4
[17867]
|
วันที่
|
21-22 กันยายน 2567
|
กิจกรรม
|
การทำขนมและอาหาร
|
สถานที่
|
ห้องปฏิบัติการอาหาร วิทยาลัยชุมชนพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การทำเบเกอรี่
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
ผู้รับคำปรึกษา ได้ฝึกอบรมการทำอาหารว่างพื้นถิ่นพังงา ได้แก่ ท๊อฟฟี่เค้ก เค็กส้มและช็อคโกแลต เค้กโรล และชิฟฟ่อนเค้ก ขณะนี้อยู่ระหว่างการติดตามหลังการฝึกอบรม ซึ่งมีผู้ประกอบการ และกลุ่มแม่บ้านที่จะนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปปฏิบัติการทำอหหารว่างเพื่อจำหน่าย
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ผู้ประกอบการ กลุ่มแม่บ้าน ผู้สนใจทั่วไปในจังหวัดพังงา และใกล้เคียง
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
เสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
12000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
10
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17867]
|
12000
|
10
|
4
[17866]
|
วันที่
|
17 - 18 กันยายน 2567
|
กิจกรรม
|
AI สำหรับการพัฒนางานวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน
|
สถานที่
|
โรงแรมรามาดารีสอร์ท บายวินแฮมด์ เขาหลัก อ.ตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
นักวิจัยจะพัฒนางานวิจัย โดยมีเครื่องช่วยในการพัฒนาได้อย่างไร
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
ผู้เข้ารับการอบรม มีความสามารถในการพัฒนางานวิจัย โดยใช้ เครื่องมือ AI ได้แก่ ChatGPT/ Cluade AI/ SciSpace/ Germini / Copilot
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
นักวิจัยในพื้นที่ที่ยื่นความประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพของตนเองในการใช้เครื่องมือAI
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์
|
วิทยากร
|
ผศ.ดร.เกวลิน อังครานนท์
|
งบประมาณ
|
37004.- (งบประมาณ รวม 58000.- )
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
34
|
หมายเหตุ
|
ใช้งบประมาณ ของวิทยาลัยชุมชนพังงา บางส่วน
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17866]
|
37004
|
34
|
4
[17865]
|
วันที่
|
14-15 กันยายน 2567
|
กิจกรรม
|
การทำขนมและอาหาร
|
สถานที่
|
ห้องปฏิบัติการอาหาร วิทยาลัยชุมชนพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
หลักสูตรอาหารว่างถิ่นพังงา
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
ผู้รับคำปรึกษา ได้ฝึกอบรมการทำอาหารว่างพื้นถิ่นพังงา ได้แก่ ขนมจีบ บะ๊จ่าง และซาลาเปา ขณะนี้อยู่ระหว่างการติดตามหลังการฝึกอบรม ซึ่งมีผู้ประกอบการ และกลุ่มแม่บ้านที่จะนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปปฏิบัติการทำอหหารว่างเพื่อจำหน่าย
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ผู้ประกอบการ กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป ในจังหวัดพังงา และพื้นที่ใกล้เคียง
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
เสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
12000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
10
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17865]
|
12000
|
10
|
4
[17864]
|
วันที่
|
17 สิงหาคม 2567
|
กิจกรรม
|
การทำขนมถิ่นพังงา
|
สถานที่
|
ห้องปฏิบัติการอาหาร วิทยาลัยชุมชนพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การทำขนมถิ่นพังงา ขนมอาโป้ง และขนมไข่โบราณ
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
ผู้รับคำปรึกษานำความรู้ และทักษะปฏิบัติการทำขนมอาโป้ง และขนมไข่โบราณ ไปใช้ประโยชน์ในโครงการนักธุรกิจน้อย โครงการฝึกอบรมการส่งเสริมอาชีพสำหรับนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนทับปุดวิทยา
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ครู นักเรียนโรงเรียนทับปุดวิทยา
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
เสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
12000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
18
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17864]
|
12000
|
18
|
4
[17863]
|
วันที่
|
4-5 กรกฎาคม 2567
|
กิจกรรม
|
การฝึกอบรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผักเหมียงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
|
สถานที่
|
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มจักสานรักษ์โลกบ้านปากด่าน ตำบลบางเหรียง อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การแก้ไขปัญหาผักเหมียงล้นตลาด ราคาตก ขายไม่หมด
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
นำผักเหมียงซึ่งมีจำนวนมาก มาทำเป็นผงโยข้าวผักเหมียง ชาผักเหมียง และข้าวเกรียบผักเหมียง
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มจักสานรักษ์โลกบ้านปากด่าน
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
เสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
30000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
10
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
ก่อนดำเนินการ รายได้ผลิตภัณฑ์เป็นศูนย์ หลังการแปรรูปผลิตภัณฑ์และนำออกจำหน่ายเพื่อทดสอบตลาด1 ครั้ง มีรายได้ หลังหักค่าใช้จ่าย 2000 บาท ขณะนีอยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17863]
|
30000
|
10
|
4
[17862]
|
วันที่
|
19 - 21 กรกฎาคม 2567
|
กิจกรรม
|
การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
|
สถานที่
|
ชุมชนบ้านเกาะเคี่ยม ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
1. ชุมชนสามารถขายผลิตภัณฑ์ได้ในราคาที่สูงขึ้นและสามารถแข่งขันในตลาดได้มากขึ้น โดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่แสดงถึงเอกลักษณ์และเน้นถึงคุณค่าของผลิตภัณฑ์
2. ชุมชนสามารถเข้าถึงตลาดใหม่ ๆ ที่กว้างขวางขึ้น ด้วยการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน
3. ชุมชนสามารถพัฒนาและบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เนื่องจากส่งเสริมทักษะด้านการออกแบบ การวิเคราะห์ความต้องการของตลาด และการเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคให้แก่คนในชุมชน
4. ชุมชนสามารถต่อยอดการขายและสร้างรายได้ให้คนในชุมชน ทำให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจภายในชุมชน นอกจากนี้ยังช่วยกระจายรายได้สู่คนในพื้นที่ และเพิ่มโอกาสในการสร้างงานและการจ้างงานในท้องถิ่น"
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ชุมชนบ้านเกาะเคี่ยม ตำบลบางเตย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางสาวอรุณวรรณ มุขแก้ว
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
40000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
12
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
รายได้ก่อนรับบริการคำปรึกษา4,500 บาท/เดือน รายได้หลังรับบริการ 7,200 บาท/เดือน รายได้เพิ่มขึ้น 2,700 บาท/เดือน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 37.50
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17862]
|
40000
|
12
|
4
[17861]
|
วันที่
|
วันที่ 3-5 มิถุนายน 2567
|
กิจกรรม
|
การฝึกอบรมพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ซอสตะลิงปลิง
|
สถานที่
|
วิสาหกิจชุมชมกลุ่มหัตถกรรมและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตำบลกะปง อำเภอกะปง จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ซอสตะลิงปลิง
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
ผลิตภัณฑ์ซอสตะลิงปลิงได้รับการพัฒนาสูตร และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปตะลิงปลิง เพื่อใช้ในการอบรม และยกระดับผลิตภัณฑ์แปรรูปตะลิงปลิง
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
วิสาหกิจชุมชกลุ่มหัตถกรรมและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตำบลกะปง อำเภอกะปง จังหวัดพังงา
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
เสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
20000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
10
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
รายได้เพิ่มขึ้นหลังรับการบริการ ร้อยละ 10
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17861]
|
20000
|
10
|
4
[17860]
|
วันที่
|
3-5 พฤษภาคม 2567
|
กิจกรรม
|
ออกบูธแสดงสินค้า “บาติกศิลปะล้ำค่า กราภูงา”
|
สถานที่
|
หาดบางสัก ตำบลบางม่วง อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การจัดจำหน่ายผ้าบาติก
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
1. ตลาดในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
2. เครือข่ายในการจัดแสดงสินค้าและจำหน่ายผลิตภัณฑ์
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
กลุ่มบาติก ศิลปะริมทาง
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางณัฐสินี ชอบตรง
|
วิทยากร
|
|
งบประมาณ
|
8164
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
286
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
มีรายได้เพิ่มขึ้นในการจำหน่ายผลิต 8,250.- บาท
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17860]
|
8164
|
286
|
4
[17859]
|
วันที่
|
18 มีนาคม 2567
|
กิจกรรม
|
การพัฒนาขนมอบโดยใช้ความรู้ ววน. เพื่อการถนอมอาหารและการบริหารจัดการรายได้ของกลุ่ม
|
สถานที่
|
ศาลาหมู่บ้านบ้านท่าจูด ตำบลบางนายสี และถนนวัฒนธรรมตะกั่วป่า อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
ต้องการผลิตภัณฑ์ที่สามารถถนอมอาหารได้ดี และจัดเก็ไว้ได้นาน และสามารถบริหารจัดการการขายได้ดี
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
1. ชุมชนสามารถทำทาร์ตมังคุด คุกกี้ตัวหนอนไส้มังคุด และคุกกี้มังคุดได้
2. ชุมชนสามารถคิดต้นทุน กำหนดราคาขาย และทดลองจำหน่ายได้
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ชุมชนบ้านท่าจูด ต.บางนายสี อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางณัฐสินี ชอบตรง
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
20000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
32
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
รายได้ของกลุ่มรายได้ ก่อนอบรม300 บาท หลังอบรมรายได้ ประมาณ 500 บาท ต่อสัปดาห์ โดยเฉลี่ย
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17859]
|
20000
|
32
|
4
[17858]
|
วันที่
|
17 มีนาคม 2567
|
กิจกรรม
|
การทำขนมอบจากมังคุด และการทดสอบตลาด
|
สถานที่
|
ศาลาหมู่บ้านบ้านท่าจูด ตำบลบางนายสี และถนนวัฒนธรรมตะกั่วป่า อำเภอตะกั่วป่า
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
1.การแปรรูป เพิ่มมูลค่าพืชผลทางการเกษตร (มังคุด) / 2. การทดลองจำหน่ายสินค้าในตลาด เพื่อประเมินความพึงพอใจ
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
1.สินค้าที่วางจำหน่าย ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างไร/ 2.กลุ่มชุมชน ทราบแนวทางในการทำแผนธุรกิจ
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ประชาชนบ้านท่าจูด
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางณัฐสินี ชอบตรง
|
วิทยากร
|
นายธรนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
4372
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
30
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
500 บาท/คน/สัปดาห์
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17858]
|
4372
|
30
|
4
[17857]
|
วันที่
|
13-14 มีนาคม 2567
|
กิจกรรม
|
การส่งแสริมการท่องเที่ยวด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม : การสำรวจพื้นที่สำหรับการพัฒนาระบบความเป็นจริงเสริม
|
สถานที่
|
อำเภอกะปง
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การพัฒนาเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมสำหรับการท่องเที่ยวอำเภอกะปง จะช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนได้อย่างไร
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
1. สำรวจแหล่งท่องเที่ยว ตามคำขวัญของอำเภอกะปง ได้แก่ ภูตาจอ, ตลาดปากถัก, สวนก๋ง, สวนคุณอเนก ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตำบลเหมาะ, วัดหลวงพ่อเซ้ง, อุทยานพระนารายณ์ 1300 ปี วัด
2. ชุมชนที่ต้องการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว เข้าร่วมกิจกรรม มีแนวคิดในการสร้างการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวอำเภอกะปง ในด้าน แหล่งอาหาร ที่พัก แหล่งท่องเที่ยว
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ในพื้นที่อำเภอกะปง
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์
|
วิทยากร
|
ผศ.ดร.ลัญจกร นิลกาญจน์
|
งบประมาณ
|
19500
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
31
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17857]
|
19500
|
31
|
4
[17856]
|
วันที่
|
28 กุมภาพันธ์ 2567
|
กิจกรรม
|
ให้คำปรึกษา การส่งเสริมการพัฒนาพืชผลทางการเกษตร เพื่อส่งเสริมการตลาดชุมชน
|
สถานที่
|
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ตามรอยพ่อ) บ้านปากช่อง ตำบลโคกกลอย อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
พืชผลทางการเกษตรในพื้นที่ จะสามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อะไรได้บ้าง
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
1. การส่งเสริมการแปรรูปหน่อไม้เพื่อส่งเสริมการขายตลาดจังหวัดภูเก็ต
2. การแปรรูปอาหารทะเล จากตำบลท่าปากแหว่ง
3. รับปัญหาความต้องการเรื่อง การเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่นในบ่อดิน
4. การปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ของกะปิกำนัน
5.การส่งเสริมกิจกรรมในสวนผักเหมียงและแนวทางการแปรรูปผักเหมียงเป็นผลิตภัณฑ์ประจำถิ่น
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
ชุมชนจากตำบลโคกกลอย ที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ตามรอยพ่อ) บ้านปากช่อง ตำบลโคกกลอย อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์/ นายธนิสร คู้ประเสิรฐ/ นางสาวเสาวคนธ์ ศรีสุคนธรัตน์/ นางสาวสุนิสา ประทีป ณ ถลาง
|
วิทยากร
|
นายธนิสร คู่ประเสริฐ
|
งบประมาณ
|
3750
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
24
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17856]
|
3750
|
24
|
4
[17855]
|
วันที่
|
7 กุมภาพันธ์ 2567
|
กิจกรรม
|
ประชุมลงพื้นที่การทำวิจัย
|
สถานที่
|
พื้นที่อำเภอกะปง และพื้นที่อำเภอตะกั่วป่า
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้กับชุมชน
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
ชุมชนมีแนวคิดในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวต่อไป
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
นักวิจัยในพื้นที่
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์
|
วิทยากร
|
รศ.ดร.ปัญญา เลิศไกร
|
งบประมาณ
|
1710
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
13
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
-
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17855]
|
1710
|
13
|
4
[17854]
|
วันที่
|
26 มกราคม - 4 กุมภาพันธ์ 2567
|
กิจกรรม
|
การประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ และการจัดการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน ในงานประจำปีและงานกาชาดจังหวัดพังงา
|
สถานที่
|
ศาลากลางจังหวัดพังงาหลังเก่า
|
หัวข้อให้คำปรึกษา
|
การประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ และการจัดการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
|
ผลการให้คำปรึกษา
|
นำสินค้าจากชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนจาก คลินิกเทคโนโลยีและ โครงการงบประมาณวิทยาลัยชุมชนพังงา
|
กลุ่มเป้าหมาย
|
1. วิสาหกิจชุมชนพัฒนาอาชีพสตรีบ้านไสเสียด
2.กลุ่มแม่บ้านถ้ำทองหลาง (ส้มควาย) ตำบลถ้ำทองหลาง อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา
3.กลุ่มแม่บ้านหมู่ 3 คลองบ่อแสน ตำบลบ่อแสน อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา
4.กลุ่มหัตถกรรมและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรตําบลกะปง อําเภอกะปง จังหวัดพังงา
|
ผู้ให้คำปรึกษา
|
นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์
|
วิทยากร
|
|
งบประมาณ
|
7000
|
จำนวนผู้ใช้บริการ
|
396
|
รายได้ก่อน/หลัง
|
รายได้ต่อชุมชน 10 วันๆละ ประมาณ 2000 บาท
|
รายงานโดย นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วันที่รายงาน 29/09/2567
[17854]
|
7000
|
396
|