2567 โครงการให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี 0
ผล
ผล
ผล
รายงานความก้าวหน้า
ไตรมาส | ผลการดำเนินงาน | งบประมาณที่ใช้ | ผู้รับบริการ |
---|---|---|---|
4 [17950] |
การปล่อยปู คณะอาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง ไปใช้ความรู้เรื่อง ชีววิทยาเบื้องต้นและการอนุรักษ์ปูแสมภูเขา (Geosesarma krathing) ให้กับเยาวชนที่มาจากโรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดจันทบุรี ในกิจกรรมค่ายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด (มูลนิธิชัยพัฒนา) ตำบลตกพรม อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี โดย ปูแสมภูเขา เป็นสัตว์ที่เป็นชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่น (endemic specie) ของประเทศไทยที่พบได้เฉพาะในบางพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรีเท่านั้น ปูชนิดนี้ไม่เป็นที่รู้จักมากนักในประเทศไทย เนื่องจากหายาก แต่เป็นที่รู้จักในตลาดซื้อขายแลกเปลี่ยนสัตว์น้ำสวยงามในต่างประเทศ โดยมีราคาจำหน่ายมากกว่า 200 บาท/ตัว จึงถือว่าเป็นสัตว์ที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันปูชนิดนี้กำลังตกอยู่ในความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์อย่างยิ่ง จากการสูญเสียแหล่งอาศัยจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ไปสู่พื้นที่ทำเกษตรกรรมและสวนผลไม้ สารเคมีทางการเกษตร การท่องเที่ยว และการถูกรวบรวมจากธรรมชาติไปจำหน่าย (ปัจจุบันยังไม่มีการเพาะเลี้ยง) ปลาแขยงกง คณะอาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง ไปดำเนินการนำ วทน. ด้านชีววิทยาสัตว์น้ำ และการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำไปถ่ายทอดให้ชุมชนเพื่อให้สมาชิกชุมชนสามารถในองค์ความรู้ที่ได้ไปสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ ธนาคารปูม้า หมู่ 8 บ้านคลองตะเคียน ตำบลวันยาว อำเภอขลุงจังหวัดจันทบุรี โดยในภาพเป็นกิจกรรมการปล่อยปลาแขยงกง ซึ่งเกิดจากการเพาะพันธุ์โดยสมาชิกในชุมชน โดยจำหน่ายลูกปลาส่วนหนึ่งในกับผู้ประกอบการนำเที่ยว เพื่อเป็นรายได้คืนสู่ชุมชน รายงานโดย น.ส.กานดา ทองนพคุณ วันที่รายงาน 30/09/2567 [17950] |
205450 | 0 |
4 [17559] | 0 | 0 | |
4 [17558] | 0 | 0 | |
3 [16730] |
การอบรมเกษตรกรและถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ระบบน้าหยดแบบอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทุเรียน-มังคุด
วันพฤหัสบดีที่ 18 เมษายน 2567 เวลา 9.00 น. - 12.00 น.
•ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี
1. เทคโนโลยีระบบน้าหยดควบคุมอัตโนมัติ: ประหยัดน้าเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนในทุเรียนและมังคุดโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์: ขับเคลื่อนระบบน้าหยดอย่างยั่งยืน
2. การประยุกต์ผลงานวิจัย: การใช้นวัตกรรมดังกล่าวในทุเรียนและมังคุด
3. การติดตั้งระบบ: เพื่อให้ใช้งานง่ายเหมาะกับสวนทุเรียนและมังคุด
4. แนวทาง การบริหารจัดการน้า: รองรับวิกฤตน้าแล้งในอนาคต
มาตรการ water footprint และ carbon footprint: ผลกระทบต่อการผลิตทุเรียนและมังคุด และการผลิตการเกษกรอื่น ๆ
วิทยากร:ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ มครเพศ และคณะ
ผู้วิจัยโครงการวิจัยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมระบบน้าหยดควบคุมอัตโนมัติร่วมกับการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สาหรับต้นทุเรียนและมังคุดในระยะเริ่มให้ผลผลิต
สนับสนุนการวิจัยโดยงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานมูลฐาน (Fundamental Fund; FF)
จัดสรรงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปี 2566-2567
ผู้เข้าอบรม:
• เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนและมังคุดและประชาชนผู้สนใจทั่วไปจานวน 50 คน
รายงานโดย น.ส.กานดา ทองนพคุณ วันที่รายงาน 27/05/2567 [16730] |
10000 | 70 |
2 [16303] |
ตามที่รัฐบาลกำหนดให้วันเด็กแห่งชาติ ตรงกับวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปี ซึ่งหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้จัดกิจกรรมสำหรับเด็ก เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของเด็กซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งต่อประเทศชาติ ที่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคงสืบไป รายงานโดย น.ส.กานดา ทองนพคุณ วันที่รายงาน 27/03/2567 [16303] |
300 | 50 |
2 [16291] | 2000 | 6 | |
2 [16292] | 1000 | 25 |