2567 โครงการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
2 [16549]

ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี เดือนธันวาคม 2566 ถึงเดือนมีนาคม 2567 ระยะเวลา 6 เดือน เดือนละ 15,000 บาท



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 05/04/2567 [16549]
90000 1
2 [16548]

กิจกรรมที่ 3

          ประชาสัมพันธ์ผู้ประกอบการ เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงผลงานการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ด้วย วทน. สู่เชิงพาณิชย์ “MHESI Innovation Fair @ Jing jai Market”17 – 19 กุมภาพันธ์ 2566 ณ กาดจริงใจมาร์เก็ต จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้ประกอบการที่อยู่ภายใต้การดูแลเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 ราย ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้นำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) สู่การพัฒนาและแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ภายใต้โครงการของกระทรวง อว

(ที่มา : https://www.facebook.com/STIOTOPbyMHESI



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 05/04/2567 [16548]
500 5
2 [16547]

กิจกรรมที่ 2

เข้าร่วมกิจกรรมเจรจาธุรกิจกับนักธุรกิจและนักลงทุน (Business Matching)  และประชาสัมพันธ์การให้บริการของคลินิกเทคโนโลยี มช. ภายใต้โครงการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) การพัฒนานวัตกรรมเศรษฐกิจฐานรากระหว่างประเทศ ณ โรงแรม เมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ และสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย จังหวัดเชียงใหม่ ในการนำนักธุรกิจ นักลงทุน และผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งภายในงานมีการประชาสัมพันธ์การให้บริการคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีการรับโจทย์ความต้องการของผู้ประกอบการ เพื่อประสานอาจารย์และนักวิจัย เข้าไปช่วยแก้ไขปัญหา ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ระดับนานาชาติ

ในครั้งนี้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมกิจกรรม Business Matching จำนวนทั้งสิ้น 12 กิจการ ประกอบด้วย แบรนด์ทองน้ำหนึ่ง, แบรนด์ทิพย์สมุนไพร, แบรนด์เศรษฐีเรือทอง, แบรนด์ลำลนา, แบรนด์แอนนมอลล์, แบรนด์พนาไพร, แบรนด์ชนกฝ้ายแพรไหม, แบรนด์สไบทอง, แบรนด์สุกัญญ์ผ้าผ้าย, แบรนด์กาแฟขุนช่างเคี่ยน, แบรนด์วิสาหกิจชุมชนหมื่นสารบ้านวัวลาย และแบรนด์ Amazing Tea ซึ่งในกิจกรรมวันนี้ ได้รับเกียรติจากตัวแทนนักธุรกิจและนักลงทุนที่ประสบความสำเร็จจากประเทศจีน อินเดีย ญี่ปุ่น เข้าร่วมแลกเปลี่ยนในด้านการจัดการธุรกิจเพื่อการส่งออกอีกด้วย

(รูปภาพ : https://drive.google.com/drive/folders/1rcVK7uG58u4B1ZwB71Zx5CJjnQPah0zS)



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 05/04/2567 [16547]
5000 30
2 [16546]

กิจกรรมที่ 1

  • การให้บริการคำปรึกษาทางเทคโนโลยี มีผู้รับบริการ จำนวน 25ราย ดังแสดงในข้อมูลบทสรุปผู้บริหาร

(รูปภาพ : https://drive.google.com/drive/folders/1h-G0fKyHOgoxqpG2tevdXoYcgwM66sdx)

 

  • การให้บริการข้อมูลเทคโนโลยี มีผู้รับบริการ จำนวน 32 ราย โดยคลินิกเทคโนโลยี มช.ร่วมกับ ศูนย์การเรียนรู้ตำบลเวียง (ศกร.ตำบลเวียง) ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับกลุ่มแม่บ้านและผู้ที่สนใจใน ต.เวียง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ในหัวข้อ กิจกรรมอบรมเชิงเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปเต้าหู้ยี้เพื่อเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบชุมชน ซึ่งโจทย์ที่ได้ มีการส่งต่อจากคลินิกเทคโนโลยี มทร.ล้านนา ซึ่งเป็นการประสานงาน และให้ความร่วมมือภายในเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพชุมชน

(รูปภาพ : https://drive.google.com/drive/folders/13oxlNLNaV6m8r0ANzf_XhUk1XtIo0UTB)

(ที่มา : https://www.facebook.com/nfephrao.waeing)

 

  • การประชาสัมพันธ์การให้บริการคลินิกเทคโนโลยี และจัดแสดงผลงานนวัตกรรมภายใต้โครงการ มีผู้รับบริการ จำนวน 118 ราย เช่น เข้าร่วมจัดแสดงผลงานนวัตกรรมภายใต้โครงการ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ศกร.หนองป่าครั่ง ฐานการเรียนรู้การแต้มสี ลีลามัด โดยมีเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี มทร.ล้านนา จัดกิจกรรมอบรม และคลินิกเทคโนโลยี ม.แม่โจ้ มรฎ.ราชภัฎเชียงใหม่ รวมถึง สวทช. ร่วมจัดแสดงผลงานนวัตกรรมอีกด้วย

(รูปภาพ : https://drive.google.com/drive/folders/1afbwe74bLg6d60eMKQwkecblOGMbrgho)



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 05/04/2567 [16546]
45000 250
2 [16498]

กิจกรรมที่ 3 การประสานการดําเนินงาน พัฒนาจังหวัด ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ร่วมกัน

  • การประสานงานศูนย์ประสานงาน สป.อว. ประจําภูมิภาค จำนวน 1 กิจกรรม
  • ประชาสัมพันธ์ผู้ประกอบการเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงผลงานการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ด้วย วทน. สู่เชิงพาณิชย์ “MHESI Innovation Fair @ Jing jai Market”17 – 19 กุมภาพันธ์ 2566 ณ กาดจริงใจมาร์เก็ต จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้ประกอบการที่อยู่ภายใต้การดูแลเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 ราย

 

รวมงบประมาณโครงการ ที่ใช้ในการดำเนินงานเดือนธันวาคม 2566 – มีนาคม 2567

  • กิจกรรมที่ 1จำนวน 45,000 บาท
  • กิจกรรมที่ 2จำนวน   5,000 บาท
  • กิจกรรมที่ 3 จำนวน     500 บาท
  • ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี จำนวน 90,000 บาท

               รวม  140,500บาท


 



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 04/04/2567 [16498]
0 0
2 [16497]

กิจกรรมที่ 2 การประสานงานและบริหารจัดการเครือข่าย

  • การประสานงานภายในสถาบันการศึกษาและกระทรวงสป.อว.ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงาน คลินิกเทคโนโลยี  จำนวน 1 กิจกรรม
  • เข้าร่วมกิจกรรมเจรจาธุรกิจกับนักธุรกิจและนักลงทุน (Business Matching) และประชาสัมพันธ์การให้บริการของคลินิกเทคโนโลยี มช. ภายใต้โครงการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) การพัฒนานวัตกรรมเศรษฐกิจฐานรากระหว่างประเทศ ณ โรงแรม เมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ และสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย จังหวัดเชียงใหม่


รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 04/04/2567 [16497]
0 0
2 [16496]

จัดกลุ่มตามประเภทเทคโนโลยี

ประเภทเทคโนโลยี

ลำดับที่

รายละเอียดเทคโนโลยี

ผู้เชี่ยวชาญ

ช่องทาง

การรับบริการ

การส่งต่อโครงการ/แพลตฟอร์มที่เหมาะสม

บรรจุภัณฑ์และเทคโนโลยีการบรรจุ

1

+ การบรรจุน้ำด่างในภาชนะแบบปิด และการควบคุมคุณภาพของน้ำด่างสำหรับบริโภค

อาจารย์ ดร.เปรม  ทองชัย

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

 prem.th@cmu.ac.th

สำนักงาน

 

           -

2

+ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์มินิพายสับปะรดเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และคงคุณภาพระหว่างขนส่ง

ศ.พรชัย  ราชตนะพันธุ์

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

Pornchai.r@cmu.ac.th

Zoom meeting

คูปองวิทย์โอทอป

สิ่งทอ

3

+ การเพิ่มมูลค่าเศษผ้าเหลือทิ้งด้วยเครื่องปั่นควบรวมเส้นด้าย

รศ.พิศมัย  อาวะกุลพาณิชย์

คณะวิจิตรศิลป์  มช.

pitsamai.a@cmu.ac.th

Zoom meeting

คูปองวิทย์โอทอป

4

+ การย้อมสีธรรมชาติ ในโทนสีแดง ดำ น้ำเงิน เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไทลื้อ (กระเป๋าคอมพิวเตอร์ กระเป๋าโน็ตบุ๊ค)

รศ.พิศมัย  อาวะกุลพาณิชย์

คณะวิจิตรศิลป์  มช.

pitsamai.a@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

5

+ การปรับปรุงเครื่องตีฟูฝ้ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับผู้สูงอายุกลุ่มทอผ้าฝ้าย

รศ.พิศมัย  อาวะกุลพาณิชย์

คณะวิจิตรศิลป์  มช.

pitsamai.a@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

6

+ การเพิ่มคุณสมบัติและยืดอายุเส้นด้ายหรือกระเป๋าถักเส้นด้ายด้วยสารเคลือบสะท้อนน้ำ

อาจารย์ชวรจน์  ชะวะนะเวช

คณะคณะวิจิตรศิลป์  มช.

chawaroj.c@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (งบ มช.)

7

+ การสกัดสีโปสเตอร์สำหรับป้ายเส้นด้าย และงานตกแต่ง จากเศษวัสดุธรรมชาติในชุมชน

อาจารย์กิตติ  ไชยพาน

คณะวิจิตรศิลป์  มช.

kitti.chaiyaparn@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

8

แนวทางพัฒนางานออกแบบผ้าฝ้ายทอมือกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ ถ่ายทอดความรู้เรื่องหลักการออกแบบ และพัฒนาต้นแบบจากวัตถุดิบในชุมชน

อาจารย์ ดร.สุวิภา จำปาวัลย์

สถาบันวิจัยพหุศาสตร์ มช.

suwipa@hotmail.com

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (งบ มช.)

วัสดุศาสตร์

 

9

+การนำก้อนเชื้อเห็ดเก่ามาขึ้นรูปเป็นกระถางดอกไม้เพื่อเพิ่มมูลค่า

รศ.ดร.วันดี  ธรรมจารี

คณะวิทยาศาสตร์ มช.

wandee.th@cmu.ac.th

Zoom meeting

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (อุทยานวิทย์ภาคเหนือ)

10

+ การขึ้นรูปวัสดุตกแต่งและวัสดุสำนักงานด้วยเส้นใยกัญชง

ผศ.ดร.สุฐพัศ คำไทย

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

suthaphat.k@cmu.ac.th

สำนักงาน

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (งบ มช.)

เครื่องจักร

11

+การปรับปรุงเตาเผาถ่านธรรมดาให้เป็นเตาเผาถ่านกัมมันต์ สำหรับเปลือกโกโก้เหลือทิ้ง

 

ศ.นคร ทิพยาวงค์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.

n.tippayawong@yahoo.com

Zoom meeting

           -

12

+การปรับปรุงระบบลำเลียงสำหรับการบรรจุน้ำผึ้งด้วยเซนเซอร์อัตโนมัติ

ผศ.ดร.วสวัชร  นาคเขียว

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.

wasawat.n@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

13

+ การพัฒนาฟืมทอผ้ากึ่งอัตโนมัติ สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพการทอผ้า และลดข้อบกพร่องจากการทอ

ผศ.ดร.วสวัชร  นาคเขียว

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.

wasawat.n@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

14

+ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ควบคุมและติดตามสถานะการผลิตเครื่องมืออัตโนมัติอย่างง่ายในการผลิตกระเทียมดอง

ผศ.ดร.วสวัชร  นาคเขียว

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.

wasawat.n@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (งบ มช.)

กระบวนการผลิต

15

+ การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติอย่างง่ายสำหรับกลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านกวน

อาจารย์ ดร.อดิเรก ใบสุขันธ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.

adirek.b@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (งบ มช.)

การแปรรูปอาหาร

16

+ การยืดอายุซอสสปาเก็ตตี้พร้อมทาน

 

อาจารย์ ดร.ทับกฤช  ขุมทรัพย์

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

 tabkrich.khumsap@cmu.ac.th

สำนักงาน

    -   

17

+ การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตไซรัปลำไยเพื่อเพิ่มมูลค่าลำไยตกเกรด

อาจารย์ ดร.วรินทร  กลั่นกลิ่น

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

Warinporn.k@cmu.ac.th

Zoom meeting

คูปองวิทย์โอทอป

18

+ มาตรฐานน้ำผึ้งชุมชน และมาตรฐาน GMP ในการสถานที่แปรรูปน้ำผึ้ง

 

ผศ.ดร.ศศิธร  ใบผ่อง

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

Sasitorn_bai@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

19

+การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตน้ำผึ้งกุหลาบโซดา

ผศ.ดร.ศศิธร  ใบผ่อง

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

Sasitorn_bai@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

20

+ การแปรรูปเต้าหู้จากถั่วเหลือง

อาจารย์ ดร.กฤษฎา  อุ่นบ้าน

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

ลงพื้นที่

-

21

+ การแปรรูปเต้าหู้ยี้

อาจารย์ ดร.กฤษฎา  อุ่นบ้าน

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มช.

ลงพื้นที่

-

22

+ การผลิตผลิตภัณฑ์มันหนึบ
โดยกระบวนการเจลลาติไนซ์ (gelatinization) ในสภาวะและระยะเวลาที่เหมาะสม และอบด้วยตู้อบลมร้อน

รศ.ดร.ยุทธนา  พิมลศิริผล

ศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์ มช.

yphimols@yahoo.com

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ)

งานจักสาน

23

+ การใช้สารเคลือบจากสมุนไพรเพื่อป้องกันการเกิดมอดในผลิตภัณฑ์ไม่ไผ่จักสาน

อาจารย์ภูมิรพี  คงฤทธิ์

คณะวิจิตรศิลป์  มช.

phumrapee074@gmail.com

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (มช.)

24

+ การออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ จักสานสำหรับใช้เป็นผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน (ปิ่นโต)

อาจารย์ภูมิรพี  คงฤทธิ์

คณะวิจิตรศิลป์  มช.

phumrapee074@gmail.com

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (มช.)

เพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้ง

25

+ การพัฒนาไม้แผ่นอัดจากเศษเหลือทิ้งในการทำจานใบไม้ และการทำบ้านสัตว์แบบคงทน กับการทำโลงศพสัตว์แบบย่อยสลายง่ายด้วยไม้แผ่นอักจากเศษเหลือทิ้งในการทำจานใบไม้ ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ผศ.ดร.ยุทธนา  ทองท้วม

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มข.
yutthana.t@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

คูปองวิทย์โอทอป

ปศุสัตว์

26

+ การปรับปรุงสูตรอาหารม้าจากพืชชุมชน ให้ถูกหลักอนามัย และโภชนศาสตร์สัตว์

ผศ.ดร.เสาวลักษณ์   แย้มหมื่นอาจ

คณะเกษตรศาสตร์ มช.

saowaluck.y@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (อุทยานวิทย์ภาคเหนือ)

27

+ วิธีการผสมอาหาร และมาตรฐานการให้อาหารสำหรับการเลี้ยงไก่พื้นเมืองเพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร

ผศ.ดร. มนตรี ปัญญาทอง

คณะเกษตรศาสตร์ มช.

montri_pun@cmu.ac.th

ลงพื้นที่

ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (อุทยานวิทย์ภาคเหนือ)

เครื่องสำอาง

28

+ การพัฒนาและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์สบู่เหลวจากน้ำผึ้ง

รศ.ดร.ภญ.วรรธิดา ชัยญาณะ

คณะเภสัชศาสตร์ มช.

wantida.chaiyana@cmu.ac.th

Zoom meeting

คูปองวิทย์โอทอป

29

+ ปรับปรุงสูตรและกระบวนการผลิตสบู่สมุนไพรโดยปรับสูตรเบสสบู่ ให้มีส่วนผสมของน้ำด่าง เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ และไขมัน (น้ำมัน) ในอัตราส่วนที่เหมาะสม เพื่อแก้ไขปัญหาสบู่เละ และละลายง่าย และปรับปรุงกระบวนการผลิตตั้งแต่การตากแห้งสมุนไพร จากการตากแห้งตามธรรมชาติ เป็นการใช้ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์หรือตู้อบลมร้อน เพื่อลดระยะเวลาในกระบวนการตากแห้งลง และเพื่อควบคุมคุณภาพของสมุนไพร และพัฒนากระบวนการผลิตสบู่โดยการใช้ความร้อนในการผสมวัตถุดิบด้วยอุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสม เพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดเหงื่อ และการเกิดเชื้อรา

รศ.ดร.ภญ. วรินธร  รักษ์ศิริวณิช

ศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์ มช.

warintorn.ruksiri.fin@gmail.com

 

Zoom meeting

คูปองวิทย์โอทอป

 


 



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 04/04/2567 [16496]
0 0
2 [16495]

บทสรุปผู้บริหาร

          ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้อนุมัติงบประมาณสนับสนุนให้แก่คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อดำเนินโครงการบริการให้คำปรึกษาและเผยแพร่ข้อมูลเทคโนโลยี รหัส6187ภายใต้แพลตฟอร์มการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS)โดยสรุปผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 - 2เดือนธันวาคม 2566 ถึงเดือนมีนาคม 2567 แบ่งเป็นกิจกรรมย่อยจำนวน 3กิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมที่ 1  กิจกรรมการให้บริการคำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี

·        การให้บริการคำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ

ค่าเป้าหมาย(หน่วยนับ)

ปีงบประมาณ 2567

ผลการดำเนินงาน

ไตรมาส 1 - 2

ปีงบประมาณ 2567

ช่องทางการให้บริการ

สำนักงาน

Email และ Line

การบริการนอกสถานที่ (ลงพื้นที่)

Application ZOOM

1. จำนวนผู้รับบริการคำปรึกษาทางเทคโนโลยี (คน)

40

25

3

-

13

9

2. จำนวนผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี (คน)

·        การประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น การออกบู้ท(คน)

·        การถ่ายทอดข้อมูลเทคโนโลยีพร้อมใช้ (คน)

150

 

150

118

32

 

 

150

 

รวม

190

175

3

0

163

9

จำนวนข้อมูลในระบบ CMO

ค่าเป้าหมาย(หน่วยนับ)

ปีงบประมาณ 2567

ผลการดำเนินงาน

ไตรมาส 1 - 2

ปีงบประมาณ 2567

 

 

 

 

1.       ข้อมูลเทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด

20

29

 

 

 

 

2.       ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ

20

15

 

 

 

 

3.       ข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา

20

2

 

 

 

 



รายงานโดย นายวันโชค  มณีเดช วันที่รายงาน 04/04/2567 [16495]
0 0