2567 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบด้วย วทน. เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนสู่เชิงพาณิชย์อย่างครบวงจร    0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [18111]

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์

กลุ่มพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ และรูปแบบตามที่กฎหมายกำหนด ของผลิตภัณฑ์น้ำพริกกบ

 

ภาพที่ 6ฉลากบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำพริกกบ



รายงานโดย นางภัทราวดี วงษ์วาศ วันที่รายงาน 30/09/2567 [18111]
3000 2
4 [18109]

กิจกรรมที่ 4 การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ

          คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ ในวันที่ 22 สิงหาคม 2567 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ นางภัทราวดี วงษ์วาศ ตำแหน่ง นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย นครพนม  ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหาร  การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ” ประกอบ

     2.1) บรรยายเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ

     2.2) ปฏิบัติการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ

3) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

4) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

5) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1ท่าน คือ นางภัทราวดี วงษ์วาศ ตำแหน่ง นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย นครพนม  ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหาร

6) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

7) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.77) คิดเป็นร้อยละ 95.4

 

ตารางที่ 2 แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ (N=50)

 

รายการ

ผลการประเมิน

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.78

0.5

มากที่สุด

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.70

0.5

มากที่สุด

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.80

0.6

มากที่สุด

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.87

0.4

มากที่สุด

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.72

0.5

มากที่สุด

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.74

0.5

มากที่สุด

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.78

0.6

มากที่สุด

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.68

0.5

มากที่สุด

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.85

0.5

มากที่สุด

ค่าเฉลี่ยรวม

4.77

-

มากที่สุด

ร้อยละของการประเมินความพึงพอใจเท่ากับ 95.4

 

 

 

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

   6,001 - 7,000บาท

 

5

6

8

18

10

 3

 

10.0

12.0

16.0

36.0

20.0

6.0

         

 

 

ภาพที่ 4กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด
(ลูกฮวก) และกบ ได้แก่ น้ำพริกกบ

 

ภาพที่ 5ผลิตภัณฑ์น้ำพริกกบ



รายงานโดย นางภัทราวดี วงษ์วาศ วันที่รายงาน 30/09/2567 [18109]
27107 50
4 [18026]

กิจกรรมที่ 3 ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม      

คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม ในวันที่ 19 มิถุนายน 2567 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม วิทยากรในการอบรมคือ นางสาวเบญจมาศ  วังคะฮาด นักการตลาดอิสระ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารจัดการกลุ่ม การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “การบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “การบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม” ประกอบ

     2.1) บรรยายเรื่อง การบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม

     2.2) ปฏิบัติการ การบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม

3) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

4) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

5) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1ท่าน คือ นางสาวเบญจมาศ  วังคะฮาด นักการตลาดอิสระ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารจัดการกลุ่ม การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

6) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

7) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.78) คิดเป็นร้อยละ 95.6

 

ตารางที่ 1 แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม (N=50)

 

รายการ

ผลการประเมิน

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.80

0.5

มากที่สุด

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.83

0.4

มากที่สุด

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.75

0.5

มากที่สุด

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.78

0.5

มากที่สุด

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.80

0.6

มากที่สุด

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.77

0.5

มากที่สุด

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.65

0.5

มากที่สุด

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.82

0.5

มากที่สุด

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.78

0.6

มากที่สุด

ค่าเฉลี่ยรวม

4.78

-

มากที่สุด

ร้อยละของการประเมินความพึงพอใจเท่ากับ 96

 

 

 

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

 

5

15

10

18

2

 

10.0

30.0

20.0

36.0

4.0

         

 

 

ภาพที่ 3กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม บัญชีรายรับ-รายจ่าย ของกลุ่ม      



รายงานโดย นางภัทราวดี วงษ์วาศ วันที่รายงาน 30/09/2567 [18026]
12600 50
4 [18017]

กิจกรรมที่ 2 กลุ่มเตรียมความพร้อม และขอรับการตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)        

คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมพากลุ่มเตรียมความพร้อม และขอรับการตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)ในวันที่ 13 มิถุนายน 2567  ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนมตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม และสถานที่เพาะเลี้ยงของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อม และยื่นขอรับการตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP) โดยมีนายวัชริศ ราชวัตร ประมงอำเภอธาตุพนม ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)ทำการตรวจแปลงเบื้องต้นตลอดจนให้คำแนะนำในการดำเนินการในครั้งนี้ โดยสถานที่เพาะเลี้ยงของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ ได้แก่ 1) นายสันติ สุนีย์ 2) นางสว่าง สุนีย์ 3) นางเนวดี สิทธนู 4) น.ส.เพ็ญนภา บุตรดี และ 5) นางทวีสุข อรรถประจง

 

ภาพที่ 2การตรวจแปลงเบื้องต้น เพื่อยื่นขอรับการตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)       



รายงานโดย นางภัทราวดี วงษ์วาศ วันที่รายงาน 30/09/2567 [18017]
9480 50
4 [18015]

กิจกรรมที่ 1ประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 2         

คณะทำงานโครงการได้จัดประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 2 ในวันที่ 7 มิถุนายน 2567
ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 2 แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม โดยมี
นางภัทราวดี วงษ์วาศ หัวหน้าโครงการ เป็นผู้แนะนำโครงการ ผู้ร่วมโครงการ และชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 2 โดยมีสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม มาร่วมรับฟัง

 ภาพที่ 1ประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 1



รายงานโดย นางภัทราวดี วงษ์วาศ วันที่รายงาน 30/09/2567 [18015]
8480 50