2567 เพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน “โครงการอ้อยคั้นน้ำตั้งตัว”   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [17761]

ค่าชุดตรวจสารพิษตกค้างในผลิตภัณฑ์อาหาร



รายงานโดย อัมพิกา เตรียมไธสงค์ วันที่รายงาน 27/09/2567 [17761]
2363 0
4 [17663]

กิจกรรมปลายน้ำ

1) ส่งเสริมการตลาดรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์

ผลลัพธ์ของวัตถุประสงค์

1) กิจกรรมเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย

2) การส่งเสริมการตลาด สร้างการรับรู้เรื่องราวผลิตภัณฑ์

3) การเตรียมข้อมูลยื่นคำร้องขอรับรองมาตรฐานคุณภาพการผลิต (อย.)



รายงานโดย อัมพิกา เตรียมไธสงค์ วันที่รายงาน 25/09/2567 [17663]
51137 40
4 [17662]

กิจกรรมกลางน้ำ

1. ส่งเสริมให้ความรู้การบริหารจัดการธุรกิจ วิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคม (SE)

2. การเพิ่มประสิทธิภาพ และปริมาณการผลิต ผลิตภัณฑ์จากน้ำอ้อยคั้นสด

ผลลัพธ์ของวัตถุประสงค์

1) การพัฒนาโมเดลธุรกิจสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม (SE) การบริหารจัดการธุรกิจสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม (SE) การเงินและแหล่งทุนสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม (SE)

2) ถ่ายทอดองค์ความรู้การเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิต ว่าด้วยวัตถุดิบและกระบวนการผลิต รวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตามหลัก 4M (Man / Machine /Method /Materials) และ PDCA

3) Workshop ระดมสมองเพื่อลดความผิดพลาดและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อ

“เป้าหมายคุณภาพ” ผ่านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องแบบ PDCA

4) Workshop การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้าอ้อยคั้นสด และเทคนิคการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้าอ้อยคั้นสด

5) ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องหลักการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อขอรับรองมาตรฐานการผลิต

6) Workshop การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้าอ้อยคั้นสด และเทคนิคการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้าอ้อยคั้นสด



รายงานโดย อัมพิกา เตรียมไธสงค์ วันที่รายงาน 25/09/2567 [17662]
83600 45
4 [17661]

กิจกรรมต้นน้ำ

1.1 ส่งเสริมให้เกิดพื้นที่การปลูกอ้อยเพิ่มเติม การอบรมการวางแผนพื้นที่ปลูก

1.2 การอบรมการให้ความรู้ทางด้านเกษตรกรอินทรีย์ การทำปุ๋ยอินทรีย์

ผลลัพธ์ของวัตถุประสงค์

     เกิดพื้นที่ปลูกอ้อยเพิ่ม เพื่อให้ได้วัตถุดิบในการผลิตสินค้าเพียงพอต่อความต้องการของตลาดต่อเนื่องตลอดทั้งปี

จำนวนพื้นที่ปลูกอ้อย (เดิม)

จำนวนพื้นที่ปลูกอ้อย (เพิ่ม)

จำนวนไร่

จำนวนกอ

จำนวนไร่

จำนวนกอ

เพิ่มขึ้น (%)

10 ไร่

715 กอ

11.5 ไร่

2,908 กอ

คิดเป็น 406.71%

    การปลูกด้วยมาตรฐานอินทรีย์ หรือ มาตรฐาน PGS ทำให้สภาพแวดล้อมเป็นอินทรีย์โดยธรรมชาติช่วยลดปัญหาสารพิษตกค้างทั้งในพื้นที่ปลูกและในร่างกายมนุษย์ เป็นจุดเด่นของผลิตภัณฑ์



รายงานโดย อัมพิกา เตรียมไธสงค์ วันที่รายงาน 25/09/2567 [17661]
66700 42