2567 พัฒนาโมเดลห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำของวิสาหกิจชุมชนทำนาบ้านหลวง อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 0
QR Code
รหัสโครงการ
6234
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ
หน่วยงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา
ชื่อโครงการ
พัฒนาโมเดลห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำของวิสาหกิจชุมชนทำนาบ้านหลวง อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พิกัด
ละติจูด : 14.276194
ลองติจูด : 100.401917
ผู้รับผิดชอบ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ การสร้างอาชีพการปลูกข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำ การแปรรูป นวัตกรรมการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์รอง และผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ ด้วยผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
2. เพื่อถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี เพื่อนำไปสู่การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ยกระดับการผลิตสู่การผลิตเชิงพาณิชย์
3. สร้างรูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจของชุมชนด้วยโมเดลการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำ ด้านการจัดการกลยุทธ์ ด้านการจัดการธุรกิจ ด้านการตลาด และการจัดทำบัญชี
4. เพื่อสร้างการรับรู้การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนสู่การเป็นธุรกิจเพื่อสังคมและเป็นต้นแบบให้กับชุมชนเครือข่าย
ตัวชี้วัด
งบประมาณอนุมัติ
220,000
งบประมาณที่ใช้
220,000
งบประมาณที่เหลือ
ใช้หมด
ข้อเสนอโครงการ
รายงานฉบับสมบูรณ์
ยืนยันโครงการ
07/06/2567
ผู้รับบริการ(แผน)
30
ผู้รับบริการ(จริง)
30
ติดตามผล
33
นำไปใช้ประโยชน์
30
มูลค่าทางเศรษฐกิจ
868,830
ความพึงพอใจ
99
ปัจจัยนำเข้า
ผลผลิต
แผน
ผล ผลผลิตที่ได้จากโครงการปี 3 งบประมาณปี 2566 จำนวนเงิน 220,000 บาท ผลผลิตที่ได้จากการดำเนินโครงการ ดังนี้ จำนวนผู้รับบริการ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ราย จำนวนผู้รับบริการที่มีการติดตามผล จำนวน 30 ราย จำนวนผู้รับบริการที่นำไปใช้ประโยชน จำนวน 30 ราย ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 98.67.00 ได้มูลค่าทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่ตำบลทำนาบ้านหลวงมีจำนวนผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำ (กข 43) จำหน่ายเพิ่มขึ้น
ผล ผลผลิตที่ได้จากโครงการปี 3 งบประมาณปี 2566 จำนวนเงิน 220,000 บาท ผลผลิตที่ได้จากการดำเนินโครงการ ดังนี้ จำนวนผู้รับบริการ ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ราย จำนวนผู้รับบริการที่มีการติดตามผล จำนวน 30 ราย จำนวนผู้รับบริการที่นำไปใช้ประโยชน จำนวน 30 ราย ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 98.67.00 ได้มูลค่าทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่ตำบลทำนาบ้านหลวงมีจำนวนผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำ (กข 43) จำหน่ายเพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์
แผน
ผล 1. ได้เทคโนโลยีการยืดอายุผลิตภัณฑ์ 2 ผลิตภัณฑ์ 2. วิสาหกิจชุมชนทำนาบ้านหลวงเป็นศูนย์การเรียนรู้โมเดลการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำของวิสาหกิจชุมชน 3. มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าชุมชน 4. ชุมชนมีช่องทางการจัดจำหน่ายระบบออนไลน์ ที่สามารถจำหน่ายสินค้าได้ ประกอบด้วยมีเพจ Facebook line Instagram 5. ผลิตภัณฑ์ชุมชนสามารถเข้าสู่การขอรับรองมาตรฐาน และตอบโจทย์ความต้องการของตลาดและผู้บริโภค
ผล 1. ได้เทคโนโลยีการยืดอายุผลิตภัณฑ์ 2 ผลิตภัณฑ์ 2. วิสาหกิจชุมชนทำนาบ้านหลวงเป็นศูนย์การเรียนรู้โมเดลการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ข้าวดัชนีน้ำตาลต่ำของวิสาหกิจชุมชน 3. มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าชุมชน 4. ชุมชนมีช่องทางการจัดจำหน่ายระบบออนไลน์ ที่สามารถจำหน่ายสินค้าได้ ประกอบด้วยมีเพจ Facebook line Instagram 5. ผลิตภัณฑ์ชุมชนสามารถเข้าสู่การขอรับรองมาตรฐาน และตอบโจทย์ความต้องการของตลาดและผู้บริโภค
ผลกระทบ
แผน
ผล ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 1. รายได้ที่เพิ่มขึ้นของกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 2. ทำให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 868,830 บาท ของสมาชิกในวิสาหกิจชุมชนทำนาบ้านหลวง คิดเป็นผลตอบแทนจากการลงทุนในโครงการ ตัวชี้วัด ผลกระทบด้านสังคม 1. จำนวนอาชีพใหม่ของคนในชุมชน 2 อาชีพ 2. จำนวนผลิตภัณฑ์คุณภาพที่ได้รับรองคุณภาพตามหลักโภชนาการ จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าที่มีคุณภาพ 3. คุณภาพชีวิตของชุมชนดีขึ้น ตัวชี้วัด ด้านสิ่งแวดล้อม มีผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2 ชนิด ได้แก่ ข้าวสาร กข 43 ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP และถ่านจากแกลบอัดแท่งมีคุณสมบัติไร้ควัน
ผล ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 1. รายได้ที่เพิ่มขึ้นของกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 2. ทำให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 868,830 บาท ของสมาชิกในวิสาหกิจชุมชนทำนาบ้านหลวง คิดเป็นผลตอบแทนจากการลงทุนในโครงการ ตัวชี้วัด ผลกระทบด้านสังคม 1. จำนวนอาชีพใหม่ของคนในชุมชน 2 อาชีพ 2. จำนวนผลิตภัณฑ์คุณภาพที่ได้รับรองคุณภาพตามหลักโภชนาการ จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าที่มีคุณภาพ 3. คุณภาพชีวิตของชุมชนดีขึ้น ตัวชี้วัด ด้านสิ่งแวดล้อม มีผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2 ชนิด ได้แก่ ข้าวสาร กข 43 ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP และถ่านจากแกลบอัดแท่งมีคุณสมบัติไร้ควัน
รายงานความก้าวหน้า
ไตรมาส | ผลการดำเนินงาน | งบประมาณที่ใช้ | ผู้รับบริการ |
---|---|---|---|
4 [17749] |
วันที่ 30สิงหาคม – 15 กันยายน 2567
ผลิตสื่อองค์ความรู้
วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน 2567 การจัดประชุมเสวนาทางวิชาการและกิจกรรมเชิงปฏิบัติในการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับชุมชนและเครือข่ายการพัฒนา โดย ผศ.ฉวีวรรณ และทีม รายงานโดย นางสาวชนาพร วัยทรง วันที่รายงาน 27/09/2567 [17749] |
63800 | 30 |
4 [17746] | 32800 | 30 | |
4 [17236] | 25000 | 0 | |
4 [17235] | 15000 | 0 | |
4 [17233] | 30000 | 0 | |
4 [17232] |
การวิเคราะห์ และตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ตามหลักโภชนาการ จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ โดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตรวจดัชนีน้ำตาลของข้าว กข 43 โดยอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิเพื่อสถาบันอาหาร ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ตามหลักโภชนาการ ของข้าว PoP Rice สูตรดั้งเดิม กับ สูตรชีส รายงานโดย นางสาวชนาพร วัยทรง วันที่รายงาน 26/08/2567 [17232] |
23206 | 0 |
4 [17231] | 12794 | 30 | |
4 [17230] | 17400 | 30 |