เครือข่ายส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กปว.#
  • บริการของ กปว.
    • โครงการ
    • เทคโนโลยี
    • ผู้เชี่ยวชาญ
    • คำปรึกษา/ลูกค้า
    • ผลิตภัณฑ์
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • หน้าหลัก
  • Tuesday, July 1, 2025 เวลา :

เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด

รหัส
7874
ชื่อ
ชีวภัณฑ์บาซิลลัส บีเอส-พีอาร์ 2 (โครงการวิจัย 2560)/ชีวภัณฑ์บาซิลลัส บีเอส-พีอาร์ 2 (โครงการวิจัย 2560) ชม 196 ครั้ง
เจ้าของ
รศ.ดร.เพชรรัตน์ ธรรมเบญจพล
เมล์
E-mail:petsir@kku.ac.th
รายละเอียด

                                                                                                           ชีวภัณฑ์ควบคุมโรคพืชและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช

                          ชีวภัณฑ์บาซิลลัส บีเอส-พีอาร์2 เป็นชีวภัณฑ์ที่มีเชื้อ Bacillus subtilis-NTS3 เป็นส่วนผสมสำคัญ มีคุณสมบัติดีเด่น 3 ด้าน คือ1. เป็นเชื้อปฏิปักษ์กับเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคพืชได้หลายชนิด ได้แก่ โรคเหี่ยวเขียวพริก-มะเขือเทศ โรคใบจุดแบคทีเรียของพืชชนิดต่างๆ โรคแคงเกอร์มะนาว โรคผลเน่าแบคทีเรียของพืชวงศ์แตงและโรคเน่าเละ 2. เป็นปฏิปักษ์กับเชื้อราสาเหตุโรคที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ โรคแอนแทรกโนสพริก-มะเขือเทศ แตง โรคใบจุดเชื้อราอัลเทอนาเรีย โรคเหี่ยวสเคลอโรเตียม โรคเหี่ยวฟิวซาเรียม โรคถอดฝักดาบข้าว โรคใบจุดสีน้ำตาลของข้าว โรค  และ  3. ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช กระตุ้นต้นพืชให้เจริญเติบโตรวดเร็ว เป็นเหมือนปุ๋ยชีวภาพได้ด้วย  ใช้ได้ดีกับพืชผัก พืชไร่ มันสำปะหลัง พืชที่ใช้ส่วนหัว เช่น มันฝรั่ง ขิง ไม้ดอก เช่น ปทุมมา และในพื้นที่การเพาะปลูกพืชที่มีปัญหาเรื่องโรคเหี่ยวเขียว

                                                                                           

 

                                ชีวภัณฑ์บาซิลลัส บีเอส-พีอาร์2 เป็นชีวภัณฑ์ที่มีเชื้อ Bacillus subtilis-NTS3 เป็นส่วนผสมสำคัญ มีคุณสมบัติดีเด่น 3 ด้าน คือ1. เป็นเชื้อปฏิปักษ์กับเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคพืชได้หลายชนิด ได้แก่ โรคเหี่ยวเขียวพริก-มะเขือเทศ โรคใบจุดแบคทีเรียของพืชชนิดต่างๆ โรคแคงเกอร์มะนาว โรคผลเน่าแบคทีเรียของพืชวงศ์แตงและโรคเน่าเละ 2. เป็นปฏิปักษ์กับเชื้อราสาเหตุโรคที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ โรคแอนแทรกโนสพริก-มะเขือเทศ แตง โรคใบจุดเชื้อราอัลเทอนาเรีย โรคเหี่ยวสเคลอโรเตียม โรคเหี่ยวฟิวซาเรียม โรคถอดฝักดาบข้าว โรคใบจุดสีน้ำตาลของข้าว โรค  และ  3. ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช กระตุ้นต้นพืชให้เจริญเติบโตรวดเร็ว เป็นเหมือนปุ๋ยชีวภาพได้ด้วย  ใช้ได้ดีกับพืชผัก พืชไร่ มันสำปะหลัง พืชที่ใช้ส่วนหัว เช่น มันฝรั่ง ขิง ไม้ดอก เช่น ปทุมมา และในพื้นที่การเพาะปลูกพืชที่มีปัญหาเรื่องโรคเหี่ยวเขียว

                                                                                                   

 

                                                                                                                                     

คำสำคัญ
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร      
บันทึกโดย
นายอภิเดช  ไม้หนองกอย  สำนักงานปลัดกระทรวง

รายละเอียดผู้รับบริการ

ไม่พบข้อมูลผู้รับบริการ




สงวนลิขสิทธิ์ © 2568 กลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม(ธท.) กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)
มีปัญหาแจ้งได้ที่ ekapong at mhesi.go.th