2566 โครงการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
4 [15827]

สรุปผลการดำเนินงาน แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (Technology Consulting Service : TCS) : โครงการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ประจำปีงบประมาณ 2566  มีผู้มารับบริการดังนี้

1. บริการให้คำปรึกษา   จำนวน 713 คน

2.บริการข้อมูลเทคโนโลยี จำนวน 124 คน

รวมผู้มารับบริการ ทั้งสิ้น 837 คน

มีความพึงพอใจร้อยละ 91.26

1. ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

          1.1 มีช่องทางการให้บริการที่หลากหลาย                   คิดเป็นร้อยละ 88.90   

          1.2 การให้บริการขั้นตอน ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน              คิดเป็นร้อยละ 87.11

          1.3 การให้บริการมีความสะดวก รวดเร็ว                      คิดเป็นร้อยละ 89.24

2. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

          2.1 ให้บริการด้วยความสุภาพ เต็มใจ ยินดี                 คิดเป็นร้อยละ 94.75

          2.2 ให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว                      คิดเป็นร้อยละ 93.16       

          2.3 ให้บริการตอบข้อซักถามปัญหาได้น่าเชื่อถือ        คิดเป็นร้อยละ 91.96

3. ด้านข้อมูล 

          3.1 ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น                                          คิดเป็นร้อยละ 91.96

          3.2 ข้อมูลมีความถูกต้องตรงความต้องการ                คิดเป็นร้อยละ 91.36 

          3.3 ข้อมูลที่ได้รับมีประโยชน์                                   คิดเป็นร้อยละ 93.69

4. ภาพรวมความพึงพอใจในการให้บริการ                           คิดเป็นร้อยละ 90.43

สรุปความพึงพอใจในภาพรวมของกลุ่ม                               คิดเป็นร้อยละ 91.26

** ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกิจกรรมที่รายงานหัวข้อนี้ ประกอบด้วยวัสดุสำนักงาน /ไปราชการ/ลงพื้นที่/การติดตามและประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงาน

 

รายชื่อผู้รับบริการ /online/cmo/filemanager/652/files/Clinic Tech RBRU 2566(1).xlsx



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 02/10/2566 [15827]
16000 0
4 [15812]

4. ด้านโรงงานอาหารแปรรูป และการผลิต  จำนวน 10 ราย

รายชื่อผู้ขอรับคำปรึกษาส่วนงานโรงงานอาหารแปรรูป และการผลิต ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก (ปี 2566)                   

ที่        วันที่                         ชื่อ-สกุลชื่อ                      หน่วยงาน                              โทร                              ชื่อผลิตภัณฑ์                                        รายการ

1        6/2/2566       นางสาวกนกวรรณ ธนพัฒนากุล    ร้านมุมพอดี                     085-1823014        ด้านการผลิตน้ำสมุนไพรเข้มข้น              1. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุถุง 1,000 ml.  5ถุง          

                                                                                                                                                                                                              2. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 1,000 ml. 5ถุง

                                                                                                                                                                                                               3. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml. 4ถุง

                                                                                                                                                                                                               4. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml.  5ถุง

                                                                                                                                                                                                               5. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุขวดพลาสติก 150 ml. 72ขวด               

                                                                                                                                                                                                                6. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุขวดพลาสติก 150 ml. 72ขวด

2        19/4/2566      น.ส.วรพชร วงษ์เจริญ                  บริษัท แรบบิทจันท์ จำกัด   089-0927999          ด้านการผลิตมะปี๊ดผง                         ผลิตมะปี๊ดผง 2กิโลกรัม จากน้ำมะปี๊ดสด 40กิโลกรัม

3        27/4/2566      น.ส.กนกวรรณ ธนพัฒนากุล          ร้านมุมพอดี                       085-1823014         ด้านการผลิตน้ำสมุนไพรพร้อมดื่ม        1. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุถุง 1,000 ml. 5ถุง

                                                                                                                                                                                                                 2. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 1,000 ml. 5ถุง

                                                                                                                                                                                                                 3. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml. 10ถุง

                                                                                                                                                                                                                 4. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml. ถุง

4        22/5/2566      น.ส.กนกวรรณ ธนพัฒนากุล       ร้านมุมพอดี                           085-1823014         ด้านการผลิตน้ำสมุนไพรพร้อมดื่ม        1. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml 40ถุง

5        9/6/2566       คุณวาทิศ บุญยนิตย์                          -                                     086-1927918        ด้านการผลิตแคปซูลเจลนิ่ม                  แคปซูลเจลนิ่ม 50000เม็ด (บรรจุขวดละ 20เม็ด 100ขวด)

6        12/6/2566      คุณกนกวรรณ ธนพัฒนากุล        ร้านมุมพอดี                            085-1823014        ด้านการผลิตน้ำสมุนไพรพร้อมดื่ม         1. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุขวดพลาสติก 150ขวด

                                                                                                                                                                                                                   2. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml. 19ถุง

                                                                                                                                                                                                                   3. น้ำกระเจี๊ยบพร้อมดื่มบรรจุถุง 1,000 ml. 9ถุง

                                                                                                                                                                                                                   4. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุถุง 500 ml. 24ถุง

                                                                                                                                                                                                                   5. น้ำชะมวงพร้อมดื่มบรรจุถุง 1,000 ml. 6ถุง

7        21/6/2566      นายอนุวัตร นิลโกศล                -                                              085-6506788       การผลิตแคปซูลผงสมุนไพร                  1.บรรจุแคปซูล 5040เม็ด

8        28/6/2566      บริษัท สยามโปรฟรุตส์ จำกัด      บริษัท สยามโปรฟรุตส์ จำกัด     039-4609667       น้ำทุเรียน                                             การฆ่าเชื้อน้ำทุเรียนก้วยเครื่องรีทอร์ท

9        4/7/2566       คุณจินตนา พุ่มสมบัติ                                                                 080-9649262       โปรตีนทอด                                         บรรจุโปรตีนทอดอัดไนโตรเจน

10      25/7/2566      น.ส.กนกวรรณ ธนพัฒนากุล       มุมพอดี                                    085-1823014         ด้านการผลิตน้ำสมุนไพรพร้อมดื่ม

          1/9/2566       คุณกนกวรรณ ธนพัฒนากุล        ร้านมุมพอดี                               085-1823014             ด้านการผลิตน้ำสมุนไพรพร้อมดื่ม      1. น้ำกระเจี๊ยบสมุนไพรเข้มข้น 1000 ml 15ถุง/500 ml 10ถุง

                                                                                                                                                                                                                      2. น้ำชะมวงสมุนไพรเข้มข้น 1000 ml 15ถุง/500 ml 10ถุง

                                                                                                                                                                                                                      3. น้ำลูกกระวานใบชะมวงพร้อมดื่ม 1000 ml 10ถุง/500 ml 15ถุง

                                                                                                                                                                                                                      4.น้ำลูกกระวานกานพลูพร้อมดื่ม 1000 ml 10ถุง/500 ml 15ถุง   



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 02/10/2566 [15812]
10000 10
4 [15805]

2. ด้านการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร จำนวน 8 ราย

รายชื่อผู้เข้ารับคำปรึกษาด้านการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร

ลำดับ        วันที่                  ชื่อ-สกุลชื่อ                                                     หน่วยงาน                                                         โทร                           ผลิตภัณฑ์ที่วิจัยและพัฒนา

1        24/2/2566       ผศ.จิรพร สวัสดิการ                      คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี                          062-8793296               พัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมผสมไข่น้ำ (ผำ)

2        18/4/2566       ผศ.จิรพร สวัสดิการ                      คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี                          062-8793296               พัฒนาผลิตภัณฑ์สแน็คบาร์จิ้งหรีด

3        1/5/2566         นายพันธุ์ศักดิ์                              หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี                                               พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกแกงป่าชอง

4        19/6/2566       นางสาวรัชกาญจน์ สาธุธรรม         สำนักงานเกษตรจังหวัดตราด                                                 065-4914955              พัฒนาผลิตภัณฑ์คอมบูชาน้ำผึ้งชันโรง และวิเคราะห์จุลินทรีย์คอมบูชา

5        19/6/2566      ผศ.ดร.เลิศชัย จิตร์อารี                  คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี                            081-811-2556             ทดสอบทางประสามสัมผัส วิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพ เคมี ในมังคุด

6                              ผศ.ดร.สนธยา กูลกัลยา                คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี                            094-4958270              พัฒนาผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับปู

7        5/9/2566       ร ศ.ดร.วริศชนม์ นิลนนท์               คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี                             065-5536554              พัฒนาผลิตภัณฑ์บาร์โปรตีนจากไข่น้ำ

8        15/9/2566      นายรักษา สุนินทบูรณ์                   วิสาหกิจชุมชนกลุ่มรักช้างรักษาป่าตะวันออก(ปม.)                                                      พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพรผสมโซดา (ลดอาการเมาค้าง) แบ่งการทดลองออกเป็น 2ผลิตภัณฑ์ 1.ผลิตภัณฑ์เครื่งดื่มสมุนไพรผสมโซดา 2. เครื่องดื่มน้ำสมุนไพรไม่ผสมโซดา



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 02/10/2566 [15805]
15000 8
4 [15804]

การบริการให้คำปรึกษาตามกิจกรรมการดำเนินงาน แบ่งเป็น 4 ด้าน โดยแบ่งเป็นด้านนี้

1. ด้านการทดสอบสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐาน จำนวน 27 ราย

           รายชื่อผู้เข้ารับคำปรึกษาด้านการทดสอบสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐาน  ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก (ปี 2566)            

ลำดับ   วันที่               ชื่อ-สกุล                                            ชื่อหน่วยงาน                                  โทร                         หัวข้อการให้บริการ/ตัวอย่าง

1        19/1/2566      นางสาวธัญดา เบญธวารีเดชา      ศูนย์วิเคราะห์ดิน มรภ.รำไพพรรณี          086-0439075            15 A

2        25/1/2566      นางสาวธัญดา เบญธวารีเดชา      ศูนย์วิเคราะห์ดิน มรภ.รำไพพรรณี          086-0439075            S77

3        6/2/2566       นางสาวธัญดา เบญธวารีเดชา       ศูนย์วิเคราะห์ดิน มรภ.รำไพพรรณี          086-0439075            ดิน S78

4        17/2/2566      นางสาวธัญดา เบญธวารีเดชา      ศูนย์วิเคราะห์ดิน มรภ.รำไพพรรณี          086-0439075            ดิน S79/1

5        8/3/2566       นายวรินทร รอดคลองตัน             โรงงานผลิตน้ำผลไม้ต้นตำรับ                 098-3299099            วิเคราะห์น้ำเสีย

6        5/4/2566       เทศบาลเมืองท่าใหม่                  เทศบาลเมืองท่าใหม่                             080-8259845            วิเคราะห์น้ำผิวดิน

7        25/4/2566      ผศ.กุลพร พุทธมี                       คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี 083-0154650        กัมมี่ T1

8        27/4/2566      น.ส.ธัญดา เบญธวารีเดชา          ศูนย์วิเคราะห์ดิน มรภ.รำไพพรรณี           086-0439075            ดิน S87-1

9        27/4/2566      บริษัท พรี เพียว เฮิร์บ จำกัด       บริษัท พรี เพียว เฮิร์บ จำกัด                   039-607661              วิเคราะห์ผงสมุนไพร 8ชนิด

10      12/5/2566      คุณศิริโสภณ ปัญญสกุล             -                                                          081-9260564           วิเคราะห์ตัวอย่างน้ำบ่อ (ใช้เพื่อการเกษตร)

11      25/5/2566      คุณสรัลรัตน์ พ่วงบริสุทธิ์            มทร.ตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี                      -                     วิเคราะห์ Proximate มังคุดกวน

12      26/5/2566      คุณสรัลรัตน์ พ่วงบริสุทธิ์            มทร.ตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี                      -                     วิเคราะห์ Proximate แป้งทุเรียน

13      30/5/2566      คุณสมนึก ศรีตา                     -                                                           085-1599776              วิเคราะห์ความแก่อ่อนทุเรียน 1

14      2/6/2566       คุณมัลลิกา วิราทนา                 -                                                          099-0096604              วิเคราะห์ ฟาโวนอยด์ ฟีนอลิก ในน้ำหมักหมากแก่

15      29/6/2566      หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ UBI        มรภ.รำไพพรรณี                                  086-6771484             กาแฟสด

                                หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ UBI        มรภ.รำไพพรรณี                                        -                          กาแฟเนส

                                หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ UBI        มรภ.รำไพพรรณี                                        -                          กาแฟสด+สำรอง

                                หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ UBI        มรภ.รำไพพรรณี                                        -                         กาแฟเนส+สำรอง

16      5/7/2566       อบต.นายายอามอบต.นายายอาม                                                         097-1986243             วิเคราะห์โปรตีนในเห็ดนางฟ้าภูฐานตุ่มใส่น้ำ

                              อบต.นายายอามอบต.นายายอาม                                                           -                                วิเคราะห์โปรตีนในเห็ดนางฟ้าภูฐานตู้เย็น

                               อบต.นายายอามอบต.นายายอาม                                                                                           วิเคราะห์โปรตีนในเห็ดนางฟ้าภูฐานโรงเรือน

17      10/7/2566      น.ส.เพ็ญพิชชา พิพัฒน์ชัยกิจ       -                                                      092-6934278            กาแฟสด

                                                                                 -                                                        -                             กาแฟเนส

                                                                                 -                                                        -                             กาแฟสด+สำรอง

                                                                                 -                                                        -                             กาแฟเนส+สำรอง

18      11/7/2566      นางสาวจตุพร วงศ์จันลา              -                                                      084-8433273            น้ำพริกชะมวง

19      14/7/2566      นางสาวธัญญาดา เบญธวารีเดชา   คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี 086-0439075   วิเคาระห์ดิน

20      18/7/2566      น.ส.เพ็ญพิชชา พิพัฒน์ชัยกิจ       -                                                     092-6934278            กาแฟสด+สำรอง

                                                                                  -                                                        -                             กาแฟเนส+สำรอง

21      26/7/2566      นางอังคณา อรุณพรต     18/2ม.2ต.วังใหม่ อ.นายายอาม จ.จันทบุรี         097-1079626          วิเคราะห์น้ำผึ้ง/บรรจุน้ำผึ้ง รับตัวอย่างเข้า 58ขวด

22      9/8/2566       นายธนากร พุ่มจันทร์      59ม.1ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี                     061-4561611          วิเคราะห์น้ำกรอง

23      21/8/2566      นายธีระ พุทธรังษี         12ซ.ตัดใหม่ 3ต.บางพระ อ.เมือง จ.ตราด           087-5597666          วิเคราะห์ปลาร้า

24      1/9/2566       ผศ.ดร.วิกันยา ประทุมยศ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.รำไพพรรณี      080-0925926          ใบข่าแห้ง T1R9

25      11/9/2566      นายธีระ พุทธรังษี         12ซ.ตัดใหม่ 3ต.บางพระ อ.เมือง จ.ตราด           087-5597666           ปลาร้าปลากระดี่

                                                                   13ซ.ตัดใหม่ 3ต.บางพระ อ.เมือง จ.ตราด           -                              ปลาร้าปลารวม

          11/9/2566      นายธีระ พุทธรังษี         14ซ.ตัดใหม่ 3ต.บางพระ อ.เมือง จ.ตราด          087-5597666            หัวไชโป้ว1

                                                                 15ซ.ตัดใหม่ 3ต.บางพระ อ.เมือง จ.ตราด           -                                หัวไชโป้ว2

26      14/9/2566      นายธาดา ศรีพรหม        มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี                       089-0968294            ยากำจัดวัชพืช

                                                                   มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี                       -                                 ยูเรีย

                                                                    มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี                       -                                ตัวอย่างไม่ทราบชื่อ

27      26/9/2566      นายอภิวัฒน์ สุขพระกิจ   256ม.1ต.มะขาม อ.มะขาม จ.จันทบุรี              092-4428084             ตัวอย่างไม่ทราบชื่อ1 (ใช้ทาลำต้น)

                                                                    257ม.1ต.มะขาม อ.มะขาม จ.จันทบุรี               -                                ตัวอย่างไม่ทราบชื่อ2 (ใช้ราดโคนต้น)



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 02/10/2566 [15804]
15000 27
4 [15808]

3. ด้านงานบริการวิชาการและจัดอบรม จากหน่วยงานภายนอก จำนวน 15 หน่วยงาน

รายชื่อหน่วยงานและผู้ขอเข้ารับคำปรึกษาด้านงานบริการวิชาการ และจัดอบรม จากหน่วยงานภายนอก (ปี 2566)                                                                  

1        27/2/2566     มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี  จัดการเรียนการสอนรายวิชาศาสตร์พระราชา  โดยกิจกรรมการเรียนการสอนจะมีการนำพืชสมุนไพร จากศูนย์การเรียนรู้เศรษกิจพอเพียง มาทำการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่าให้กับของที่อยู่ในแปลงเกษตร มาแปรรูปเป็น แยม เจลลี่ และน้ำเข้มข้นจากสมุนไพร  ดังนี้ 1. แยมกระเจี๊ยบ 2. เยลลี่กระเจี๊ยบ  3. น้ำกระเจี๊ยบชะมวงเข้มเข้น  โดยผู้เข้าร่วมเป็น นักศึกษา  เพื่อให้เรียนรู้การแปรรูปสมุนไพร ในรูปแบบของการปฏิบัติจริง เพื่อนำไปเพิ่มมูลค่าและใช้ประโยชน์ได้                                                                                                                                                                                      

2        2/3/2566       คณะดูงานจากกัมพูชา  ขอเข้ารับคำปรึกษาเรื่อง  พัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน  มีผู้เข้ารับบริการจำนวน   7   ราย  โดยให้ความรู้ในหัวข้อ ดังนี้  1. ชากระวาน   2. น้ำกระวาน   และแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับกระวาน ทั้งของประเทศไทยและกัมพูชา และทำกิจกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกระวาน                3      9-10/5/2566   สถาบันวิจัยพืชสวน   ขอความอนุเคราะห์สถานที่ในการจัดฝึกอบรม  การแปรรูปและควบคุมคุณภาพสมุนไพรด้วยวิธีทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง (Freeze dried Technology)  จำนวน 20 ราย คือนักวิชาการสถาบันวิจัยพืชสวน  ในเรื่อง 1.ผลิตภัณฑ์ชะมวงสกัดแคปซูล     2.ผลิตภัณฑ์สารสกัดแซนโทนแคปซูล  3.ผลิตภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดชะมวง   4.ผลิตภํณฑ์สบู่ผสมสารสกัดแซนโทน     มีรายละเอียดดังนี้ ฝึกอบรมการแปรรูปและควบคุมคุณภาพสมุนไพรด้วยวิธีทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง (Freeze dried Technology) และอบรมเชิงปฏิบัติการการสกัดชะมวง และสกัดแซนโทนจากเปลือกมังคุดทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง เพื่อเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์สารสกัดชะมวงแคปซูล สารสกัดแซนโทนแคปซูล และผลิตภัณฑ์สบู่

4        18/5/2566      หน่วยงานเครือข่ายบริการวิชาการสถาบันอุดมศึกษา จำนวน  20  ราย เป็นนักวิชาการ    ขอเข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ในส่วนของ การวิเคราะห์ความอ่อนแก่ของทุเรียน (NIR) ห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัย โรงงานสมุนไพร และโรงงานแปรรูปต้นแบบ

5        25/5/2566      กรมส่งเสริมการเกษตร    ขอเข้าศึกษาดูงานศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก  จำนวน139  ราย เป็นนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรทั่วประเทศ  เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ในส่วนของ การวิเคราะห์ความอ่อนแก่ของทุเรียน (NIR) ห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัย โรงงานสมุนไพร และโรงงานแปรรูปต้นแบบ

6        29/5/2566      คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี      ขอความอนุเคราะห์บุคลากรศูนย์ฯ เป็นวิทยากรร่วม เรื่องนวัตกรรมสินค้าเพื่อสุขภาพและความงาม กิจกรรมการสกัด การสร้างผลิตภัณฑ์สมุนไพร   ให้กับนักเรียนและอาจารย์จำนวน  189     โดยกิจกรรมมีการบรรยาย มีการเข้ามาศึกษาดูงานที่ศูนย์วิจัยฯ ทำกิจกรรมสอนทำน้ำชะมวงมะปี๊ด 2เลเยอร์ และกิจกรรมวิเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระในน้ำชะมวง

7        31/5/2566      คณะศึกษาดูงานจากมหาวิทยาลัยแม้โจ้    จำนวน  35  ราย ประกอบด้วยอาจารย์ และเจ้าหน้าที่   เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ในส่วนของ การวิเคราะห์ความอ่อนแก่ของทุเรียน (NIR) ห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัย โรงงานสมุนไพร และโรงงานแปรรูปต้นแบบ

8        1/6/2566       สำนักงานเกษตรจังหวัดตราด       ขอเชิญเป็นวิทยากรร่วมในการจัดอบรมเพื่อพัฒนาทักษะด้านการสร้างความรู้ความเข้าใจให้วิสาหกิจชุมชนในประเด็นการสร้างมูลค้าเพิ่มสินค้าเกษตรและกระบวนการพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่า          ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะด้านการสร้างความรู้ความเข้าใจให้วิสาหกิจชุมชนในประเดินการสร้างมูลค้าเพิ่มสินค้าเกษตรและกระบวนการพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่าสูง กิจกรรม ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนต้นแบบในการพัฒนาสินค้าและบริการจากฐานชีวภาพ   จำนวน 16 ราย  ในเรื่อง 1.การพัฒนาผลิตภัณฑ์คอมบูชาจากสับปะรดตราดสีทอง  และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์คอมบูชาจากสับปะรดตราดสีทอง โดยใช้ชาเขียวหมัก

9        2/6/2566       กลุ่มจันทร์เรือง   ขอรับความต้องการบริการวิชาการ การทำคราฟมังคุด    

10      8/6/2566       อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา       ขอเข้าศึกษาดูงานศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก  มีผู้เข้าร่วม  23  ราย ประกอบด้วยอาจารย์ และเจ้าหน้าที่    เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ในส่วนของ การวิเคราะห์ความอ่อนแก่ของทุเรียน (NIR) ห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัย โรงงานสมุนไพร และโรงงานแปรรูปต้นแบบ

11      29/6/2566      มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร       ขอเข้าศึกษาดูงานศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก   ประกอบด้วยอาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา ผู้ประกอบการ   42  ราย   เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ในส่วนของ ห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัย โรงงานสมุนไพร และโรงงานแปรรูปต้นแบบ

12      21/7/2566      สำนักงานเกษตรจังหวัดระยอง      ขอความอนุเคราะห์วิทยากร  ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรจากผลไม้ตามฤดูกาล  จำนวน 30 ราย   ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไวน์มะม่วง  ณ ชุมชนหนองบัวแดง จ.ระยอง 

13      16/8/2566      นายรณกรชัยรัฐ พงธรณัชพสุธร    ขอรับคำปรึกษาเกี่ยวกับลำไย                                            

14      18/8/2566      สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต1      ขอเชิญเป็นวิทยากรในการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างผู้ประกอบการอายุน้องร้องล้าน ให้กับครูผุ้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ          

14      4/9/2566       โรงเรียนเกาะช้างวิทยาคม ขอความอนุเคราะห์เข้ารับการแนะแนวทางในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา จำนวน 141 ราย ประกอบด้วย อาจารย์ และนักเรียน     เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์ในส่วนของ ห้องปฏิบัติการ ห้องวิจัย โรงงานสมุนไพร และโรงงานแปรรูปต้นแบบ

15      20/9/2566      สำนักงานเกษตรจังหวัดตราด       เชิญจัดนิทรรศการคอมบูชาสับปะรดตราดสีทอง ซึ่งนับเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์คอมบูชา  มีผู้เข้าร่วม   200-300   ราย ประกอบด้วย  ข้าราชการ นักเรียน ประชาชนทั่วไป  และจัดนิทรรศการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์คอมบูชาสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง นำผลิตภัณฑ์ไปให้ผู้เข้าร่วมงานชิม มีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์คอมบูชา และผศ.ดร.เดือนรุ่ง ขึ้นสัมนาเรื่องผึ้งชันโรง



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 02/10/2566 [15808]
15000 0
4 [15690]

การเข้าร่วมงานกับภาคีเครือข่าย ภายนอก ของโครงการบริการให้คำปรึกาาและข้อมูลเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 4 เดือน กรกฎาคม - กันยายน 2566

        ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก และคลินิกเทคโนโลยี จากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ได้รับโจทย์จากเกษตรจังหวัดตราด โดยนายชยุทกฤดิ นนทแก้ว ตำแหน่งเกษตรจังหวัดตราด เข้ามาขอรับคำปรึกษาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่งผู้จัดการศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออกเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสับปะรด เพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีความหลากหลาย จากการพูดคุยหารือ จึงได้ข้อสรุปคือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาหมัก คอมบูชะ รสสับปะรด ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก เป็นผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อแก้ไขปัญหาพร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน วิสาหกิจชุมชนตราด “บ้านห้วยแร้ง” และเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดจังหวัดตราด

        เมื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาหมัก คอมบูชะ รสสับปะรด ให้ได้มาตรฐานและเป็นไปตามข้อกำหนดของ มผช.แล้ว จึงดำเนินการให้คำปรึกษาแก่วิสาหกิจชุมชนตราด “บ้านห้วยแร้ง” และเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดจังหวัดตราดแล้วชุมชนสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับการให้คำปรึกษาไปทำผลิตภัณฑ์ในชุมชนของตนเองให้มีมูลค่าเพิ่มได้

        จากนั้น มหาวิทยาลัย โดยศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก และคลินิกเทคโนโลยี นำผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ชาหมัก คอมบูชะ รสสับปะรด เข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ ภายในงาน BCG TRAT OLE.เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานและประชาสัมพันธ์โครงการที่สำเร็จแล้ว แก่ผู้บริหาร คณะทำงาน ของส่วนราชการในจังหวัดตราด ในวันที่ 20 กันยายน 2566 ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด (อบจ.ตราด) อำเภอเมือง จังหวัดตราด โดยมี

         - นายชำนาญวิทย์ เตรัตน์           ตำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด

         - นายวิเชียร ทรัพย์เจริญ           ตำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด

         - นายชยุทกฤดิ นนทแก้ว           ตำแหน่ง เกษตรจังหวัดตราด

        - นายวรรณวิจักษณ์ กุศล           ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จังหวัดตราด

        - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ         ตำแหน่ง ผู้จัดการศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

          และผู้บริหารในหน่วยงานราชการภายในจังหวัดตราด เข้าร่วมชมนิทรรศการ และรับฟังการนำเสนอผลิตภัณฑ์ชาหมัก คอมบูชะ รสสับปะรด มีผู้ที่สนใจในผลิตภัณฑ์เป็นจำนวนมาก พร้อมทั้งให้ทดสอบชิมผลิตภัณฑ์

           แผนการนำผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาหมัก คอมบูชะ รสสับปะรด ไปถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน เพื่อขยายพื้นที่การดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดตราด และกลุ่มผู้ปลูกสับปะรด ในปีงบประมาณ 2567 นั้น ได้มีการพูดคุยเบื้องต้นกับ นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมุทร ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไป สำนักงาน กศน.จังหวัดตราด และนางสาวจุฑารัตน์  ปล้องเงิน ตำแหน่งครู กศน.ตำบลเขาสมิง โดยหน่วยงาน กศน.จะที่มีบทบาทหน้าที่ ระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อการมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อนำองค์ความรู้ไปถ่ายทอดให้กับนักเรียนในหน่วยงาน กศน. เพื่อให้นักเรียนได้นำความรู้ไปพัฒนาศักยภาพของตนเองและชุมชนได้ นอกเหนือจากเวลาเรียน ที่นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอาชีพสนตัวหรืองานประจำ



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 21/09/2566 [15690]
10000 30
4 [15683]

กิจกรรมการบริการให้คำปรึกษา (กิจกรรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม) ภายใต้การดำเนินงานโครงการคลินิกเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 4 เดือน กรกฎาคม - กันยายน 2566

          1. ด้วยสำนักงานเกษตรจังหวัดระยอง กำหนดจัดโครงการส่งเสริมอาชีพการแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตรจากผลไม้ตามฤดูกาล สำนักงานเกษตรจังหวัดระยอง จึงขอเรียนเชิญวิทยากรจากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี  ดังนี้

                1.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี

                1.2 นางสาวปารณีย์  สร้อยสรี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก

                1.3 นางสาวสุวนันท์  เนื่องแนวน้อย ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก

เพื่อเป็นวิทยากรให้ความรู้ในการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรจากผลไม้ตามฤดูกาล ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2566 ณ ศาลาเอนกประสงค์ชุมชนหนองบัวแดง ตำบลเนินพระ อำเภอเมืองจังหวัดระยอง โดยมีบุคคลเป้าหมายจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติ รวมทั้งสิ้น 30 ราย มีรายละเอียดกิจกรรม การดำเนินการให้ความรู้ด้านทฤษฎี และฝึกปฏิบัติการทำไวน์มะม่วง ดังนี้

หัวข้อ ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ

   -การคัดเลือกและการทำความสะอาดผลไม้

   -การสกัดหรือคั้นน้ำผลไม้

   -การปรับความหวานของน้ำผลไม้

   -การปรับพีเอชของน้ำผลไม้

หัวข้อ ขั้นตอนการเตรียมเชื้อยีสต์และการกล้าเชื้อ

   -การใช้เครื่องมือในการสับย่อย

   -การเติมธาตุอาหารเสริม

   -การกำจัดจุลินทรีย์ในน้ำผลไม้

   -การเตรียมยีสต์เริ่มต้น

หัวข้อ การหมักไวน์

   -การหมักไวน์ และ การทำให้ไวน์ใส

   -การกรอกหรือการถ่ายไวน์

   -การหยุดพักหมัก

   -การบ่มไวน์

   -การบรรจุขวด

หลังจากเสร็จสิ้นการให้ความรู้ ผู้เข้ารับบริการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลไม้ของชุมชนให้เกิดมูลค่าได้ ภายใต้การสนับสนุนจากองค์ความรู้จากสำนักงานเกษตรจังหวัดระยอง และมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี  

 

2. ด้วยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างผู้ประกอบการอายุน้อยร้อยล้าน ในโครงการส่งเสริมทักษะอาชีพท้องถิ่น เพื่อให้ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพให้กับนักเรียน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้เรียนเชิญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก และผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และคณะ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ไปให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จำนวน 59 คน เพื่อนำไปจัดการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะอาชีพกับนักเรียน ในวันสุกร์ที่ 18สิงหาคม 566ณ ห้องประชุม 1ชั้น 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

โดยบรรยายให้ความรู้ในหัวข้อ แนวทางการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะอาชีพ และการเสนอความต้อวงการด้านการส่งเสริมทักษะอาชีพ สำหระบการนำความรู้ไปพัฒนานักเรียนในโรงเรียนที่ตนเองสอน ดังหัวข้อต่อไปนี้

          1. ด้านผลไม้                                               คุณครูมีความต้องการ 33 ราย

          2. ด้านสมุนไพร                                          คุณครูมีความต้องการ 10 ราย

          3. ด้านอาหารทะเล                                     คุณครูมีความต้องการ 8 ราย

          4. ด้านผลิตภัณฑ์ของใช้และอื่นๆ               คุณครูมีความต้องการ 8 ราย

          หลักจากเสร็จสิ้นการให้ความรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะอาชีพ พร้อมสรุปผล พบว่า คณครูมีความต้องหารด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียนของตนเอง ในด้านผลไม้ เป็นอันดับแรก ซึ่งเป็นผลมืท้องถิ่นของจังหวัดจันทบุรี โดยศึกษานิเทศก์ เขต 1 ได้รับเรื่องไว้ และนำข้อมูลไปเป็นแนวทางในการพัฒนาเป็นหลักสูตร การให้ความรู้ตามความต้องการของคุณครู ในลำดับต่อไป



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 19/09/2566 [15683]
25000 89
4 [15536]

การเข้าร่วมประชุม ,จัดนิทรรศการ และติดตามประเมินผล ภายใต้การดำเนินงานโครงการคลินิกเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 4 เดือน กรกฎาคม - กันยายน 2566 

          1. สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ดำเนินโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เครือข่าย อว. เพื่อพัฒนาศักยภาพจังหวัด ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2566 ภายในงาน TechnoMart 2023 ตั้งแต่วันที่ 14 - 15 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงาน/โครงการ “การเพิ่มศักยภาพจังหวัดด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปพัฒนาพื้นที่” ของเครือข่าย อว. และคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าเข้าร่วมกิจกรรมดังต่อไปนี้

วันที่ 14 สิงหาคม 2566 ถอดบทเรียนการดำเนินงานเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี สู่การพัฒนาจังหวัด

          1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี เข้านำเสนอผลสำเร็จของโครงการที่ได้รับงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ภายใต้แพลตฟอร์ม TCS ณ ห้อง Venus 4 ภาคกลางและภาคตะวันออก

          2.  คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ได้รับผลการประเมินระดับดีเด่น ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้ คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS) ประจำปี พ.ศ. 2564 และ 2565 โดยมีผู้แทนคลินิกเทคโนโลยีเข้ารับประกาศเกียรติคุณ คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี

          3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร  บุญมี ตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี เป็นผู้แทนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี  เข้ารับประกาศเกียรติคุณ อว.ส่วนหน้า 20 จังหวัด ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ “การจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพจังหวัดด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 - 2570”

          4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร  บุญมี ตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี เข้าร่วมนำเสนอ “แผนงาน/โครงการด้าน ววน. เพื่อพัฒนาศักยภาพจังหวัด” ของภาคกลางและภาคตะวันออก ในช่วงเวลากิจกรรม กิจกรรม Dinner Talk  

วันที่ 15 สิงหาคม 2566

          นายคฑาวุธ  สว่างดี เข้าร่วมพิธีเปิดงานประชุมเครือข่าย อว. เพื่อพัฒนาศักยภาพจังหวัด ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ประจำปี 2566 พร้อมรับฟังนโยบาย การขับเคลื่อนเครือข่ายอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และเป็นตัวแทน บันทึกภาพร่วมกับผู้บริหารระดับสูงกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ของหน่วยปฏิบัติ อว.ส่วนหน้า 20 จังหวัด ของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ณ Hall 8 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี

 

          2. คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี รับการพิจารณาคัดเลือกให้นำผลงานที่ที่โดดเด่นเพื่อเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ ในงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย ประจำปี 2566 : TechnoMart 2023ภายใต้แนวคิด BCG “พลิกโฉมประเทศไทย สู่เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน” ตั้งแต่วันที่ 11 – 15สิงหาคม 2566ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี Hall 12เวลา 09.00 – 19.00น. ซึ่งจัดโดยสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งผลงานที่นำไปจัดนิทรรศการ ได้แก่ 1. แชมพูสระผมเหงือกปลาหมอผสมทองพันชั่ง 2. โลชั่นเหงือกปลาหมอผสมทองพันชั่ง จากสถานประกอบการของ วิสาหกิจชุมชนวัยงาม เลขที่ 8/2 ม.9 ต.หนองชิ่ม อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี ประธานกลุ่ม นางรุจี พรหมประดิษฐ์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสุนจาก กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.)

          3. สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กำหนดให้มี การลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริม การนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี TCS 2566 ซึ่งคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มีกำหนดเข้ารับการติดตามความก้าวหน้า ในวันที่ 8 สิงหาคม 2566 ณ  ห้องประชุมลานสน ชั้น 7 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ (อาคาร 36) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี โดยมีคณะกรรมการ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ จาก สป.อว. จำนวน 6 ท่าน ได้แก่

          1. นายธนากร  สงวนตระกูล    หน่วยงาน สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

          2. นางสาวกัลยารัตน์  รัตนะจิตร หน่วยงาน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พว.) – STKC

          3. นายจิรวัฒน์  วงษ์สมาน                  

4. นางสาวพุธพร  ผ่องกาย        

          5. นางสาวจุฑาทิพย์  รุณสุข       

          6 นางสาวศรกริชธาทิพย์  หนูมาน้อย      

หน่วยงาน กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)

และมีคณะผู้บริหาร จากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าร่วมต้อนรับ และนำเสนอผลการดำเนินงานดังนี้

          1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร  บุญมี ตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี ผู้นำเสนอผลการดำเนินงาน

          2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี นำเสนอผลการดำเนินงานผ่านระบบ ZOOM

          3. อาจารย์สามารถ  จันทนา  ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสำนักบริการวิชาการ

          4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิฆเนศวร  ทะกอง  ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักบริการวิชาการ

          5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พรพรรณ  สุขุมพินิจ  ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักบริการวิชาการ

          6. อาจารย์ ดร.สมพงษ์  เส้งมณี  ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักบริการวิชาการ

          7. นางสาวนัฐธยาน์  ถวิลวงษ์  ตำแหน่ง รักาการหัวหน้าสำนักบริการวิชาการ

          8. นายไพศาล  โยมญาติ  ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารสำนักบริการวิชาการ

          9. นายพันธ์ศักด์  สุทธิสัวดิ์  ตำแหน่ง ผู้จัดการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ (UBI)

          10. นางรัชดาภา  จำปาศรี  ประธานกลุ่มแปรรูปหอยนางรมครบวงจร อ่างคุ้งกระเบน ตัวแทนเข้าร่วมให้ข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการประเมิน

          11. นายคฑาวุธ  สว่างดี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี ร่วมตอบคำถามและให้ข้อมูลเพิ่มเติมในกิจกรรมการประเมิน

         

          4. คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าร่วมนำเสนอผลการดำเนินงานฯ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการการพัฒนาและยกระดับสินค้า OTOP ด้วย วทน. (ตามแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป) ที่ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม  ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผ่านระบบออนไลน์ ในการนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ มอบหมายให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นผู้ดำเนินการประเมิน มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้ารับการประเมินในวันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม 2566 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ หัวหน้าโครงการ นำเสนอผลการดำเนินโครงการ คือ 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์สครับผิวจากสมุนไพร เพื่อเพิ่มความหลากหลายและยืดอายุการเก็บรักษา 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์สละ สละในน้ำเชื่อมแคลอรี่ต่ำ เวลา 09.25 – 10.00 น.



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 15/09/2566 [15536]
20000 0
4 [15531]

การบริการข้อมูลเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 4 เดือน กรกฎาคม - กันยายน 2566 

          1. คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าร่วมโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนแบบพุ่งเป้าทุกมิติ อย่างยั่งยืน จังหวัดจันทบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 9 ประจำเดือนกรกฎาคม 2566 โดยนำหน่วยบริการไปให้บริการประชาชนในพื้นที่ จำนวน 2 กิจกรรม ได้แก่ 1 กิจกรรมออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (จังหวัดเคลื่อนที่)  และ 2 การประชุมบูรณาการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนแผนงาน/โครงการให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาอย่างยั่งยืน ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2566 ณ วัดธรรมสุขสว่าง ตำบลเขาวงกต อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี โดยคลินิกเทคโนโลยี เข้าร่วมจัดนิทรรศการภายใต้กิจกรรมออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (จังหวัดเคลื่อนที่) และออกหน่วยบริการข้อมูลเทคโนโลยี ประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีที่พร้อมถ่ายทอด รวมทั้งแจกเอกสารแนะนำกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) และคลินิกเทคโนโลยี ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับบริการเป็นจำนวนมาก มีผู้ให้ความสนใจขอรับข้อมูลเทคโนโลยีและตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 29 คน พร้อมนี้คลินิกเทคโนโลยีได้สำรวจความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชุมชนด้วย

          2. คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าร่วมโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนแบบพุ่งเป้าทุกมิติ อย่างยั่งยืน จังหวัดจันทบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 10 ประจำเดือนสิงหาคม 2566 โดยนำหน่วยบริการไปให้บริการประชาชนในพื้นที่ จำนวน 2 กิจกรรม ได้แก่ 1 กิจกรรมออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (จังหวัดเคลื่อนที่)  และ 2 การประชุมบูรณาการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนแผนงาน/โครงการให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาอย่างยั่งยืน ในวันที่ 25 สิงหาคม 2566 ณ โรงเรียนหนองตาคงพิทยาคาร ตำบลหนองตาคง อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี โดยคลินิกเทคโนโลยี เข้าร่วมจัดนิทรรศการภายใต้กิจกรรมออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (จังหวัดเคลื่อนที่) และออกหน่วยบริการข้อมูลเทคโนโลยี ประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีที่พร้อมถ่ายทอด รวมทั้งแจกเอกสารแนะนำกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) และคลินิกเทคโนโลยี ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับบริการเป็นจำนวนมาก มีผู้ให้ความสนใจขอรับข้อมูลเทคโนโลยีและตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 30 คน พร้อมนี้คลินิกเทคโนโลยีได้สำรวจความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชุมชนด้วย



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 15/09/2566 [15531]
2000 59
3 [14817]

รายงานผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 3 ประจำปีงบประมาณ 2566 เดือนเมษายน 2566 - มิถุนายน 2566 

          1. คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ร่วมกับจังหวัดจันทบุรี และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในจังหวัด ออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (จังหวัดเคลื่อนที่) ตามโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนแบบพุ่งเป้าทุกมิติ อย่างยั่งยืน จังหวัดจันทบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 7  ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ณ เทศบาลตำบลสนามไชย ตำบลสนามไชย อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี  โดยคลินิกเทคโนโลยี ออกบริการข้อมูลเทคโนโลยี ที่พร้อมถ่ายทอดในด้านต่างๆ รวมทั้งแจกเอกสารแนะนำกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) และคลินิกเทคโนโลยี ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับบริการเป็นจำนวนมาก มีผู้ให้ความสนใจขอรับข้อมูลเทคโนโลยีและตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 23 คน พร้อมนี้คลินิกเทคโนโลยีได้สำรวจความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชุมชนด้วย

         

2. วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี โดยนายพันธุ์ศักดิ์ สุทธิสวัสดิ์ ตำแหน่ง ผู้จัดการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ ได้พาผู้ประกอบการเข้ามาขอรับคำปรึกษา ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกแกง กับศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก และคลินิกเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาผู้ประกอบการระดับ Startupของหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ โดยมีตัวแทนผู้ประกอบการที่เข้าพูดคุยขอรับคำปรึกษา คือ นายวรฉัตร เชิดชู ซึ่งผู้ประกอบการได้กล่าวถึง ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มตนเอง ที่ผลิตและขายอยู่ในปัจจุบันนั้น มีอายุการเก็บรักษาที่สั้น และต้องแช่เย็น ตนจึงอย่างพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกแกง ให้มีความหลากหลาย เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ซึ่งข้อสรุปจากการให้คำปรึกษาเบื้องต้น ผู้ประกอบการและทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีความเห็นตรงกัน ที่จะพัฒนาน้ำพริกแกงให้อยู่ในรูแบบก้อน และแบบผง เพื่อให้สะดวกต่อการปรุงอาหารในแต่ละครั้ง การขนส่ง การจัดจำหน่าย และระยะเวลาการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ้น ทีมวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้รับโจทย์ พร้อมทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในลำดับต่อไป

 

3. วันที่ 31 พฤษภาคม 2566 หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ได้นำผู้ประกอบการ เข้ารับคำปรึกษาด้านสูตร และการทดสอบชิมผลิตภัณฑ์น้ำพริกแกง ที่ได้รับการพัฒนาจากการขอเข้ารับคำปรึกษาในรอบแรก จากคลินิกเทคโนโลยี โดยนายคฑาวุธ สว่างดี และเจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์ คือ นางสาวปารณี สร้อยศรี และนางสาวสุวนันท์ เนื่องแนวน้อย จากศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก โดยกิจกรรมนี้อยู่ภายใต้โครงการการพัฒนาผู้ประกอบการระดับ Startupของหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ โดยมีตัวแทนผู้ประกอบการที่เข้าร่วมคือ นายวรฉัตร เชิดชู ผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกแกงป่า  แบรนด์แม่รำแพน มาคัดเลือกและร่วมเสนอแนวทางที่ถูกพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ของผลิตภัณฑ์น้ำพริกแกงป่าชนิดผง และอัดก้อน เพื่อนำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม ความแปลกใหม่ และยืดอายุการเก็บรักษา ที่เน้นความเป็นธรรมชิตของพริกแกงพื้นบ้าน

          หลังจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเสร็จสิ้น ผลการทดลองวิเคราะห์ค่า Aw ของน้ำพริกแกงป่าของก่อนการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีค่า เท่ากับ 0.852 ซึ่งเป็นค่าที่จุลินทรีย์ส่วนใหญ่ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย ยีสต์บางชนิดและแบคทีเรียก่อโรค สามารถเจริญเติบโตได้ ส่วนน้ำพริกแกงป่าช่องหลังการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีค่า Aw อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนของน้ำพริกแกงแห้ง (มผช. 734/2548) โดยค่า Aw ต้องไม่เกิน 0.6 การทดสอบ ด้วยเครื่องวัดวิเตอร์แอกทิวิตีที่ควบคุมอุณหภูมิที่ (25+2) องศาเซลเชียส ซึ่งสามารถสรุปผลการทดลอง ได้ว่า การแปรรูปน้ำพริกแกงป่าซองผงและอัดก้อน สามารถเก็บรักษาได้นาน 6-12 เดือน ที่บรรจุสุญญากาศในถุงพลาสติกชนิด NyIon/PE บรรจุถุงอลูมิเนียมฟอยล์ และขวดแก้วฝาเกรียว โดยยืดอายุการเก็บรักษาได้นานขึ้นที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งเป็นการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เดิมให้สามารถขยายตลาดได้เพิ่มขึ้น โดยผู้ประกอบการจะนำผลิตภัณฑ์ที่ได้ ไปปรึกษากลุ่มในเรื่องผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ การตลาด ร่วมกับหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ เพื่อทำการยกระดับผู้ประกอบการในลำดับต่อไป

          ** ความร่วมมือระหว่าง ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก คลินิกเทคโนโลยี และหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

 

          4. คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ร่วมกับจังหวัดจันทบุรี และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในจังหวัด ออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ (จังหวัดเคลื่อนที่) ตามโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนแบบพุ่งเป้าทุกมิติ อย่างยั่งยืน จังหวัดจันทบุรี ประจำปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 8 ในวันที่ 23 มิถุนายน 2566 ณ โรงเรียนทุ่งขนานวิทยา ตำบลทุ่งขนาน อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี  โดยคลินิกเทคโนโลยี ออกบริการข้อมูลเทคโนโลยี ที่พร้อมถ่ายทอดในด้านต่างๆ รวมทั้งแจกเอกสารแนะนำกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) และคลินิกเทคโนโลยี ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับบริการเป็นจำนวนมาก มีผู้ให้ความสนใจขอรับข้อมูลเทคโนโลยีและตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 20 คน พร้อมนี้คลินิกเทคโนโลยีได้สำรวจความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชุมชนด้วย

 

          5. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ได้ดำเนินโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ประเภทประกาศนียบัตร หลักสูตรนักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเชิงนวัตกรรม และหลักสูตร ผู้ประกอบการเกษตรสมัยใหม่ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย จึงขอเข้าศึกษาดูงาน ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก ในวันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น. มีผู้เข้าร่วมจำนวน 42 คน

กิจกรรมการต้อนรับผู้เข้าศึกษาดูงานในครั้งนี้ การดำเนินการดังต่อไปนี้

1. นำเสนอบทบาทหน้าที่ของศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก

2. นำเสนอบทบาทหน้าที่ ของคลินิกเทคโนโลยี ที่ดำเนินกิจกรรมร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก และสำนักบริการวิชาการ

3. การสาธิตและนำเสนอนวัตกรรมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ดังนี้

          - การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

          - การพัฒนานวัตกรรมแปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร

4. ระบบห้องปฏิบัติการ    

 

ไตรมาส 3 ประจำปีงบประมาณ 2566 เดือนเมษายน 2566 - มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มีผู้มารับบริการให้คำปรึกษา จำนวน 42 คน และข้อมูลเทคโนโลยี จำนวน 43 คน รวมมีผู้มารับบริการทั้งสิ้น 85 คน มีความพึงพอใจร้อยละ 91.95

1. ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

          1.1 มีช่องทางการให้บริการที่หลากหลาย             คิดเป็นร้อยละ 94.42                      

          1.2 การให้บริการขั้นตอน ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน          คิดเป็นร้อยละ 85.58                  

          1.3 การให้บริการมีความสะดวก รวดเร็ว              คิดเป็นร้อยละ 91.16                     

2. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

          2.1 ให้บริการด้วยความสุภาพ เต็มใจ ยินดี            คิดเป็นร้อยละ 94.88          

          2.2 ให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว               คิดเป็นร้อยละ 87.91                                  

          2.3 ให้บริการตอบข้อซักถามปัญหาได้น่าเชื่อถือ      คิดเป็นร้อยละ 89.77                         

3. ด้านข้อมูล 

          3.1 ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น                                คิดเป็นร้อยละ 96.74                                          

          3.2 ข้อมูลมีความถูกต้องตรงความต้องการ            คิดเป็นร้อยละ 91.63                      

          3.3 ข้อมูลที่ได้รับมีประโยชน์                           คิดเป็นร้อยละ 94.88                                              

4. ภาพรวมความพึงพอใจในการให้บริการ                      คิดเป็นร้อยละ 92.56

สรุปความพึงพอใจในภาพรวมของกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 91.95    

 

 

รายชื่อผู้รับบริการ 

/online/cmo/filemanager/652/files/Clinic Tech RBRU 66(2).xls



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 05/07/2566 [14817]
62250 85
2 [14158]

 รายงานผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2566 เดือนตุลาคม 2565 - ธันวาคม 2566

          1.  ตามที่ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ได้จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567 - 2570 ในวันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 13.00 - 16.00 น. ผ่านระบบการประชุมทางไกลออนไลน์ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานและจัดทำแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567 – 2570โดยมีบุคลากรและเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานกิจกรรม/โครงการภายใต้เครือข่ายกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมจากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าร่วมประชุม ดังนี้

          1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร บุญมี   ตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี เป็นตัวแทนเข้าร่วม อว.ส่วนหน้าจังหวัด

          2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี เป็นตัวแทนเข้าร่วม เครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี (Clinic Technology)

          3. นายพันศักดิ์  สุทธิสวัสดิ์ ตำแห่ง ผู้จัดการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ เป็นตัวแทนเข้าร่วม เครือข่ายหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา (University Business Incubator: UBI)

 

          2. ตามที่ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วน.) ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567 - 2570ตั้งแต่เดือนกันยายน - พฤศจิกายน 2565นั้น ในการนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ได้กำหนดจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567 - 2570" ตั้งแต่วันที่ 20 - 21 พฤศจิกายน 2565 ณ โรงแรมแมนดาริน ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร โดยมีบุคลากรและเจ้าหน้าที่ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เข้าร่วมประชุม ดังนี้

          1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร บุญมี   ตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี เป็นตัวแทนเข้าร่วม อว.ส่วนหน้าจังหวัด

          2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี เป็นตัวแทนเข้าร่วม เครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี (Clinic Technology)

          3. นายพันศักดิ์  สุทธิสวัสดิ์ ตำแห่ง ผู้จัดการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ เป็นตัวแทนเข้าร่วม เครือข่ายหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา (University Business Incubator: UBI)

          4. นายคฑาวุธ  สว่างดี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี เป็นตัวแทนเข้าร่วม เครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี (Clinic Technology)



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 05/04/2566 [14158]
0 0
2 [14189]

รายงานผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 2ประจำปีงบประมาณ 2566 เดือนมกราคม 2566 – มีนาคม 2566

          1. ด้วย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้กำหนดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แผนปฏิบัติการและแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สู่การพัฒนาภูมิภาค ประจำปี 2567 - 2570 ณ ห้องประชุม ชั้น 3A อาคารพระจอมเกล้าฯ สป.อว. (โยธี) ในรูปแบบการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) ด้วยโปรแกรม Zoom Cloud Meeting โดยคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ได้มีตัวแทนเข้าร่วมประชุม ครั้งที่ 4 (ภาคกลางและภาคตะวันออก) ในวันอังคารที่ 17 มกราคม 2566 เวลา 09.00 – 16.30 จำนวน 2 คน คือ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ ตำแหน่ง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี 2. นายคฑาวุธ สว่างดี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลยี โดยมีหัวข้อการประชุมเชิงปฏิบัติการ ดังนี้

          - การบรรยาย เรื่อง “แนวทางการดำเนินงานโมเดลเส้นทางเดียว (One Route Cooperative Model) เพื่อใช้ประโยชน์งานด้าน ววน. สู่การพัฒนาจังหวัด”

          - การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น หัวข้อ “การบริหารจัดการสำนักงานเพื่อการนำ ววน. ไปพัฒนาพื้นที่”

          - การบรรยาย เรื่อง “การพัฒนาโครงการสู่ความยั่งยืน”

          - การบรรยายและฝึกปฏิบัติเรื่อง “ระบบคลินิกเทคโนโลยีออนไลน์ CMO”

         
          2. คลินิกเทคโนโลยี และสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ร่วมกับจังหวัดจันทบุรี และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในจังหวัด ออกโครงการจังหวัดเคลื่อนที่เพื่อบริการประชาชน ในวันที่ 24 มกราคม 2566 ณ วัดทับนคร อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี  โดยคลินิกเทคโนโลยี ออกบริการข้อมูลเทคโนโลยี ที่พร้อมถ่ายทอดในด้านต่างๆ รวมทั้งแจกเอกสารแนะนำกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคลินิกเทคโนโลยีประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับบริการเป็นจำนวนมาก มีผู้ให้ความสนใจขอรับข้อมูลเทคโนโลยีและตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 22 คน พร้อมนี้คลินิกเทคโนโลยีได้สำรวจความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชุมชนด้วย

 

          3. ด้วยทุเรียนเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญและนำรายได้เข้าสู่จังหวัดจันทบุรีปีละหลายหมื่นล้านบาท ซึ่งในฤดูกาลผลิตทุเรียนแต่ละปีจะมีกลุ่มบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้องหลายกลุ่ม ทั้งในกระบวนการผลิต การตัด และการซื้อขายทุเรียน ซึ่งการซื้อขายทุเรียนแต่ละฤดูกาลผลิตที่ผ่านมา พบว่ามีการตัดทุเรียนด้อยคุณภาพ (ทุเรียนอ่อน) คละปนออกมาและนำเข้าสู่ตลาดเป็นจำนวนมาก สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในคุณภาพทุเรียนจังหวัดจันทบุรี ทั้งในและต่างประเทศ จังหวัดจันทบุรี ได้มีมาตรการควบคุมและป้องกันทุเรียนด้อยคุณภาพ (ทุเรียนอ่อน) ในแหล่งผลิต โดยกำหนดให้เกษตรกรผู้ที่จะขาย และมือตัดที่จะตัดทุเรียนนั้น มีการตรวจก่อนตัด (ตรวจเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้ง ในเนื้อทุเรียนก่อนตัด) เพื่อควบคุมและป้องกันทุเรียนด้อยคุณภาพ (ทุเรียนอ่อน) ออกสู่ตลาด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลไกสนับสนุนการปฏิบัติในการควบคุมและป้องกันทุเรียนด้อยคุณภาพ (ทุเรียนอ่อน) เพื่อให้เกษตรกร มือตัด และผู้ประกอบการ (ล้ง) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการตัด และการซื้อขายทุเรียน เพื่อยกระดับคุณภาพของทุเรียนจังหวัดจันทบุรี ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการตรวจก่อนตัด (ตรวจเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งในเนื้อทุเรียนก่อนตัด) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ จึงมีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานและชุดปฏิบัติการเฉพาะกิจตรวจก่อนตัด (ตรวจเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งในเนื้อทุเรียนก่อนตัด) เพื่อควบคุมและป้องกันทุเรียนด้อยคุณภาพ (ทุเรียนอ่อน) ออกสู่ตลาด ในฤดูกาลผลิต ปี พ.ศ. ๒๕๖๖

          เพื่อเป็นการอำนวยสะดวก และการบริการประชาชน เกษตรกร ผู้ประกอบการ ในช่วงระระเวลาการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก  ,สำนักบริการวิชาการ ,คลินิกเทคโนโลยี และคณะเทคโนโลยีการเกษตร  เป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมด้านสถานที่ เครื่องมือ และบุคคลากร และงบประมาณ ด้านการวิเคราะห์หาความแก่อ่อนของทุเรียน ในช่วงประกาศการเก็บเกี่ยวตามประกาศของจังหวัด มหาวิทยาลัยจึงเปิดศูนย์รับวิเคราะห์ผลผลิตทางการเกษตร (ทุเรียน) ซึ่งทำการตรวจเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งในเนื้อทุเรียน ด้วยวิธี FT-NIR (Near Infrared Spectroscopy) ซึ่งผลการตรวจเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งในเนื้อทุเรียน ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก

          ผลการดำเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2566 – 31 เมษายน 2566 มีเกษตรกรเจ้าของสวน ,มือตัดอิสระ และเจ้าของล้ง นำทุเรียนมาตรวจเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งเนื้อทุเรียนก่อนตัด ทั้งสิ้น  354 ตัวอย่าง

          มหาวิทยาลัยมีวิธีการดำเนินงานภายในโครงการ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

          จุดที่ 1 กรองทุเรียนก่อนลงทะเบียน คือ ถ้าผ่า เจาะ ป้ายยา ขั้วแห้ง  ไม่รับตรวจ

เจ้าหน้าที่ประจำจุด นางสาวสุวนันท์  เนื่องแนวน้อย

          จุดที่ 2 จุดลงทะเบียนและลงรหัสที่ลูก โดยใช้ใบ GAP (จะต้องไม่หมดอายุ) และสำเนาบัตรประชาชนผู้ส่งตรวจ

เจ้าหน้าที่ประจำจุด นางสาวปารณีย์  สร้อยศรี

          จุดที่ 3 จุดผ่าลูก การผ่าให้ได้เนื้อกลางลูกมากที่สุด และใส่เนื้อในตะกร้าที่มีรหัสตรงกับลูก

เจ้าหน้าที่ประจำจุด นางสาวนวลพรรณ ผลพูล ,นางผสม  เฟื่องภักดิ์ และเจ้าหน้าที่ส่วนกลางของมหาวิทยาลัย วันละ 2 คน ผลัดเปลี่ยนเวรการผ่า  

          จุดที่ 4 การวัดค่าด้วยเครื่อง NIR  สแกน 6-12 ซ้ำ จนกว่าจะได้ค่าที่นิ่ง และไม่ error 

เจ้าหน้าที่ประจำจุด นางสาวกรรณิการ์  แสงภู่ และนางสาวนัดกาน  สมบูรณ์ธรรม

          จุดที่ 5 การรายงานผลผ่านระบบ

เจ้าหน้าที่ประจำจุด นายคฑาวุธ  สว่างดี

          จุดที่ 6 รับใบรายงาน ต้องตรวจชื่อ นามสกุล ที่อยู่ ในใบรายงานให้ตรงกับข้อมูลแปลงที่นำมาตรวจ

เจ้าหน้าที่ประจำจุด นางสาวปารณีย์  สร้อยศรี

 

รายชื่ออาจารย์และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จากคณะเทคโนโลยีการเกษตร ระหว่างวันที่  20 มีนาคม – 28 เมษายน 2566 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก  มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

          1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลิศชัย  จิตร์อารี               คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร

          2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง  เบญจมาศ

          3. รองศาสตราจารย์ ดร.วริศชนม์  นิลนนท์

          4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร  สวัสดิการ

          5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุลพร  พุทธมี

          6. อาจารย์ขนิษฐา  รัตน์ประโคน 

          7. พรชัย  เหลืองวารี

          8. อาจารย์ ดร.สรวีย์  ธัญญมาดา

          9. . ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพรรณ  สุขุมพินิจ

          10. อาจารย์นภาพรรณ  หนิมพานิช        

          11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิกันยา  ประทุมยศ

          12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชรวิทย์  รัศมี

          13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงรัตน์  สวัสดิ์มงคล

          14. อาจารย์อารยา  แดงโรจน์    

          15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุทิศา  ชัยกุล



รายงานโดย นายคฑาวุธ สว่างดี วันที่รายงาน 05/04/2566 [14189]
62250 376