2567 การใช้เทคโนโลยีพัฒนาและยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์กุ้งแห้งลดเค็มชุมชนแปรรูปอาหารทะเล ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [18048]

2.) โดยมีการลงพื้นที่พูดคุยกับกลุ่มแปรรูปกุ้งแห้ง ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง วางแผนการทำงานกับกลุ่มผู้แปรรูปกุ้งแห้ง ปัญหาที่พบ สิ่งที่ต้องการแก้ไข
3.) การจัดการวัตถุดิบ ผู้จับกุ้งหัวเรียวที่จะนำมาทำกุ้งแห้ง/ - พัฒนาการบริหารจัดการวัตถุดิบ
- การพัฒนากระบวนการผลิตกุ้งแห้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน กุ้งแห้ง (มผช.309/2549)
-การใช้เทคโนโลยีพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์กุ้งแห้ง



รายงานโดย ผศ.นเรศ ขวัญทอง วันที่รายงาน 30/09/2567 [18048]
5000 10
4 [18044]

วันที่ 2 กันยายน 2567 ดำเนินโครงการ“การใช้เทคโนโลยีพัฒนาและยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์กุ้งแห้งลดเค็มชุมชนแปรรูปอาหารทะเล ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง” 

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาความต้องการของลูกค้าและแนวโน้มการบริโภคสินค้าลดเค็มในตลาด สำรวจคู่แข่งในตลาดเดียวกัน เพื่อตรวจสอบข้อดีและข้อเสียของผลิตภัณฑ์คู่แข่ง และเขียนแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์กุ้งแห้งลดเค็มสู่ธุรกิจเพื่อสังคม

          1.) สำรวจคู่แข่งในตลาดเดียวกัน เพื่อตรวจสอบข้อดีและข้อเสียของผลิตภัณฑ์คู่แข่ง โดยออกแบบสอบถาม ทำการสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ผลของความต้องการของผู้บริโภค จำนวน 100 ชุด ทำการเก็บข้อมูลผู้บริโภคกุ้งแห้งในจังหวัดตรัง นำผลการสำรวจข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม spss

-ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ลูกค้ามีอายุช่วง 40-49 ปี ร้อยละ 40 %อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย ร้อยละ 100 % รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001-50,000 บาท ร้อยละ 65%

- พฤติกรรมการซื้อกุ้งแห้งชนิดของกุ้งแห้งที่ชอบซื้อรับประทานเป็นแบบกุ้งแห้งเล็ก 55 % ลักษณะกุ้งแห้งที่ชอบซื้อแบบกุ้งแห้งพร้อมปรุง(ดิบ) 95% ขนาดของกุ้งแห้งที่เลือกซื้อเป็นประจำ ขนาดกลาง75 %ปริมาณในการซื้อต่อครั้ง (น้ำหนักรวมกุ้งแห้งทุกชนิดต่อการซื้อ 1 ครั้ง) น้อยกว่า 500 กรัม 65 % รูปแบบที่ท่านบริโภคกุ้งแห้ง ใช้ทำอาหาร 60 %



รายงานโดย ผศ.นเรศ ขวัญทอง วันที่รายงาน 30/09/2567 [18044]
18000 100