิริกร งามสมัย วันที่รายงาน 30/09/2567 [5254]
22200 70
4
[5255]

กิจกรรม 3 การจัดการความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้มาตรฐานผลิตภัณฑ์
หัวข้อบรรยาย : การจัดการความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้มาตรฐานผลิตภัณฑ์
เนื้อหา : - ความเป็นมาของมาตรฐานผลิตภัณฑ์
- การดำเนินงานด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์

- การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และกระบวนการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
- ประโยชน์ที่ได้รับจากมาตรฐานผลิตภัณฑ์
วิทยากร : 1. นางสาววรรษมน สัจจพงษ์ เภสัชกร ชำนาญการ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
2. ผศ.ดร.กิติพงษ์ เวชกามา อาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
3. ผศ.ดร.อรอนงค์ ไชยเชษฐ อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ผลการดำเนินงาน การจัดการความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้มาตรฐานผลิตภัณฑ์
 



รายงานโดย นางสาวสิริกร งามสมัย วันที่รายงาน 30/09/2567 [5255]
24000 70
4
[5256]

กิจกรรม 4 การพัฒนาและเตรียมผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
หัวข้อบรรยาย : การพัฒนาและเตรียมผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
เนื้อหา : - พัฒนาและเตรียมผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
วิทยากร : 1. ผศ.ดร.กิติพงษ์ เวชกามา อาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
2. อ.ดร.วรชาติ โตแก้ว อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3. ผศ.ดร.อรอนงค์ ไชยเชษฐ อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ผลการดำเนินงาน การพัฒนาและเตรียมผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์

 



รายงานโดย นางสาวสิริกร งามสมัย วันที่รายงาน 30/09/2567 [5256]
79100 70
4
[5257]

กิจกรรม 5 การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล
  ผลการนำองค์ความรู้ด้าน วทน. ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คน ที่เข้าร่วมโครงการ (SCI) โดยจะวัดการนำไปใช้ประโยชน์และการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย มูลค่าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น พบว่าหลังสิ้นสุดโครงการ กรณีความรู้ที่ได้จากโครงการนำไปใช้ประโยชน์ ได้คิดเป็น ร้อยละ 100 สามารถเพิ่มรายได้ เดือนละ 2,001-3,000 บาท ร้อยละ 40 ลดรายจ่ายเดือนละ 2,001-3,000 บาท ร้อยละ 20 และพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ไม่เป็นตัวเงิน แต่เป็นการนำความรู้ไปใช้พัฒนาอาชีพ ร้อยละ 45
กรณีคุณภาพชีวิต โครงการที่เข้าร่วมทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เนื่องจากสามารถนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพ และมีส่วนร่วมในสังคมหรือสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบหรือสร้างการเปลี่ยนแปลง ต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ทำให้คนในชุมชนมีความสามัคคี มีความเข้มแข็งในชุมชนและมีความรับผิดชอบ
ผลการประเมินผลการจัดกิจกรรมสำหรับการวัดความพึงพอใจและการปรับปรุง พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในภาพรวมของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ในระดับมากถึงมากถึงมากที่สุดร้อยละ 98 มีความพึงพอใจในด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ในระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 95 และมีความพึงพอใจในสิ่งอำนวยความสะดวก ในระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 90 สำหรับข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตร ความเหมาะสมของเนื้อหาหลักสูตร ในระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 90 ความรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ และความเหมาะสมของวิทยากรในระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 90 ระยะเวลาการอบรม ช่วงเวลาการอบรม และความคุ้มค่าเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย ในระดับมากถึงมากที่สุดร้อยละ 80  
 



รายงานโดย นางสาวสิริกร งามสมัย วันที่รายงาน 30/09/2567 [5257]
11400 70