2567 การให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยีแก่ชุมชน   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [17409]

ผลการดำเนินงานไตรมาส 4

กิจกรรมที่ 1

วันที่ 5 กรกฎาคม 2567  งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก จัดกิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่องระบบการปลูกพืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน และการเลือกวัตถุดิบสำหรับทำถ่านชีวภาพเพื่อใช้ผลิตแท่งเชื้อเพลิงณ ต.สำนักขุนเณร อ.ดงเจริญ จ.พิจิตร

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :   7 คน

วิทยากรและทีมงาน      :  1. ดร.สุจิตตรา อินทอง

                                     2. นายพีรพันธ์ ทองเปลว

                                     3. ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม

                                     4. ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ

                                     5. ผศ.ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ

เทคโนโลยีที่ใช้ในการถ่ายทอด :    - ระบบการปลูกพืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน

                                                  - การเลือกวัตถุดิบสำหรับทำถ่านชีวภาพเพื่อใช้ผลิตแท่งเชื้อเพลิง

ผลการดำเนินงาน        :   วิทยากรได้อธิบายเกี่ยวกับเรื่องระบบการปลูกพืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืนว่ามีความสำคัญอย่างไร และสามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรแบบไหน จากนั้นได้มีการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องการเลือกวัตถุดิบสำหรับทำถ่านชีวภาพเพื่อใช้ผลิตแท่งเชื้อเพลิง ว่าควรเลือกแบบไหนให้เหมาะสม แบบไหนที่ไม่สามารถนำมาทำถ่านชีวภาพได้

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4a%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4a%20(2).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1การถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่องระบบการปลูกพืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน และการเลือกวัตถุดิบสำหรับทำถ่านชีวภาพเพื่อใช้ผลิตแท่งเชื้อเพลิง

 

กิจกรรมที่ 2

          ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพครู สกร. ภาคเหนือด้วย อววน.” ณ โรงแรมคุ้มภูคำ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีรายละเอียดการประชุมดังนี้

1. การบูรณาการความร่วมมือจากสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานในสังกัด อว. ในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนแผนการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สกร. และ สป.อว.

2. บทบาทภารกิจของหน่วยงานในสังกัด อว. กลไกการทำงานของ กปว. และแนะนำเทคโนโลยีพร้อมใช้เพื่อพัฒนาพื้นที่ชุมชนภาคเหนือ

3. โมเดลต้นแบบการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สกร. และ อว. “ Road Map to ม่อนล้านโมเดล”

4. โมเดลต้นแบบการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สกร. และ อว. “ การพัฒนาด้านเกษตร และปศุสัตว์ จังหวัดพะเยา”

5.โมเดลต้นแบบการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สกร. และ อว. “ด้านสื่อการเรียนการสอน ผู้ไม่รู้หนังสือ”

6. แนวทางการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาหลักสูตรพัฒนาทักษะอาชีพของ สกร.

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4b%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4b%20(2).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพครู สกร. ภาคเหนือด้วย อววน.”

 

กิจกรรมที่ 3

          วันที่ 18 กรกฎาคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำปีงบประมาณ 2567 เดือนกรกฎาคม 2567 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีอาจารย์และบุคลากรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลกเข้าร่วมให้บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา ด้านการทำเกษตรผสมผสาน การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเลี้ยงปลาและการทำอาหารปลาต้นทุนต่ำ การเลี้ยงโคนม-โคเนื้อและการรีดนมโค และเทคโนโลยีสารสนเทศด้านคอมพิวเตอร์ ให้แก่ประชาชน ตำบลชุมแสงสงคราม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ         :  96คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              :  

  1. นางสุทินา พึ่งทอง
  2. นายสุภภณ พลอยอิ่ม
  3. นางสาวอรณิช คำยง
  4. นางพรวิภา สะนะวงศ์
  5. นายพรเทพ  เกียรติดำรงกุล
  6. นางสาวปฏิกมล โพธิคามบำรุง
  7. นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ
  8. นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี
  9. นายกฤษณะ หมีนิ่ม
  10. นางสาวคัทรียา เต๋จ๊ะ
  11. นางสาวบุญญิสา วังวงศ์
  12. นางสาวอาภรณ์ นากุ
  13. นางสาวชฎาพร ประทุมมา              

ผลการดำเนินงาน : มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านด้านการทำเกษตรผสมผสาน การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเลี้ยงปลาและการทำอาหารปลาต้นทุนต่ำ การเลี้ยงโคนม-โคเนื้อและการรีดนมโค และเทคโนโลยีสารสนเทศด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4c%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4c%20(2).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน เดือนกรกฎาคม 2567

 

กิจกรรมที่ 4

วันที่ 20 กรกฎาคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก จัดกิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การเตรียมพื้นที่โรงเรือน การเตรียมอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ไข่ และการจัดการสุขาภิบาล การป้องกันโรคสัตว์ปีกณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กองพันทหารอากาศโยธิน กองบิน 46

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  6คน

วิทยากรและทีมงาน      : 1. นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์

                                     2. นางจันทรา สโมสร และทีมงาน

เทคโนโลยีที่ใช้ในการถ่ายทอด :          - การเตรียมพื้นที่โรงเรือน

- การเตรียมอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ไข่

- การจัดการสุขาภิบาล

- การป้องกันโรคสัตว์ปีก

ผลการดำเนินงาน        :   ทางวิทยากรได้บรรยายเกี่ยวกับเรื่องการเตรียมพื้นที่โรงเรือน การเตรียมอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ไข่ และการจัดการสุขาภิบาล การป้องกันโรคสัตว์ปีกว่าควรมีหลักการและมีการวางแผนงานอย่างไรจึงจะได้ผลผลิตในปริมาณสูงและมีคุณภาพ สามารถเพิ่มรายได้อย่างสูงสุด

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4d%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4d%20(2).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 4การถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การเตรียมพื้นที่โรงเรือน อุปกรณ์การเลี้ยงไก่ไข่ และ        การจัดการสุขาภิบาล การป้องกันโรคสัตว์ปีก

 

กิจกรรมที่ 5

วันที่ 21 กรกฎาคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก จัดกิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การเลี้ยงปูนาณ ศูนย์การเรียนรู้ตำบลวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  9 คน

วิทยากรและทีมงาน      :  นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญและทีมงาน

เทคโนโลยีที่ใช้ในการถ่ายทอด :    - การเลี้ยงปูนา

ผลการดำเนินงาน        :   ทางวิทยากรได้บรรยายเกี่ยวกับเรื่องการเลี้ยงปูนาว่าควรมีหลักการและมีการวางแผนงานอย่างไรจึงจะได้ผลผลิตในปริมาณสูงและมีคุณภาพ สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรได้อย่างสูงสุด

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4e%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4e%20(2).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 5การถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การเลี้ยงปูนา

 

กิจกรรมที่ 6

          ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก เข้าร่วมงานประชุมเครือข่ายส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Science Research and Innovation (SRI) Network Townhallณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร โดยมีรายละเอียดการประชุมดังนี้

1. แพลตฟอร์มภายใต้กิจกรรมการส่งเสริมการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน

2. เป้าหมายการส่งเสริมการนำ วทน. เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ปี 2568

3. “การทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค”ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมการนำ วทน. เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567”

4. กรอบและแนวทางการสนับสนุนงบประมาณ “กิจกรรมส่งเสริมการนำ วทน. เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

5. ขั้นตอนการพิจารณาข้อเสนอโครงการและสนับสนุนงบประมาณ ปี พ.ศ.2568

6. หลักเกณฑ์การสนับสนุนงบประมาณ ปี พ.ศ. 2568

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4f%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4f%20(2).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 6งานประชุมเครือข่ายส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Science Research and Innovation (SRI) Network Townhall

 

กิจกรรมที่ 7

เรื่อง  การให้บริการคำปรึกษาผู้ประกอบการหรือกลุ่มประชาชนที่สนใจ ในกิจกรรมชิมและช้อป ผลิตภัณฑ์จากโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตรประกาศนียบัตรนวัตกรรมสตรีทฟู้ดสำหรับผู้ประกอบการ

วันที่  9-11 สิงหาคม 2567

ผู้ขอรับบริการ  :  9 คน

สถานที่  ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่าพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

ผู้ให้คำปรึกษา    1. ผศ.ดร.อรรณพ  ทัศนอุดม

                           2. นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ

            3. นางสาวเมธาวี อนะวัชกุล

การให้คำปรึกษา

1. คุณพรทิพย์ สิทธิลักษ์ ผู้ประกอบการจาก ต.หัวรอ อ.เมือง จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษา      เรื่องการผลิตพริกแกงสำเร็จรูป เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

2. คุณวาสนา ตันอุดม ผู้ประกอบการจาก ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การแปรรูปขนมไทย เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

3. คุณบรรเจิด ศิธิปโชติ ผู้ประกอบการจาก ต.หัวรอ อ.เมือง จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษา    เรื่อง การใช้ประโยชน์จากขี้เลื่อย เพื่อการประกอบธุรกิจ

4. คุณสายธาร เอมอิ่ม ผู้ประกอบการจาก ต.ชัยนาม อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากโกโก้ เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

5. คุณภูริพจน์ วิชหิมพาลี ผู้ประกอบการจาก ต.ท่าตาล อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวโพด เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

6. คุณนารินทร์พร ชนะสุพรรณ ผู้ประกอบการจาก ต.หัวรอ อ.เมือง จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การต่อยอดธุรกิจผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด เพื่อขยายฐานการตลาด

7. คุณนิภาภรณ์ ไชยวัฒนพันธุ์ ผู้ประกอบการจาก ต.ปากโทก อ.เมือง จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากใบชะพลู เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

8. คุณธมกร มังกรทอง ผู้ประกอบการจาก ต.บางพลับ อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การผลิตลอดช่องจากผำ เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

9. คุณณัฐวรารินทร์ เม่งมั่งมี ผู้ประกอบการจาก ต.วงฆ้อง อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากฝรั่งไส้แดง เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4g%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4g%20(2).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4g%20(3).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4g%20(4).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 7 การให้บริการคำปรึกษาผู้ประกอบการหรือกลุ่มประชาชนที่สนใจ ในกิจกรรมชิมและช้อป ผลิตภัณฑ์จากโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตรประกาศนียบัตรนวัตกรรมสตรีทฟู้ดสำหรับผู้ประกอบการ

 

กิจกรรมที่ 8

          วันที่ 20 มิถุนายน 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดนิทรรศการในOpen house RMUTL Phitsanulok 2024 เปิดบ้านหลังที่สองเพิ่มมุมมองการศึกษา "นวัตกรรมใหม่ สร้างสรรค์ เพื่อเกษตรไทยยั่งยืน" โดยมีอาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์แลtเทคโนโลยี การเกษตรเข้าร่วมให้บริการข้อมูลเทคโนโลยี ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4h%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4h%20(2).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4h%20(3).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4h%20(4).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 8 จัดนิทรรศการใน Open house RMUTL Phitsanulok 2024 เปิดบ้านหลังที่สองเพิ่มมุมมองการศึกษา "นวัตกรรมใหม่ สร้างสรรค์ เพื่อเกษตรไทยยั่งยืน"

 

กิจกรรมที่ 9

          วันที่ 23 สิงหาคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก      ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำปีงบประมาณ 2567              เดือนสิงหาคม 2567 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีอาจารย์และบุคลากรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลกเข้าร่วมให้บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา ด้านเทคโนโลยีการปลูกกล้วยเพื่อเศรษฐกิจและการปลูกพืชผักสวนครัว เทคโนโลยีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีการผลิตอาหารปลาต้นทุนต่ำ เทคโนโลยีการเลี้ยงปลาและกบ เทคโนโลยีการผลิตแบคทีเรียสังเคราะห์แสง เทคโนโลยีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ เทคโนโลยีการผลิตถ่านอัดก้อนจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร(พลังงานชีวมวล) ให้แก่ประชาชน ตำบลท่าทอง  อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ         :  37 คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              :  

  1. นายบุญฤทธิ์ สโมสร
  2. นางสาวสุกัญญา ทับทิม
  3. นางสาวณัฏฐิรา ก๋าวินจันทร์
  4. นางสาวรุ่งระวี ทองดอนเอ
  5. นายสุภภณ พลอยอิ่ม
  6. นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ
  7. นายปุณณะวุทฒ์ ยะมา
  8. นายพีรพันธ์ ทองเปลว
  9. นายนิติพงษ์ ปานบุญ
  10. นายกฤษณะ หมีนิ่ม
  11. นางสาวชฎาพร ประทุมมา                                       

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านเทคโนโลยีการปลูกกล้วยเพื่อเศรษฐกิจและการปลูกพืชผักสวนครัว เทคโนโลยีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีการผลิตอาหารปลาต้นทุนต่ำ เทคโนโลยีการเลี้ยงปลาและกบ เทคโนโลยีการผลิตแบคทีเรียสังเคราะห์แสง เทคโนโลยีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ เทคโนโลยีการผลิตถ่านอัดก้อนจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร(พลังงานชีวมวล) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4i%20(1).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4i%20(2).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4i%20(3).jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/4i%20(4).jpg

ภาพกิจกรรมที่ 9 กิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน เดือนสิงหาคม 2567



รายงานโดย นางสาวชฎาพร ประทุมมา วันที่รายงาน 16/09/2567 [17409]
53200 176
3 [16920]

ผลการดำเนินงานไตรมาส 3

กิจกรรมที่ 1

เรื่อง  การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากส้มซ่า

วันที่  18เมษายน 2567

ผู้ขอรับบริการ  วิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ทรัพยากรชีวภาพเพื่อเศรษฐกิจชุมชน

ผู้ให้คำปรึกษาผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยาพร นิพรรัมย์ ร่วมกับทางศูนย์ส่งเสริมอุตสหกรรมภาคที่ 2

สถานที่  วิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ทรัพยากรชีวภาพเพื่อเศรษฐกิจชุมชน (วิสาหกิจชุมชนบ้านวังส้มซ่า) ต.ท่าโพธิ์ อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

การให้คำปรึกษา ผู้ประกอบจากวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ทรัพยากรชีวภาพเพื่อเศรษฐกิจชุมชน (ชื่อเดิมคือวิสาหกิจชุมชนบ้านวังส้มซ่า) ต.ท่าโพธิ์ อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์เจลลี่ส้มซ่า เนื่องจากทางวิสาหกิจชุมชนบ้านวังส้มซ่า ได้มีการนำผิวของส้มซ่าไปผลิตเป็นยาดม แล้วเหลือผลของส้มซ่า จึงอยากนำมาแปรรูปให้เกิดผลผลิต โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยาพร นิพรรัมย์ ได้ร่วมกับทางศูนย์ส่งเสริมอุตสหกรรมภาคที่ 2 ลงพื้นที่ไปถ่ายทอดองค์ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์เจลลี่ส้มซ่า ให้แก่ผู้ประกอบการ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้ต่อยอดอาชีพต่อไป  

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3a1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3a2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากส้มซ่า

 

กิจกรรมที่ 2

          วันที่ 23 เมษายน 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำปีงบประมาณ  พ.ศ. 2567 เดือนเมษายน 2567 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีอาจารย์และบุคลากรจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรเข้าร่วมให้บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา ด้านการทำเกษตรแบบผสมผสาน การเลี้ยงโคนม-โคเนื้อ และการส่องไข่ที่มีเชื้อ ให้แก่ประชาชน ตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  26คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              :  1. นายบุญฤทธิ์ สโมสร

                                     2. นางจันทรา สโมสร

                                     3. ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงกุล

                                     4. นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์

                                     5. นายพรศิลป์ แก่นท้าว

                                     6. นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี

                                     7. นายกฤษณะ หมีนิ่ม

                                     8. นายนิติพงษ์ ปานบุญ

                                     9. นางสาวชฎาพร ประทุมมา                       

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านการทำเกษตรแบบผสมผสาน การเลี้ยงโคนม-โคเนื้อ และการส่องไข่ที่มีเชื้อ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3b1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3b2.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3b3.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3b4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน เดือนเมษายน 2567

 

กิจกรรมที่ 3

          วันที่ 6-7มิถุนายน 2567งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนและส่งเสริม การใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 พื้นที่ภาคเหนือ ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่) โดยมีรายละเอียดการประชุมดังนี้

  1. บทบาทของเครือข่ายความร่วมมือใน การนำ วทน. ไปบูรณาการในเชิงพื้นที่
  2. แนวทางการติดตามและประเมินผลการดำเนิน โครงการตามมิติประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพการให้บริการ
  3. Show & Share success การพัฒนางานด้าน ววน. ในพื้นที่
  4. การขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน ววน. ในระดับภูมิภาค
  5. แนวทางและกรอบการดำเนินงานการส่งเสริมและ สนับสนุนงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
  6. แนวทางการเชื่อมโยงกลไกเครือข่ายความร่วมมือ ในการพัฒนางานด้าน ววน. ในพื้นที่
  7. การทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนและส่งเสริม การใช้ประโยชน์งานด้าน วทน. ในระดับภูมิภาค

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3c1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3c2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 3 ร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนและส่งเสริม การใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

พื้นที่ภาคเหนือ

 

กิจกรรมที่ 4

          วันที่ 17มิถุนายน 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดนิทรรศการในงานตรวจประเมินตำบลเข้มแข็งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” โดยมีอาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรเข้าร่วมให้บริการข้อมูลเทคโนโลยี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3d1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3d2.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3d3.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3d4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 4จัดนิทรรศการในงานตรวจประเมินตำบลเข้มแข็งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

 

กิจกรรมที่ 5

          วันที่ 19 มิถุนายน 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก      ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำปีงบประมาณ 2567 เดือนมิถุนายน 2567 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีอาจารย์และบุคลากรจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรเข้าร่วมให้บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา ด้านการทำเกษตรเกษตรทฤษฎีใหม่ การทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การทำน้ำหมักปลา การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งธรรมชาติ การเลี้ยงโคนม-โคเนื้อ และการรีดนมโค ให้แก่ประชาชน ตำบลมะต้อง อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  60คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              :                          1. นายบุญฤทธิ์ สโมสร

 2. นางจันทรา สโมสร

 3. นายอรรถพล ตันไสว

 4. นางสาวนันทยา เก่งเขตร์กิจ

 5. นางสาวรุ่งระวี ทองดอนเอ

 6. นางสาวอพิศรา หงส์หิรัญ

 7. นายพรศิลป์ แก่นท้าว

 8. นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี

 9. นายกฤษณะ หมีนิ่ม

10. นางสาวชฎาพร ประทุมมา                     

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านการทำเกษตรเกษตรทฤษฎีใหม่ การทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การทำน้ำหมักปลา การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งธรรมชาติ การเลี้ยงโคนม-โคเนื้อและการรีดนมโค เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3e1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3e2.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3e3.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3e4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 5กิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน เดือนมิถุนายน 2567

 

กิจกรรมที่ 6

วันที่ 29-30 มิถุนายน 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก        จัดกิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การปลูกพืชแบบผสมผสาน การผลิตข้าว การปลูกพืชเศรษฐกิจทางเลือก และการเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกข้าว ณ ต.หนองกุลา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  15 คน

วิทยากรและทีมงาน      :        1. นางสาวอรณิช คำยง

 2. นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี

 และทีมงาน

เทคโนโลยีที่ใช้ในการถ่ายทอด :          - การปลูกพืชแบบผสมผสาน

- ด้านการผลิตข้าว

- การปลูกพืชเศรษฐกิจทางเลือก

- การเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกข้าว

ผลการดำเนินงาน        :   วันที่ 29 มิถุนายน 2567 ทางวิทยากรได้บรรยายเกี่ยวกับเรื่องการปลูกพืชเศรษฐกิจทางเลือก และการเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกข้าว ว่าควรมีหลักการและมีการวางแผนงานอย่างไรจึงจะได้ผลผลิตในปริมาณสูงและมีคุณภาพ สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรได้อย่างสูงสุด และ วันที่ 30 มิถุนายน 2567 ทางวิทยากรได้บรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การปลูกพืชแบบผสมผสาน การผลิตข้าว พร้อมกับการไปลงพื้นที่แนะนำวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆให้แก่เกษตรกรอีกด้วย

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3f1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3f2.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3f3.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3f4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 6กิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การปลูกพืชแบบผสมผสาน การผลิตข้าว การปลูกพืชเศรษฐกิจทางเลือก และการเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกข้าว

 

กิจกรรมที่ 7

วันที่ 30 มิถุนายน 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก        จัดกิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่องการทำข้าวเกรียบปูนา และการพัฒนาสูตรข้าวเกรียบปูนา ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  ผู้ประกอบการ

จำนวนผู้รับบริการ        :  3 คน

วิทยากรและทีมงาน      :        1. ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ

 2. นางสาวเกสร กลีบบัว

 และทีมงาน

เทคโนโลยีที่ใช้ในการถ่ายทอด :          - การทำข้าวเกรียบปูนา

- การพัฒนาสูตรข้าวเกรียบปูนา

ผลการดำเนินงาน        :   วิทยากรได้บรรยายเกี่ยวกับเรื่องการทำข้าวเกรียบปูนา โดยมีการให้ความรู้ด้านเทคนิคในการผสมวัตถุดิบต่าง ๆ การขึ้นรูป รวมถึงระยะเวลาและการควบควบความร้อนระหว่างการนึ่ง และวิธีการตากที่เหมาะสม ในส่วนของการพัฒนาสูตรข้าวเกรียบปู วิทยากรได้ให้คำแนะนำถึงวิธีการและเทคนิคที่จะทำให้ข้าวเกรียบปูนามีกลิ่นปูนาที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และปรับปรุงสูตรเพื่อให้มีรสชาติที่เข้มขนขึ้นตามคำแนะนำของผู้บริโภค เพื่อให้ถูกปากและถูกใจ และเพิ่มยอดขายให้มากขึ้น

 

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3g1.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/3g2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 7กิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่องการทำข้าวเกรียบปูนาและการพัฒนาสูตรข้าวเกรียบปูนา

 



รายงานโดย นางสาวชฎาพร ประทุมมา วันที่รายงาน 03/07/2567 [16920]
61800 105
2 [16342]

ผลการดำเนินงานไตรมาส 2

กิจกรรมที่ 1

วันที่ 31 มกราคม 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ลงพื้นที่ให้บริการคำปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยี เรื่อง ยกระดับมาตรฐานการผลิตไก่ไข่อินทรีย์โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเป็นฐาน ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี จ.สุโขทัย  ณ  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรก้าวหน้า ตำบลตาลเตี้ย  อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  16 คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              : 1. ดร.อุษณีย์ภรณ์       สร้อยเพ็ชร์      

                                   2. นายภควัต             หุ่นฉัตร์          

                                   3. นางสาวรัชนีกร        แรงขิง           

                                   4. นางวรรณภา          สระพินครบุรี    

                                   5. นางสาวเมธาวี         อนะวัชกุล       

                                   6. นายปิยะพงษ์          วงค์ขันแก้ว      

                                   7. ดร.เนตรนภางค์       ทองศรี           

                                   8. ดรปวีรัฐ                ภักดีณรงค์       

                                   9. นายฤทธิ์เดชา         ตาบุญใจ         

                                  10. นางสาวปฏิกมล      โพธิคามบำรุง             

                            

ผลการดำเนินงาน        :    ประเด็นปัญหาของเกษตรกรคือต้องการผลิตอาหารไก่ไข่อินทรีย์ที่ภายใต้มาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตสูงและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไข่ขาวผง และมีประเด็นที่ต้องการพัฒนาด้านการพัฒนากระบวนการเลี้ยงและผลิตไข่ไก่อินทรีย์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่อินทรีย์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์และส่งเสริมการตลาด งานคลินิกเทคโนโลยีจึงได้เชิญอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากทุกสาขาเป็นการบูรณการระหว่างศาสตร์ ได้แก่ เกษตรศาสตร์ สัตวศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีสารสนเทศ การตลาด และการบัญชี เป็นต้น ดังนั้นจะก่อให้เกิดประโยชน์ทางวิชาการแก่เกษตรกร องค์ความรู้ที่เหมาะสมในการนำมาถ่ายทอดได้แก่ ได้องค์ความรู้พื้นฐานด้านวัตถุดิบอาหารไก่ไข่อินทรีย์ที่สัมพันธ์กับการสร้างเครื่องบรรจุอาหารไก่ไข่ สภาวะที่เหมาะสมของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไข่ผงอัดเม็ดเสริมโปรตีนธรรมชาติ และองค์ความรู้ด้านการการตลาดและบรรจุภัณฑ์

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2a1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1.1 พูดคุยเกี่ยวกับประเด็นปัญหา 

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2a2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1.2 ปรึกษาเรื่องอาหารไก่ไข่อินทรีย์

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2a3.jpg

 ภาพกิจกรรมที่ 1.3 ปรึกษาเรื่องอาหารไก่ไข่อินทรีย์(ต่อ)  

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2a4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1.4 อาหารไก่ไข่อินทรีย์

 

กิจกรรมที่ 2

          วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก    ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เดือนกุมภาพันธ์ 2567 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีอาจารย์และบุคลากรจากสาขาพืชศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ และสาขาสัตวศาสตร์และประมง เข้าร่วมให้บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา ด้านการทำเกษตรแบบผสมผสาน และการส่องไข่มีเชื้อ ให้แก่ประชาชนตำบลบ่อภาค อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  40 คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              : 1.  ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล

                     2. นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์

                                   3. นางจันทรา สโมสร

                                   4. นายพรศิลป์ แก่นท้าว

                                   5. นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี

                                   6. นายกฤษณะ หมีนิ่ม

                                   7. นางสาวชฎาพร ประทุมมา                       

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านการทำเกษตรแบบผสมผสาน และการส่องไข่มีเชื้อ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2b1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.1 ให้คำปรึกษาการทำเกษตรแบบผสมผสาน 

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2b2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.2 ให้คำปรึกษาการส่องไข่มีเชื้อ

            

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2b3.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.3 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษาให้แก่เกษตร

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2b4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.4 ท่านผู้ว่าฯ มอบหน่อพันธุ์กล้วย

                                                                                

กิจกรรมที่ 3

เรื่อง  การพัฒนาสูตรและการยืดอายุการเก็บรักษาซอทมันปูนา

วันที่  7 มีนาคม 2567

ผู้ขอรับบริการ  คุณนราธิป ภูมิถาวร

ผู้ให้คำปรึกษาผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม

สถานที่  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก

การให้คำปรึกษา มีผู้ประกอบการจากตำบลย่านยาว อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย มาติดต่อขอรับคำปรึกษาด้านการพัฒนาสูตรและการยืดอายุการเก็บรักษาซอทมันปูนา โดยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญได้ทำการทดลองสูตรซอทมันปูนา ขึ้นมาจำนวน 3 สูตร แล้วให้ผู้ประกอบการได้ทดลองชิมและเลือกรสชาติที่ชอบ เมื่อได้สูตรที่พึงพอใจแล้ว แต่ผู้ประกอบการอยากได้ซอทที่มีความละเอียดมากขึ้น ทางอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจึงได้ทำการปรับวัตถุดิบทุกอย่างให้มีความเอียดทั้งหมด จากนั้นก็ทำซอทไปให้ผู้ประกอบการทดลองชิมอีกรอบ ผลสรุปว่าผู้ประกอบการพึงพอใจเป็นอย่างมาก อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจึงทำการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตซอทมันปูนาให้แก่ผู้ประกอบการ พร้อมแนะนำกระบวนการบรรจุแบบพาสเจอร์ไรส์ ซึ่งเป็นการบรรจุแบบร้อน เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ โดยที่ซอทมันปูนายังคงมีรสชาติ กลิ่นหอม สะอาด และปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2c1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 3.1 การผสมวัตถุดิบก่อนนำไปกวน

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2c2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 3.2 การบรรจุภัณฑ์แบบพาสเจอร์ไรส์

 

กิจกรรมที่ 4

เรื่อง  การให้บริการคำปรึกษาผู้ประกอบการหรือกลุ่มประชาชนที่สนใจ ในงานทดสอบชิมผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย

วันที่  20-21 มีนาคม 2567

ผู้ขอรับบริการ  :  1. คุณดุลยทรรศน์ ชิญพรบุญอนันค์

                           2. คุณอรกุมัดเอา งามพรรถพินธุ์

                           3. คุณฤติมา กันใจมา

                           4. คุณองอาจ เพ็งเอี่ยม

                          5. คุณศุภิกา จุลพิภพ

สถานที่  ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่าพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

ผู้ให้คำปรึกษา    1. ผศ.ดร.อรรณพ  ทัศนอุดม

                          2. ผศ.ดร.สุภาวดี ศรีแย้ม

                          3. ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ

การให้คำปรึกษา

          คุณดุลยทรรศน์ ชิญพรบุญอนันค์ ผู้ประกอบการจากต.กลางดง อ.ทุ่งเสลี่ยม จ.สุโขทัย ขอรับคำปรึกษาเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลานิลหยองและน้ำพริกปลาย่าง เพื่อต้องการพัฒนาต่อยอด                        ผลิตภัณฑ์

          คุณอรกุมัดเอา งามพรรถพินธุ์ ผู้ประกอบการจากต.ในเมือง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การพัฒนาบรรจุภัณฑ์หมูสะเต๊ะ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์

          คุณฤติมา กันใจมา ผู้ประกอบการจากต.หมอเมือง อ.แม่จริม จ.น่าน ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วย เพื่อขยายฐานการตลาด

          คุณองอาจ เพ็งเอี่ยม ผู้ประกอบการจากต.ตาลเตี้ย อ.เมือง จ.สุโขทัย ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การลดความขมในส้ม เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์

          คุณศุภิกา จุลพิภพ ผู้ประกอบการจากต.จอมทอง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก ขอรับคำปรึกษาเรื่อง การพัฒนาสูตรสบู่สมุนไพร เพื่อการประกอบธุรกิจ

 

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2d1.jpg

4.1 ให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลานิลหยองและน้ำพริกปลาย่าง

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2d2.jpg

4.2 ให้คำปรึกษาการพัฒนาสูตรสบู่สมุนไพร

            

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2d3.jpg

4.3 ให้คำปรึกษาเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วย

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2d4.jpg

4.4 ให้คำปรึกษาการลดความขมในส้ม

                 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2d5.jpg

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2d6.jpg

4.5-4.6 ให้คำปรึกษาเรื่องการพัฒนาบรรจุภัณฑ์หมูสะเต๊ะ

 

กิจกรรมที่ 5

เรื่อง  กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่

วันที่  22 มีนาคม 2567

ผู้ขอรับบริการ  คุณชวัลวิทย์ ไชยวุฒิ

ผู้ให้คำปรึกษาผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม

สถานที่  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก

การให้คำปรึกษา มีผู้ประกอบการจากตำบลบ้านถ้ำ อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา มาติดต่อขอรับคำปรึกษาเรื่องกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่โดยผู้ประกอบการต้องการรับการถ่ายทอดองค์ความรู้และกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ ดังนี้ คุกกี้เม็ดมะม่วงหิมพานต์ คุกกี้ช็อกโกแลต คุกกี้ครีมชีส คุกกี้ผลไม้ เค้กส้ม เค้กบลูเบอรี่ครีมชีส และผงชงดื่มโปรตีนจากจิ้งหรีด อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญได้ทำการถ่ายทอดองค์ความรู้และกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เบเกอร์รี่ดังกล่าวให้แก่ผู้ประกอบการ และให้ผลิตภัณฑ์ที่ทำกลับไปด้วย

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2e1.jpg

5.1 การเตรียมแป้งทำเค้ก

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2e2.jpg

5.2 การทำเค้กส้มและบลูเบอรี่ชีสเค้ก

        

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2e3.jpg

5.3 การทำคุกกี้  

 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/2e4.jpg

5.4 การทำผงชงดื่มโปรตีนจากจิ้งหรีด



รายงานโดย นางสาวชฎาพร ประทุมมา วันที่รายงาน 29/03/2567 [16342]
68650 63
2 [16090]

ผลการดำเนินงานไตรมาส 1

กิจกรรมที่ 1

          วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566 งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำเดือนพฤศจิกายน 2566 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีบุคลากรจากสาขาสัตวศาสตร์และประมง เข้าร่วมให้บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา  ด้านการทำเกษตรแบบแบบผสมผสาน และการจัดการฟาร์มโคนม ให้แก่ประชาชนตำบลไผ่ล้อม อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  71 คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              : 1.  นายกฤษณะ หมีนิ่ม

                                   2.  นางสาวชฎาพร ประทุมมา                      

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านการทำเกษตรแบบแบบผสมผสาน และการจัดการฟาร์มโคนม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

 

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1a1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1.1 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา             

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1a2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 1.2 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา (ต่อ)

 

กิจกรรมที่ 2

เรื่อง  กระบวนการการผลิตน้ำส้มตำ (ตำไทย, ตำปู, ตำปลาร้า)

วันที่  4 ธันวาคม 2566

ผู้ขอรับบริการ  คุณกนกพร เขียนงาม

ผู้ให้คำปรึกษาผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม

สถานที่  ตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

ผลการให้คำปรึกษา ทางคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ได้พาท่าน ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม และทีมงานไปลงพื้นที่ดูตั้งแต่สภาพแวดล้อม ขั้นตอนการผลิตไปจนถึงขั้นตอนการบรรจุ ว่าทำถูกสุขอนามัยหรือป่าว จากนั้นได้มีการแนะนำขั้นตอนการผลิตที่ถูกวิธีพร้อมสอนวิธีการคำนวณราคาขาย    ว่าต้องคิดแบบไหน พร้อมทั้งรับตัวอย่างผลิตภัณฑ์กลับมาวิเคราะห์ปริมาณเกลือ, ค่ากรด-ด่าง, ความหวาน, จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด และจำนวนเชื้อยีสต์และรา ซึ่งใช้เวลาตรวจทั้งหมด 4 รอบ คือ วันที่ผลิต, วันที่30, วันที่60 และวันที่90 แต่ทุกรอบการตรวจ เมื่อได้ผลแล้วจะมีการแจ้งผลพร้อมคำแนะนำไปยังผู้ประกอบการทุกครั้ง

 

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1b1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.1 สาธิตขั้นตอนการผลิต 

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1b2.jpg               

ภาพกิจกรรมที่ 2.2 สาธิตขั้นตอนการผลิต (ต่อ)

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1b3.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.3 การแนะนำขั้นตอนการผลิตที่ถูกวิธี   

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1b4.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 2.4 การคำนวณราคาขาย

 

กิจกรรมที่ 3

          วันที่ 6 ธันวาคม 2566  งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร ปีงบประมาณ 2567 โดยมีอาจารย์และบุคลากร จากสาขาวิทยาศาสตร์ และสาขาสัตวศาสตร์และประมง เข้าร่วมให้บริการข้อมูล และให้คำปรึกษาด้านการทำเกษตรแบบแบบผสมผสาน การส่องไข่ที่มีเชื้อ และการจัดการฟาร์มโคนม ให้แก่ประชาชนตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  53 คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              : 1. ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล

                                   2. นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์

                                   3.  นายกฤษณะ หมีนิ่ม

                                   4.  นางสาวชฎาพร ประทุมมา                      

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านการทำเกษตรแบบแบบผสมผสาน การส่องไข่ที่มีเชื้อ และการจัดการฟาร์มโคนม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

 

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1c1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 3.1 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา           

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1c2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 3.2 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา (ต่อ)

 

กิจกรรมที่ 4

          วันที่ 20 ธันวาคม 2566  งานคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ร่วมจัดกิจกรรมหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน ประจำเดือนธันวาคม 2566 ของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีอาจารย์และบุคลากร จากสาขาวิทยาศาสตร์ และสาขาสัตวศาสตร์และประมง เข้าร่วมให้บริการข้อมูล และให้คำปรึกษาด้านการทำเกษตรแบบแบบผสมผสาน และการจัดการฟาร์มโคนม ให้แก่ประชาชนตำบลวังยาง อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก 

ผู้รับบริการ                 :  เกษตรกร และประชาชนทั่วไป

จำนวนผู้รับบริการ        :  50 คน

ผู้ร่วมกิจกรรม              : 1. ผศ.ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล

                                   2. นายกฤษณะ หมีนิ่ม

                                   3.  นางสาวชฎาพร ประทุมมา                      

ผลการดำเนินงาน        :   มีเกษตรกรมาขอรับคำปรึกษาทั้งด้านการทำเกษตรแบบแบบผสมผสาน และการจัดการฟาร์มโคนม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านอาชีพ มีทั้งขอรับข้อมูลด้านเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน โดยมีเอกสารประกอบและแผ่นพับให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

 

ภาพกิจกรรม

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1d1.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 4.1 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา             

http://www.clinictech.ops.go.th/online/cmo/filemanager/570/images/1d2.jpg

ภาพกิจกรรมที่ 4.2 บริการข้อมูลและให้คำปรึกษา (ต่อ)



รายงานโดย นางสาวชฎาพร ประทุมมา วันที่รายงาน 24/01/2567 [16090]
52600 174