ข้อมูลเทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด / ..
ลักษณะทั่วไป
การเพาะพันธุ์
เพศเมีย ทำการฉีด 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 ใช้ซุปรีแฟกค์ (Superfact) ความเข้มข้น 25 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม (Motilium) 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม พักไว้ 6 ชั่วโมง แล้วจึงฉีดเข็มที่ 2
ครั้งที่ 2 ใช้ซุปรีแฟกค์ความเข้มข้น 50 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
เพศผู้ทำการฉีดเพียงครั้งเดียว
โดยฉีดพร้อมเพศเมีย เข็มที่ 2 โดยใช้ซุปรีแฟกค์ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
การอนุบาลลูกปลาหลด
การเลี้ยงปลาหลด
อาหารปลาหลด
จะให้เหยื่อในการเลี้ยงเช่นเดียวกับปลาไหล คือ เหยื่อหลักดังนี้
1. หอยเชอรี่ นำมาทุบแยกเปลือกเนื้อหอยแล้วสับให้ละเอียด นำมาวางไว้บริเวณชายพื้นรอยต่อทรายกับผิวปูนซีเมนต์ กองไว้ให้อาหาร 2 – 3 ครั้ง เมื่อเหยื่อเริ่มเน่าปลาหลดจะเข้ามากิน และอาจกินตั้งแต่สดๆ ได้ พิจารณาว่าปลาหลดกินเหยื่อหมดใน 2 – 3 วันหรือไม่ ถ้าหมดควรเพิ่มให้ ถ้าเหลือควรลดลง พยายามอย่ากระทบกระเทือนปลาจะตกใจหนี
2. ไส้เดือน จะเป็นอาหารที่ปลาหลดโปรดปรานมากที่สุด เมื่อนำไส้เดือนให้ จะให้ช่วงเย็น – ค่ำ พอไส้เดือนเคลื่อนตัวตามผิวทราย ปลาหลด 1 ตัวจะกินไส้เดือน 1 – 2 ตัว ก็จะอิ่ม และมีลักษณะความสมบรูณ์ของตัวปลามาก เช่น ปลาจะอ้วน เกล็ดเป็นเงางาม
3. ระยะเวลาของการเลี้ยง ปลาหลดเป็นปลาที่จัดว่าโตเร็ว การเลี้ยงจะใช้เวลา 6 – 7 เดือน ก็จะได้ขนาดที่จำหน่ายประมาณ 30 – 40 ตัวต่อกิโลกรัม และอายุ 1 ปีขึ้นไปก็จะให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ได้
สนใจติดต่อข้อมูล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
145 หมู่ 15 ถ.สุรินทร์-ปราสาท อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000
โทรศัพท์ 044-511022 , 044-519036 , 081-8763740

รายละเอียดผู้รับบริการ
โทร. 0636860409 อีเมล์ : panuwat_mu@cpd.go.th วันที่ถาม : 06/09/2564
คำถาม : เรียนท่านอาจารย์ดร.กระผมได้เข้ามาอ่านและศึกษาการเพาะเลี้ยงปลาหลด แล้วได้ความรู้เป็นอย่างยิ่ง จึงอยากจะศึกษาวิจัยการเพาะเลี้ยงปลาหลด เพื่อให้เข้าใจวิธีการเพาะเลี้ยงโดยแท้จริงและชัดเจน และสามารถนำไปใช้ปฏิบัติในการเกษตรของชุมชน เพื่ออนุรักษ์พันธุ์ปลาหลดไว้ให้คงอยู่ในท้องถิ่น จึงจะขอความอนุเคราะห์ท่านอาจารย์ ช่วยแนะนำการเพาะเลี้ยงปลาหลด เป็นไฟล์คู่มือวิจัยการเลี้ยง เนื่องจากกระผม ไม่มีความรู้ในด้านการเลี้ยงและการผสมพันธุ์สัตว์น้ำเลย กราบขอบพระคุณล่วงหน้าเป็นอย่างสูง ครับ |284|M
คำตอบ : ทางคลินิกเทคโนโลยีฯ ได้รับเรื่องขอคำปรึกษาเรียบร้อยแล้ว จะดำเนินการประสานผู้เชี่ยวชาญ เพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาหลดให้ท่านเพิ่มเติมต่อไป และดำเนินการจัดส่งข้อมูลให้ท่านทางเมล์อีกครั้ง หากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาชนิดอื่นๆ สามารถติดต่อได้ที่ ท่าน รองศาสตราจารย์ ดร. กฤติมา กษมาวุฒิ อีเมล์ krittima2562@gmail.com
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0864181525 อีเมล์ : phirada.kate@gmail.com วันที่ถาม : 27/04/2563
คำถาม : สนใจเพาะเลี้ยงปลาหลดเชิงพานิชย์ค่ะ ไม่ทราบว่ามีการอบรมหรือขายพ่อแม่พันธุ์มั้ยคะ หรือสามารถหาความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงได้อย่างไรบ้างคะ|284|M
คำตอบ : ส่งข้อมูลให้ จนท.คลินิก มทร.อีสาน สุรินทร์ เจ้าของเทคโนโลยีเพื่อดำเนินการต่อ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0864404098 อีเมล์ : kana.icejung@gmail.com วันที่ถาม : 09/03/2563
คำถาม : มีผลิตภัณฑ์น้ำยานาโนที่ใช้เคลือบผ้ากันน้ำ กันแบคทีเรียหรือไม่คะ...หาซื้อได้ที่ไหน และหากเราใช้เคลือบผ้าที่นำมาทำหน้ากากอนามัยจะดีหรือไม่..|1581|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0856190682 อีเมล์ : tanaporn0682@gmail.com วันที่ถาม : 21/09/2562
คำถาม : ต้องการให้แนะนำ ตะกร้าดิบที่ราคาถูก |466|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0990151323 อีเมล์ : memaex@hotmail.com วันที่ถาม : 24/08/2562
คำถาม : สวัสดีคะ พอดีกำลังศึกษาเรื่องการทำถ่านจากวัสดุเหลือใช้คะ ได้เข้ามาอ่านแล้วเกิดสนใจ พอดีจะเอาไปต่อยอดในการเรียนในรายวิชา และต้องปฎิบัติจริงคะ อยากทราบว่า ขั้นตอนของการเผาเศษเปลือกกล้วยและกะลามะพร้าวพร้อมกัน เผาให้เป็นถ่าน คือต้องเผาให้มันแข็งตัวเลยใช่มั้ยคะ ประเด็นตรงนี้ยังไม่ค่อยเข้าใจคะ|127|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0621260585 อีเมล์ : วันที่ถาม : 21/11/2561
คำถาม : ต้องการพัฒนาผ้าสีธรรมชาติ
คำตอบ :
สวัสดีค่ะ ดิฉันได้โทรประสานให้คุณจำรูญ ติดต่อกับอาจารย์อุกฤษณ์ นาจำปา (มรภ.บุรีรัมย์) แล้ว และดิฉันก็ได้แจ้งข้อมูลนี้ให้กับอาจารย์ทราบทางโทรศัพท์และอีเมล์แล้วค่ะ ซึ่งอาจารย์มีความเชียวชาญด้านสีย้อมผ้าธรรมชาติ ซึ่งปัญหาที่ทางผู้รับบริการให้ข้อมูลไว้นั้น ได้แก่ 1.เรื่องมาตรฐานการย้อมแต่ละครั้งไม่คงที่ 2.การพัฒนากระบวกการย้อมสีธรรมชาติให้ถูกคุณลักษณะ
3.การศึกษาพืชให้สีในพื้นที่ ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0847987684 อีเมล์ : dit-516@hotmail.co.th วันที่ถาม : 19/11/2561
คำถาม : อยากได้ยาซุปรีแฟกและโมทิเมี่ยมซื้อได้ที่ไหนคับ |1519
คำตอบ :
สวัสดีค่ะคุณสุรดิส ในเบื้องต้นดิฉันขอแนะนำให้คุณติดต่อกับ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดสกลนคร ในการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ โมทิเลียมที่ใช้ในการผสมพันธุ์เทียมปลานะคะ 042-711-447 หรือ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถโทรสอบถามได้ที่ 1313 หรือ 02-333-3917 (Call Center กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0896723630 อีเมล์ : Rawithat@gmail.com วันที่ถาม : 11/02/2561
คำถาม : อยากสอบถามราคาเครื่องกลั่นสุราครับ พอดีจะเอาไปทำสุรากลั่นชุมชน|761|M
คำตอบ :
สวัสดีค่ะคุณรวีร์ธัช ผลงานนี้เป็นผลงานของ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ออกแบบและสร้างเครื่องกลั่นแอลกอฮอล์ ฝ่ายเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งได้ออกแบบและพัฒนาสร้างเครื่องกลั่นแอลกอฮอลขนาดเล็กแบบเคลื่อนที่ (Small Mobile Alcohol Distillator (SMAD) ที่มีกําลังการผลิต 50 ลิตรต่อวัน โดยมีการผลิตในหลายแบบ หลายขนาดตามความต้องการ และเครื่องกลั่นสุราพื้นบ้านขนาดเล็กนั้นมีราคา 2 แสนบาทค่ะ สามารถโทร. 0 2579 1121-30 0 2579 5515 ต่อ 5130, 5119 ในวันและเวลาราชการ E-mail : tistr@ tistr.or.th ได้เลยนะคะ ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0850005595 อีเมล์ : - วันที่ถาม : 21/08/2560
คำถาม : ราคาเครื่องสีข้าวระดับครัวเรือน บริษัท นาทวี
คำตอบ : แนะนำให้คุณภานุ ติดต่อกับ บริษัท นาทวี เทคโนโลยี ในเรื่องของราคาเครื่องสีข้าวระดับครัวเรือน ราคาอยู่ที่ 18,900.- นะคะ ติดต่อได้ที่ 038-846-200 ต่อ 2 หรือ 081-350-4270 นะคะ ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
โทร. 0984677110 อีเมล์ : thidapornmail@gmail.com วันที่ถาม : 22/05/2560
คำถาม : รบกวนสอบถามหน่อยค่ะ ต้องการพันธุ์ลูกปลาหลดมาเลี้ยงไม่ทราบว่าช่วงนี้มีมั้ยคะ ที่บ้านมีฟาร์มเลี้ยงปลากับฟาร์มกบ สนใจปลาหลดมาเลี้ยงเสริม ขอบคุณค่ะ|284|M
คำตอบ :
สวัสดีค่ะคุณธิดาพร เนื่องจากเจ้าของผลงานคนเดิมได้เปลี่ยนชื่อ เบอร์โทร แล้ว แต่สามารถติดต่อสอบถาม ผศ.ดร. กฤติมา เสาวกูล
ที่อยู่ สาขาวิชาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์32000โทรศัพท์ 044-153062, 089-8467202 โทรสาร 044-153064 E-mail : Saowakoon@gmail.com ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย