2567 โครงการบริการให้คำปรึกษาและเผยแพร่ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 0
ผล 1. จำนวนผู้รับบริการคำปรึกษาทางเทคโนโลยี จำนวน 70 คน 2. จำนวนผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี จำนวน 121 คน จัดเก็บข้อมูลผู้รับบริการลงในไฟล์ word แล้วนำส่งตอนรายงานความก้าวหน้า" 3. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้อยละ 96.02 4. จำนวนข้อมูลในระบบ CMO จำนวน 35 เรื่อง
ผล บรรลุผล
ผล 1. เกษตรกรที่รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมะเขือเทศเชอรี่ สามารถสร้างรายได้จากการปลูกต่อรอบการผลิต อย่างน้อย 300 บาท/ต้น อยูระหว่างติดตามผลคาดว่าจะทราบประมาณเดือนมกราคม 2568 2. ผู้รับบริการมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เกิดความผูกพันใน ความรักสามัคคีของคนในชุมขน
รายงานความก้าวหน้า
ไตรมาส | ผลการดำเนินงาน | งบประมาณที่ใช้ | ผู้รับบริการ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
4 [18025] |
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ประชาชน เยาวชน ระยะเวลา เดือนมกราคม – มีนาคม 2567 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 194,193 บาท ผลการดำเนินโครงการ 1. เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม 2567 ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอนแก่น โดยที่ประชุมได้ให้ความรู้เรื่อง (1) บทบาทของเครือข่ายความร่วมมือในการนำ วทน. ไปบูรณาการในเชิงพื้นที่ (2) แนวทางการเชื่อมโยงกลไกเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนางานด้าน ววน. ในพื้นที่ (3) การขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน ววน. ในระดับภูมิภาค (4) แนวทางและกรอบการดำเนินงานการส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (5) แนวทางการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการตามมิติประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพการให้บริการ จากนั้นทำกิจกรรม เรื่อง “การทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน วทน. ในระดับภูมิภาค” โดยในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย (1) ข้าวหอมมะลิ ข้าวพื้นถิ่น (2) โคเนื้อ โคนมคุณภาพและสัตว์เศรษฐกิจ (3) ผ้าทออีสาน (4) ผลิตภัณฑ์และบริการ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ วัตถุดิบ ท้องถิ่นสมุนไพร (5) ท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมอารยธรรมอีสาน/วิถีชีวิตลุ่มน้ำโขง 2. เข้าร่วมประชุมเครือข่ายส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ ววิจัยและนวัตกรรม Science Research and innovation SRI network townhall ระหว่างวันที่ 24-26 มิถุนายน 2567 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร 3. ลงพื้นที่ในการกำกับติดตามการเตรียมโรงเรือน แปลงปลูก คุณภาพวัสดุปลูก น้ำหมักชีวภาพปลาและผลไม้ สารชีวภัณฑ์ ระหว่างวันที่ 15-16 สิงหาคม 2567 จำนวน 20 คน สรุปโดยภาพรวม การเตรียมโรงเรือน แปลงปลูก คุณภาพวัสดุปลูก น้ำหมักชีวภาพปลาและผลไม้ สารชีวภัณฑ์ มีคุณภาพตามที่กำหนด ควรเพิ่มวัสดุปลูก ทั้งนี้ มี จำนวน 2 คน ที่อยู่ระหว่างการปรับสรุงโรงเรือน
4. ลงพื้นที่ในการกำกับติดตามการเพาะต้นกล้า การปลูกในวัสดุ เช่น ตะกร้าหรือถุงปลูก การวางระบบน้ำ การเจริญเติบโต การดูแลรักษา การป้องกันโรค วันที่ 18 ,20 กันยายน 2567 จำนวน 18 คน สรุปโดยภาพรวมค่าดินดี การให้น้ำเหมาะสม ต้นกล้าโตดี ควรราด รดไตรโคเดอร์มาเพื่อป้องกันการเกิดโรค
5.เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพครูของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (ครู สกร.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ณ จังหวัดขอนก่อน ระหว่างวันที่ 12 – 13 กันยายน 2567 ณ ห้องประชุมมงคลประดู่ อาคาร 50 ปี เทคนึไทย-เยอรมัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น โดยที่ประชุมได้ให้ความรู้เรื่อง บทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) หน่วยงานในสังกัด อว. กลไกการท างาน และการบูรณาการความร่วมมือและการสนับสนุนงบประมาณขับเคลื่อนแผนการดำเนินงานด้าน ววน. จากนั้นร่วมการจัดทำ One page จากการวิเคราะห์ประเด็นความต้องการเชิงพื้นที่ของครู สกร. ของจังหวัดอุบลราชธานี ในประเด็น ผ้าและเครื่องแต่งกาย:ผ้าคลุมไหล่ซวยมือปราสาทผึ้ง และจังหวัดศรีสะเกษ ในประเด็นอาหารและเครื่องดื่ม:กาแฟพร้อมดื่มกาแฟสมุนไพรสบู่สครับผิวจากกากกาแฟ
รายงานโดย น.ส.โฉมสอางค์ ไชยยงค์ วันที่รายงาน 30/09/2567 [18025] |
194193 | 121 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2 [16410] |
รายงานความก้าวหน้า ไตรมาส 2 ปีงบประมาณ 2567 โครงการการบริการให้คำปรึกษาและเผยแพร่ข้อมูลวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ประชาชน เยาวชน ระยะเวลา เดือนมกราคม – มีนาคม 2567 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 39,557บาท ผลการดำเนินโครงการ 1. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคโนโลยีการปลูกมะเขือเทศเชอรี่อินทรีย์ในโรงเรือนแบบมืออาชีพ” ระหว่างวันที่ 9-10 พฤศจิกายน 2566 มีประชาชนในพื้นที่ รอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 55 คน 2. เข้าร่วมงาน “Ubon Sustainability Festival” เทศกาล สังคมสู่ความยยั่งยืนอุบลราชธานี 2024 โครงการยกระดับการค้าเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากภาคอีสานสู่ศูนย์กลางเศรษฐกิจลุ่มแม่นาโขง กิจกรรมเพิ่มช่องทาง/เชื่อมโยงตลาดในประเทศ ตลาดสินค้าอินทรีย/์ สินค้าปลอดภัย(ตลาดเขียว) ระหว่างวันที่ 14 – 16 กุมภาพันธ์ 2567 ณ โรงแรมสุนีย์ สุนีย์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โดย คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้นำเกษตรผู้ปลูกมะเขือเทศเชอรรี่หวานอินทรีย์ เข้าร่วมจัดบูธและจำหน่ายมะเขือเทศเชอรรี่หวานอินทรีย์ จำนวน 8 คน 3. เข้าร่วมจัดนิทรรศการงานเกษตรอีสานใต้ ประจำปี 2567 ครั้งที่ 15 ภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรแม่นยำสู่เกษตรไทยมูลค่าสูง" ระหว่างวันที่ 16-25 กุมภาพันธ์ 2567 ณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดย คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้จัดบูธบริการให้คำปรึกษาในด้านการปลูกมะเขือเทศเชอรรี่หวานอินทรีย์ในโรงเรือน การทำโรงเรือนมะเขือเทศ การปลูกผักอินทรีย์ในโรงเรือน และมีการจำหน่ายมะเขือเทศเชอรรี่หวานอินทรีย์ และสินค้าจากการดำเนินโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG(U2T) มีผู้สนใจเข้าร่วมรับชมบูธ จำนวน 99 คน และมีผู้รับบริการให้คำปรึกษา จำนวน 10 คน 4. ประชุมวางแผนการตลาดมะเขือเทศอินทรีย์ร่วมกับเกษตรมืออาชีพ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2567 ณ ห้องประชุมศรีเมืองใหม่ ชั้น 3 สำนักงานอธิการบดี โยมีเกษตรเข้าร่วมโครงการ 21 คน ซึ่งมีการสรุปรายได้และวางแผนการตลาดมะเขือเทศอินทรีย์ ในปี 2567 5. ติดตามผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG ระหว่างวันที่ 21 มีนาคม- 1 เมษายน 2567 ในพื้นที่ อำเภอเมือง วารินชำราล สว่างวีระวงศ์ พิบูลมังสาหาร นาตาล เขมราฐ ศรีเมืองใหม่ บุญฑริก สิรินธร รายงานโดย น.ส.โฉมสอางค์ ไชยยงค์ วันที่รายงาน 02/04/2567 [16410] |
39557 | 55 |