2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบด้วย วทน. เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชน สู่เชิงพาณิชย์อย่างครบวงจร    0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
5 [15891]

กิจกรรมที่ 8 การประเมินผลและติดตามความสำเร็จโครงการ

คณะทำงานโครงการได้ลงพื้นที่ประเมินผลและติดตามความสำเร็จโครงการ ในวันที่ 22 ธันวาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลและติดตามความสำเร็จโครงการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม โดยมี

นางภัทราวดี วงษ์วาศ หัวหน้าโครงการ เป็นผู้ลงติดตามประเมินผล



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 31/12/2566 [15891]
1960 5
5 [15890]

กิจกรรมที่ 7 ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านแนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketing

คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง แนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketingในวันที่ 2 ธันวาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง แนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketingแก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ นางสาวเบญจมาศ  วังคะฮาด นักการตลาดอิสระ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social Content Marketing การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “แนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketing” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “แนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketing” ประกอบ

     2.1) บรรยายเรื่อง แนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketing

     2.2) ปฏิบัติการ แนวทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketing

3) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

4) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

5) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1ท่าน คือ นางสาวเบญจมาศ  วังคะฮาด นักการตลาดอิสระ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านทางการขายทาง Social online การสื่อสารการตลาดทาง Social Content Marketing

6) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

7) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.79) คิดเป็นร้อยละ 96

ตารางที่ 9 แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมกิจกรรม แนวทางการขายทาง Social

             online การสื่อสารการตลาดทาง Social ตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ในลักษณะ Content Marketing

             (N=50)

 

รายการ

ผลการประเมิน

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.78

0.4

มากที่สุด

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.80

0.4

มากที่สุด

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.90

0.5

มากที่สุด

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.80

0.5

มากที่สุด

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.82

0.5

มากที่สุด

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.78

0.5

มากที่สุด

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.68

0.5

มากที่สุด

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.72

0.6

มาก

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.85

0.4

มากที่สุด

ค่าเฉลี่ยรวม

4.79

-

มากที่สุด

ร้อยละของการประเมินความพึงพอใจเท่ากับ 96

 

 

 

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

 

5

10

15

17

3

 

10.0

20.0

30.0

34.0

6.0

         

 



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 31/12/2566 [15890]
17500 50
5 [15889]

กิจกรรมที่ 6 การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด
(ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farm

คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farmในวันที่ 1 ธันวาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farm แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ อาจารย์ ดร.วิจิตรตา อรรถสาร อาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านประมง จากคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farm” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farm” ประกอบ

     2.1) บรรยายเรื่อง แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farm

     2.2) ปฏิบัติการ แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farmและการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบนอกฤดู

3) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

4) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

5) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1ท่าน คือ อาจารย์ ดร.วิจิตรตา อรรถสาร อาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านประมง

6) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

7) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.72) คิดเป็นร้อยละ 94

ตารางที่ 8 แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมกิจกรรม แนวทางการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด

             (ลูกฮวก) และกบ แบบ smart farm(N=50)

รายการ

ผลการประเมิน

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.75

0.5

มากที่สุด

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.80

0.4

มากที่สุด

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.70

0.5

มากที่สุด

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.72

0.4

มากที่สุด

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.70

0.5

มากที่สุด

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.71

0.4

มากที่สุด

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.67

0.4

มากที่สุด

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.71

0.5

มากที่สุด

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.76

0.4

มากที่สุด

ค่าเฉลี่ยรวม

4.72

-

มากที่สุด

ร้อยละของการประเมินความพึงพอใจเท่ากับ 94

 

 

 

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

 

4

8

7

21

10

 

8.0

16.0

14.0

42.0

20.0



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 30/12/2566 [15889]
38000 50
5 [15888]

กิจกรรมที่ 5.2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์       

          คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ นางภัทราวดี วงษ์วาศ ตำแหน่ง นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย นครพนม  ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์  การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์” ประกอบ

     2.1) บรรยายเรื่อง การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์

     2.2) ปฏิบัติการ การพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์

3) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

4) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

5) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1 ท่าน คือ นางภัทราวดี วงษ์วาศ ตำแหน่ง นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย นครพนม  ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาออกแบบฉลากบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์

6) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

7) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.73) คิดเป็นร้อยละ 94

ตารางที่ 7 แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมกิจกรรม การพัฒนาออกแบบฉลาก
               บรรจุภัณฑ์และตราสินค้าที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ (N=50)

รายการ

ผลการประเมิน

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.70

0.5

มากที่สุด

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.65

0.5

มากที่สุด

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.80

0.4

มากที่สุด

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.72

0.4

มากที่สุด

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.82

0.5

มากที่สุด

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.74

0.4

มากที่สุด

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.70

0.5

มากที่สุด

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.65

0.5

มากที่สุด

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.80

0.5

มากที่สุด

ค่าเฉลี่ยรวม

4.73

-

มากที่สุด

ร้อยละของการประเมินความพึงพอใจเท่ากับ 94

 

 

 

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

 

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

   6,001 - 7,000บาท

 

2

10

5

18

13

 2

 

4.0

20.0

10.0

36.0

26.0

4.0



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 30/12/2566 [15888]
31000 50
5 [15887]

ทดสอบตลาดผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ได้ทำการผลิตผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อทดสอบตลาด และดำเนินการทดสอบตลาดผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ทดสอบความชอบ ความพึงพอใจ และการยอมรับและการตัดสินใจซื้อ ผลิตภัณฑ์โดยผู้บริโภคเป้าหมายจำนวนไม่น้อยกว่า 100 คนโดยทดสอบจากคณะที่มาศึกษาดูงาน
ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2566 และทางกลุ่มเข้าร่วมในงานโครงการนำสินค้าไทยสู่สากล โดยความร่วมมือระหว่างสภาอุตสาหกรรมนครพนมร่วมกับ บ.Big Cat Corporation วันที่ 23 ธันวาคม 2566 ณ โรงแรม บลู โฮเทล นครพนม โดยผลการทดสอบตลาดผลิตภัณฑ์สุดท้ายพบว่าผู้ทดสอบเป็นเพศหญิงในสัดส่วนร้อยละ 60ส่วนใหญ่   31-40 ปี ร้อยละ 32 การศึกษา ป.ตรี ร้อยละ 50ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 30มีรายได้ 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 35ในส่วนผลิตภัณฑ์ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป ผู้ทดสอบส่วนใหญ่ชอบรับประทานห่อหมกลูกอ๊อดร้อยละ 95ความถี่ น้อยกว่า 1 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 75ในด้านความชอบโดยรวมผลิตภัณฑ์มีค่าเฉลี่ย 8.1 คะแนน (ชอบมาก) การยอมรับในผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์ เท่ากับร้อยละ 100และคิดว่าจะซื้อร้อยละ 100(ตารางที่ 3)
ในส่วนผลิตภัณฑ์ไส้กรอกอีสานกบผู้ทดสอบส่วนใหญ่ชอบรับประทานไส้กรอกอีสานกบร้อยละ 98ความถี่ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 50ในด้านความชอบโดยรวมผลิตภัณฑ์มีค่าเฉลี่ย 8.3คะแนน (ชอบมาก) การยอมรับในผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์ เท่ากับร้อยละ 100และคิดว่าจะซื้อร้อยละ 100 (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการบริโภค ผลการทดสอบความชอบและการยอมรับ               
              ผลิตภัณฑ์ของผู้ทดสอบ

รายละเอียด

จำนวน (คน)

ความถี่ (ร้อยละ)

ส่วนที่ 1: ลักษณะทางประชากรศาสตร์

เพศ

 

 

   ชาย

40

40.0

   หญิง

60

60.0

อายุ

 

 

   ต่ำกว่า 20 ปี

15

15.0

   21-30 ปี

18

18.0

   31-40 ปี

32

32.0

   41-50 ปี

20

20.0

   51-60 ปี

10

10.0

   มากกว่า 60 ปี

5

5.0

การศึกษา

 

 

    ม.ต้น

5

5.0

    ม.ปลาย / ปวช.

20

20.0

    อนุปริญญา / ปวส.

10

10.0

    ป.ตรี

50

50.0

    อื่นๆ

15

15.0

อาชีพ

 

 

    นักเรียน/นักศึกษา

15

15.0

    รับราชการ

25

25.0

    พนักงานบริษัท

15

15.0

    พนักงานรัฐวิสาหกิจ

5

5.0

    ธุรกิจส่วนตัว

30

30.0

    รับจ้างทั่วไป

10

10.0

    อื่นๆ

-

-

รายได้

 

 

น้อยกว่า5,000 บาท

15

15.0

5,001-10,000 บาท

15

15.0

10,001-20,000 บาท

35

35.0

20,001-30,000 บาท

25

25.0

มากกว่า 30,001 บาทขึ้นไป

10

10.0

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค หมกฮวก (ลูกอ๊อด)

ความชอบต่อหมกฮวก (ลูกอ๊อด)

จำนวน (คน)

ความถี่ (ร้อยละ)

     ชอบ

95

95.0

     ไม่ชอบ

5

5.0

ความถี่ในการบริโภค

 

 

     น้อยกว่า1 ครั้ง/สัปดาห์

75

75.0

     2-3 ครั้ง/สัปดาห์

25

25.0

     4-6 ครั้ง/สัปดาห์

0

0.0

     มากกว่า 6 ครั้ง/สัปดาห์

0

0.0

ส่วนที่ 3 : ข้อมูลเกี่ยวกับการยอมรับของผลิตภัณฑ์ต้นแบบห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป

ความชอบทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์

คะแนนความชอบ (ค่าเฉลี่ย)

ความหมาย

ลักษณะปรากฏ

7.3

ชอบปานกลาง

สี

7.1

ชอบปานกลาง

กลิ่น

8.0

ชอบมาก

รสชาติ

8.3

ชอบมาก

ความชอบโดยรวม

8.1

ชอบมาก

ความสนใจในผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์

จำนวน (คน)

ความถี่ (ร้อยละ)

ซื้อ

100

100.0

ไม่ซื้อ

0

0.0

ส่วนที่ 4: ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคไส้กรอกอีสาน

ความชอบต่อไส้กรอกอีสาน

จำนวน (คน)

ความถี่ (ร้อยละ)

     ชอบ

98

98.0

     ไม่ชอบ

2

2.0

ความถี่ในการบริโภค

 

 

     น้อยกว่า 1ครั้ง/สัปดาห์

42

42.0

     2-3ครั้ง/สัปดาห์

50

50.0

     4-6ครั้ง/สัปดาห์

8

8.0

     มากกว่า 6ครั้ง/สัปดาห์

0

0.0

ส่วนที่ 5: ข้อมูลเกี่ยวกับการยอมรับของผลิตภัณฑ์ต้นแบบไส้กรอกอีสานกบ

ความชอบทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์

คะแนนความชอบ (ค่าเฉลี่ย)

ความหมาย

ลักษณะปรากฏ

7.7

ชอบปานกลาง

สี

8.1

ชอบมาก

กลิ่น

8.2

ชอบมาก

รสชาติ

8.6

ชอบมาก

ความชอบโดยรวม

8.3

ชอบมาก

ความสนใจในผลิตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์

จำนวน (คน)

ความถี่ (ร้อยละ)

ซื้อ

100

100.0

ไม่ซื้อ

0

0.0

 

 



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 30/12/2566 [15887]
0 100
5 [15851]

5. กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด
(ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ)

     คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ)ในวันที่ 21 ตุลาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ) แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ 1) ผศ.ดร.จิตตะวัน กุโบลา ตำแหน่ง อาจารย์ สาขาวิชานวัตกรรมอาหารและแปรรูป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ และ 2) นางภัทราวดี วงษ์วาศ ตำแหน่ง นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย นครพนม  ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหาร การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ)” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ)” ประกอบ

     3.1) บรรยายเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ)

     3.2) ปฏิบัติการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (เช่น ห่อหมกฮวกกึ่งสำเร็จรูป, ไส้กรอกอีสานกบ)

4) ประเมินผลการเรียนรู้ก่อนและหลังของผู้เข้ารับการอบรม

5) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

6) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

7) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 2ท่าน คือ 1) ผศ.ดร.จิตตะวัน กุโบลา ตำแหน่ง อาจารย์ สาขาวิชานวัตกรรมอาหารและแปรรูป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ และ 2) นางภัทราวดี วงษ์วาศ ตำแหน่ง นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย นครพนม  ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหาร

8) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

9) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.72) คิดเป็นร้อยละ 94

10) ค่าใช้จ่ายในการกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี จำนวนทั้งสิ้น 73,060  บาท



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 30/10/2566 [15851]
73060 50
5 [15850]

ตารางที่ 2แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมกิจกรรม การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)(N=50)

รายการ

ผลการประเมิน

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.74

0.4

มากที่สุด

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.72

0.4

มากที่สุด

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.92

0.5

มากที่สุด

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.54

0.5

มากที่สุด

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.62

0.5

มากที่สุด

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.78

0.5

มากที่สุด

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.48

0.5

มากที่สุด

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.42

0.6

มาก

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.82

0.4

มากที่สุด

ความพอใจโดยรวม

4.67

93 %

มากที่สุด

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

 

7

25

7

7

4

 

14.0

50.0

14.0

14.0

8.0



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 30/10/2566 [15850]
0 0
5 [15849]

4. กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)

     คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ในวันที่ 21 กันยายน 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ อาจารย์ ดร.วิจิตรตา อรรถสาร อาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านประมง จากคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)” ประกอบ

     3.1) บรรยายเรื่อง การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)

     3.2) ปฏิบัติการ การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)

4) ประเมินผลการเรียนรู้ก่อนและหลังของผู้เข้ารับการอบรม

5) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

6) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

7) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1ท่าน คือ นายวัชริศ ราชวัตร ประมงอำเภอธาตุพนม ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Good Aquaculture Practice: GAP)

8) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

9) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.67) คิดเป็นร้อยละ 93

10) ค่าใช้จ่ายในการกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี จำนวนทั้งสิ้น 17,500 บาท



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 30/10/2566 [15849]
17500 50
3 [15171]

3. ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ

     สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้แพลตฟอร์มเพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน โครงการ“การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปลรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบด้วย วทน. เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนสู่เชิงพานิชย์อย่างครบวงจร” โดยได้รับเกียรติจากคณะกรรมการติดตามผลการดำเนินงาน ได้แก่ นายเฉลิมพงษ์ กล้าขยัน สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) นางสาวนิศากร ยิ่งขจร สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) และได้รับเกียรติจากคณะกรรมการติดตามผลการดำเนินงาน กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย นายเมธี ลิมนิยกุล นายวิทยา สุวรรณสุข นางสาวเดือนเพ็ญ อาจไธสง และนางสาววิลาวรรณ งอยผาลา ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม บ้านดอนแดง ต.ธาตุพนมเหนือ อ.ธาตุพนม จ.นครพนม โดยนางภัทราวดี วงษ์วาศ นักวิจัย สังกัด สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยนครพนม หัวหน้าโครงการ เป็นผู้รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน โดยทีนายสันติ สุนีย์ ประธานกลุ่มฯ พร้อมด้วยสมาชิกเข้าร่วมในการรายงานผลการดำเนินงานในครั้งนี้ ซึ่งคณะกรรมการติดตามผลการดำเนินงานได้ให้ข้อเสนอแนะดังนี้ ปรับแผนการดำเนินงานของทั้ง 3 ปี ใหม่ ให้ตรงกับบริบทพื้นที่ ศักยภาพและความต้องการของกลุ่ม โดย เพิ่มเติมการสร้างโรงเรือนจำลองการเลี้ยงให้ได้สภาวะที่สามารถเพาะเลี้ยงได้ผลผลิตของลูกฮวก และกบให้ได้ตลอดทั้งปี ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่มให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับของตลาด เน้นให้ผลิตและขายได้จริง สร้างแบรนด์สินค้าให้น่าสนใจ และเพิ่มการอบรมการขายออนไลน์



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 14/08/2566 [15171]
0 18
3 [15170]

ตารางที่ 1แสดงผลประเมินแบบประเมินของการจัดการฝึกอบรมกิจกรรม การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ (N=50)

รายการ

ผลการประเมิน

 

ท่านมีความพอใจในคำถามต่อไปนี้ระดับใด

ค่าเฉลี่ย

S.D.

แปลงค่า

 

ข้อมูลวัดความพึงพอใจ

 

 

 

 

1. มีขั้นตอนการให้บริการเช่น การแจ้งให้ทราบก่อนอบรม การประสานงานและให้ข้อมูล ทำให้ท่านได้รับความสะดวกแค่ไหน

4.78

0.4

มากที่สุด

 

2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นกันเอง

4.86

0.4

มากที่สุด

 

3. สถานที่อบรม อาหาร เครื่องโสตฯ เอกสารอบรม มีพร้อมในการอบรม

4.72

0.5

มากที่สุด

 

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร

 

 

 

 

4. ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ เช่น ประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวันได้มากน้อยแค่ไหน

4.74

0.5

มากที่สุด

 

5. เนื้อหาที่วิทยากรสอนท่านสามารถเข้าใจได้น้อยแค่ไหน

4.78

0.5

มากที่สุด

 

6. วิทยากรถ่ายทอดความรู้ ทำให้ท่านเข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

4.76

0.4

มากที่สุด

 

7. เวลาการอบรมเหมาะสมหรือไม่

4.72

0.4

มากที่สุด

 

8. ช่วงเวลาของการจัดการอบรมมีความเหมาะสม

4.74

0.6

มากที่สุด

 

9. ความคุ้มค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย

4.66

0.6

มากที่สุด

 

ความพอใจโดยรวม

4.75

95%

มากที่สุด

 

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

10. ท่านคาดว่าสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

    1) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ได้

    2) นำไปใช้ใช้ประโยชน์ไม่ได้

 

50

0

 

100

   0

11. ท่านคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นกี่บาทรายได้ต่อเดือน

   1,000 - 2,000บาท

   2,001 - 3,000บาท

   3,001 - 4,000บาท

   4,001 - 5,000บาท

   5,001 - 6,000บาท

 

3

15

8

20

4

 

3.1

15.6

8.3

20.8

4.2



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 14/08/2566 [15170]
0 0
3 [15169]

2. กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ

     คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบ ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนมตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เรื่อง การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบแก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม วิทยากรในการอบรมคือ อาจารย์ ดร.วิจิตรตา อรรถสาร อาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านประมง จากคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม การดำเนินกิจกรรมประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คู่มือการอบรมเรื่อง “การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก)” ประกอบคำบรรยาย ให้ความรู้ผ่านภาพ เสียง สื่อ power point และตัวอย่างจริง

2) การอบรม “การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก)” ประกอบ

     3.1) บรรยายเรื่อง การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก)

     3.2) ปฏิบัติการ การลดต้นทุนอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด (ลูกฮวก) ด้วยการผลิตอาหารมีชีวิต(การเพาะไรแดง) และการเสริมโปรไบโอติก

4) ประเมินผลการเรียนรู้ก่อนและหลังของผู้เข้ารับการอบรม

5) ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ 1วันต่อครั้ง จำนวน 1ครั้ง

6) กลุ่มเป้าหมายในการถ่ายทอดเทคโนโลยีคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม

7) วิทยากรในการฝึกอบรมจำนวน 1ท่าน คือ อาจารย์ ดร.วิจิตรตา อรรถสาร อาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านประมง

8) สถานที่การอบรมคือ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

9) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (4.75) คิดเป็นร้อยละ 95

10) ค่าใช้จ่ายในการกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี 



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 14/08/2566 [15169]
17500 17
3 [15168]

ผลการดำเนินงาน โครงการ“การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปลรูปจากลูกอ๊อด (ลูกฮวก) และกบด้วย วทน. เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจชุมชนสู่เชิงพานิชย์อย่างครบวงจร”

1. ประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 1

     คณะทำงานโครงการได้จัดประชุมชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 1 ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ตำบลธาตุพนมเหนือ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 1 แก่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม โดยมี นางภัทราวดี วงษ์วาศ หัวหน้าโครงการ เป็นผู้แนะนำโครงการ ผู้ร่วมโครงการ และชี้แจงและวางแผนโครงการปีที่ 1 โดยมีสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม มาร่วมรับฟัง

 



รายงานโดย นายธีรพล คำขึ้น วันที่รายงาน 14/08/2566 [15168]
8480 32