2566 บริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS) 0
ผล จานวนผู้รับบริการคาปรึกษา เป้าหมาย 50 คน จานวนผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี เป้าหมาย 170 คน ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ เป้าหมาย 80 เปอร์เซ็นต์
ผล จานวนผู้รับบริการคาปรึกษา ผลลัพธ์ 50 คน จานวนผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี ผลลัพธ์ 170 คน ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผลลัพธ์ 85 เปอร์เซ็นต์
ผล มูลค่าทางเศรษฐกิจ กลุ่มตัวอย่างดีเด่น 1.จังหวัดอุทัยธานี กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ 74/1 หมู่ 13 ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี กลุ่มตัวอย่างดีเด่นจังหวัดอุทัยธานี กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี จำนวนสมาชิก 6 คน ให้คำปรึกษาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสไลด์กล้วยและ การพัฒนาโลโก้ตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ก่อนได้รับการถ่ายทอด จากผลิตภัณฑ์รูปแบบเดิมขายได้ เดือนละ 2,000 4,000 บาท หรือ 48,000 บาทต่อปี หลังได้รับการถ่ายทอด เพิ่มรายได้ เป็น เดือนละ 10,000 -12,000 บาท หรือ 144,000 บาทต่อปี และรายได้จากการเป็นวิทยากร ตัวคูณ ชั่วโมงละ 600 บาท หรือครั้งละ 3,600 บาท จำนวนครั้งต่อปี 5 ครั้ง เท่ากับ 18,000 บาท รวม 144,000 + 18,000 = 162,000 บาท มูลค่าทางเศรษฐกิจของโครงการการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี ปี 2566 คิดความคุ้มค่ามูลค่าทางเศรษฐกิจจาก 1 กลุ่มตัวอย่าง ในระยะเวลา 1 ปี เพิ่มรายได้ 1 กลุ่มตัวอย่างรายได้รวม 162,000 - 48,000 = 114,000 บาท สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นคิดเป็น ปี/เดือน 114,000 ÷ 12 = 9,500 = 9,500 ÷ 6 = 1,583 เฉลี่ยแล้วสมาชิกมีรายได้เสริมคนละ 1,583 บาทต่อเดือน หมายเหตุกลุ่มจะทำกล้วยอบเนย สัปดาห์ ละ 1 ครั้ง 2.กลุ่มตัวอย่างดีเด่นจังหวัดนครสวรรค์ วิสาหกิจชุมชนหมูฝอยกรอบโกเนียร ต.หนองกระโดน อ.เมือง จ.นครสวรรค์ จำนวนสมาชิก 10 คนให้คำปรึกษาและถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องสลัดน้ำมันและการพัฒนาโลโก้ ตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ก่อนได้รับการถ่ายทอด จากผลิตภัณฑ์รูปแบบเดิมขายได้ เดือนละ 70,000 - 80,000 บาท หรือ 960,000 บาท ต่อปี หลังได้รับการถ่ายทอดเพิ่มรายได้ เป็น เดือนละ 160,000 -170,000 บาท หรือ 2,040,000 บาทต่อปี รวม 2,040,000 - 960,000 = 1,080,000 บาท รายได้เพิ่ม 1,080,000 บาท คิดมูลค่าทางเศรษฐกิจจาก กลุ่มตัวอย่าง ในระยะเวลา 1 ปี กลุ่มตัวอย่างรายได้รวม 1,080,000 บาท สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นคิดเป็น ปี/เดือน 1,080,000 ÷ 12 = 90,000 เดือน/คน = 90,000 ÷ 10 = 9,000 เฉลี่ยแล้วสมาชิกมีรายได้คนละ 9,000 บาทต่อเดือน ทางสังคม สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านต่างๆ สู่ชุมชน และสามารถอธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดการทำงานร่วมกันของชุมชน องค์กรต่างๆ ทำให้เกิดการพัฒนาอาชีพของเกษตรกร เกิดการจ้างงาน ลดการย้ายถิ่นฐาน เป็นทางเลือกในอาชีพเกษตรได้ดีอย่างหนึ่งของเกษตรกร และสร้างรายได้เสริมแก่ชุมชน รวมถึงการพัฒนาการตลาดสู่ตลาดระดับกลาง และบน ในอนาคตโครงการยังมีโอกาสให้เกษตรกร บูรณาการกับท้องถิ่นในการสร้างอาชีพ และความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนแก่เกษตรกร และชุมชน
รายงานความก้าวหน้า
ไตรมาส | ผลการดำเนินงาน | งบประมาณที่ใช้ | ผู้รับบริการ |
---|---|---|---|
4 [15500] |
รายงานผลการดำเนินงาน โครงการ การบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS) ปีงบประมาณ 2566 1.วันที่ 10 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมประชุมรับฟังการชี้แจงแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมในระดับภูมิภาคประจำปี 2567-2570 โดย สป.อว.กระทรวง อว.
2. วันที่ 11 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร่วมลงพื้นที่อบรมถ่ายทอดความรู้ การทำสารชีวภัณฑ์และหัวเชื้อจุลินทรีย์หน่อกล้วย เพื่อช่วยเกษตรกรลดต้นทุนในการทำเกษตรอินทรีย์ ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ ฟาร์มปูนา ต.ห้วยน้ำหอม อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
3.วันที่ 18 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดยอาจารย์สุริยา อดิเรก เข้าร่วมการประชุมระดมสมอง FOCUS GROUP การจัดทำแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน ววน.ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567-2570 (ภาคเหนือ) โดย สำนักงานปลัดกระทรวง กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
4.วันที่ 26 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดยอาจารย์สุริยา อดิเรก เข้าร่วมการประชุมระดมสมอง การจัดทำแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน ววน.ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567-2570 (Value chain ภาคเหนือ) ครั้งที่ 2 โดย สำนักงานปลัดกระทรวง กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
5.วันที่ 3/11/2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ นำโดย ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด,ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ,ผศ.เพ็ญนภา มณีอุด ลงพื้นที่กลุ่มผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ศูนย์เกษตรผสมผสานแบบครบวงจร ตำบลหนองบัว อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อการแปรรูปปลาและการทำปลาร้าถนอมอาหาร,วิสาหกิจชุมชนปลูกพืชสมุนไพรอื่นๆทุกชนิดอัจฉริยะส่งออกการนำเข้า ตำบลหนองบัว อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ การแปรรูปกระชายบดผง เพื่อคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ โครงการค่าใช้จ่ายแปรรูปสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม 1 จังหวัด 1 ชุมชน (One Province One Agro-Industrial Community : OPOAI-C) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 (สำนักงานอุตสาหกรรม)
6.วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ลงพื้นที่กลุ่มขนมจีน ต.โคกหม้อ อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี เพื่อแนะนำและปรับปรุงกระบวนการผลิตขนมจีน การเลือกใช้เครื่องจักรที่เหมาะสม ให้เป็นไปมาตรฐานผลิตภัณฑ์
7.วันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และ ผู้แทน อว.ส่วนหน้า มรภ.นครสวรรค์ เข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.)ในระดับภูมิภาค กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานของเคลือข่าย สำนักงานปลักกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ณ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร
8.วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.สมบูรณ์ นิยม ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เป็นตัวแทน ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ "การขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาจังหวัด" ระหว่างสำนักปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กับมหาวิทยาลัยในเคลือข่าย ณ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร
9.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ กิจกรรมเวทีพัฒนาท้องถิ่นยั่งยืนวันที่ 23,24,25 พฤศจิกายน 2565 ณ วิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
10.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplaceกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเวทีพัฒนาท้องถิ่นยั่งยืนวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ วันที่ 28,29,30 พฤศจิกายน 2565 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์
11.วันที่ 13 ธันวาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จัดอบรม โครงการ "กิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการยกระดับ OTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ปีงบประมาน พ.ศ. 2566" จังหวัดนครสวรรค์ และ จังหวัดอุทัยธานี โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยรัตน์ ปราณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดงาน และคณะวิทยากร จากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม นำโดย นายเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมและนายคณิต ถิรวณิชย์,นายอินทราวุธ ฉัตรเกษ ผู้ทรงคุณวุฒิ มีผู้เข้าร่วมอบรมประกอบไปด้วย ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน/OTOP ที่จดทะเบียนกับกรมการพัฒนาชุมชน ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดอุทัยธานี เพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ OTOP ณ ห้องประชุมอมราวดี มหาวิทยาลุยราชภัฏนครสวรรค์
12.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace) กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานีกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเวทีพัฒนาท้องถิ่นยั่งยืนกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานีวันที่ 7,8,9 ธันวาคม 2565 ณ กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
13.วันที่ 6 มกราคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับสำนักงานปฏิรูปที่ดินอุทัยธานีและนครสวรรค์ ลงพื้นที่ ตรวจการก่อสร้าง โรงอบ - ตาก พลังงานแสงอาทิตย์ แบบพาราโบลา ณ บ้านดขาวง หมู่ที่ 2 ตำบลป่าอ้อ อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี
14.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการแผนปฏิบัติการและแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สู่การพัฒนาภูมิภาค ประจำปี 2567– 2570 (ผ่านระบบออนไลน์) โดยกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2566
15.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ กิจกรรมที่ 1พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สร้างนวัตกรรมเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสำหรับกระบวนการผลิตวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ วันที่ 20,21 มกราคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
16.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace) กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ กิจกรรมที่ 1 พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สร้างนวัตกรรมเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสำหรับกระบวนการผลิต วิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ วันที่ 23,24 มกราคม 2566 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์
17.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี กิจกรรมที่ 1พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สร้างนวัตกรรมเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร สำหรับกระบวนการผลิต กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานีวันที่ 30,31มกราคม 2566 ณ กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
18.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์กิจกรรมกลางทาง กิจกรรมที่ 2พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวันที่ 16,17 มีนาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
19.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์กิจกรรมกลางทาง กิจกรรมที่ 2พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวันที่ 17,18 มีนาคม 2566 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์
20. คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี กิจกรรมกลางทาง กิจกรรมที่ 2พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวันที่ 22,23มีนาคม 2566 ณ กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
21. วันที่ 19 เมษายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี นำโดย ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาดและ ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบรูณ์ ลงพื้นที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทำเห็ด แปรรูปเห็ด ผักและผลไม้ ต.หนองบัว อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ เพื่อให้คำปรึกษากระบวนการผลิต และแปรรูป น้ำพริกปลาร้า น้ำพริกพริกเกลือ เพื่อให้ได้มาตรฐานการผลิต
22. วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 คลินิคเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชถัฏนครสวรรค์ร่วมกับสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครสวรรค์โดยคุณเอกชัย จรรยาวิจิตร นักวิชาการชำนาญการ ปฏิรูปที่ดินนครสวรรค์ และทีมงาน ให้คำปรึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่วงก์ป้าณีย์ ต.เขาชนกัน อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ในด้านการจัดการโรงเรือนการผลิตเพื่อให้ได้ตามมาตรฐานGMP รองรับการขอ อย. และได้ร่วมกันออกแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า พื้นที่ในการผลิต
23. วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 คลินิคเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ ผู้อำนวยการคลินิคเทคโนโลยี ได้ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและส่งเสริมการผลิต ให้กับกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี โดยคุณนงนุช วงศ์ทองแดง ผู้ใหญ่บ้านหมู่2 บ้านหนองบำหรุและสมาชิกเข้าร่วมประชุมรับฟังข้อความคิดเห็นด้วยซึ่งทางคลีนิคได้นำนวัตกรรมเครื่องสไลต์กล้วยซึ่งเป็นผลงานที่ได้ร่วมพัฒนาของนักศึกษาสาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรรมโดยท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ได้ร่วมนำเสนอ จากที่ทางกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุได้โทรมาประสานขอให้ช่วยเหลือด้านกระบวนการผลิตและจัดเก็บกล้วยอบเนย ซึ่งกระบวนการผลิตยังล่าช้าและขนาดไม่สม่ำเสมอและการจัดเก็บยังไม่ได้มาตรฐาน
24.วันที่ 19 พฤษภาคม 2566ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ ให้เข้าร่วมโครงการ โคกหนองนาโมเดล ร่วมกับ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครสวรรค์(สปก) นำโดยคุณเอกชัย จรรยาวิจิตร ตำแหน่งนักวิชาการชำนาญการ ได้ให้ความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ เพื่อให้ได้ผลผลิต และได้มาตรฐาน ตามที่กำหนดและใช้พื้นที่ให้เหมาะสม ด้วย ในพื้นที่ อำเภอแม่เปิน ร่วมกับเครือข่ายโคก หนอง นา สุขสันต์ นครสวรรค์โมเดล ระดับจังหวัด ได้กำหนดจัดกิจกรรม เอามื้อสามัคคี เครือข่ายโคกหนองนาสุขสันต์นครสวรรค์โมเดล "หิ้วปิ่นโตไปเอามื้อ หิ้วจอบเสียมที่บ้านสวนทองดี " ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ แปลงโคกหนองนาบ้านสวนทองดี นางประมวลหอมแพงไว้ หมู่ที่ 8 บ้านพนาสวรรค์อำเภอแม่เปินจังหวัดนครสวรรค์โดยนายมานิตย์ ไหวไว นายอำเภอแม่เปินจังหวัดนครสวรรค์ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีจัดโดย พัฒนาการอำเภอแม่เปิน ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการ นำโดยนายวิเชด ฉิมสุข ประธานเครือข่ายโคกหนองนาสุขสันต์นครสวรรค์และทีมงานโคกหนองนาในอำเภอต่างๆใจจังหวัดนครสวรรค์ ประโยชน์จากการประชุมคือ ช่วยให้เราประหยัดได้มากขึ้นสามารถปลูกพืชต่างๆไว้ในพื้นที่และสามารถใช้สอยได้ครอบคลุมทุกปัจจัยลดความตึงเครียดด้านเศรษฐกิจลดความกังวลเรื่องรายรับ และที่สำคัญไม่ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมหรือความแห้งแล้งในพื้นที่
25.วันที่ 9 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด และผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด เข้าร่วม การนำเสนอผลการดำเนินการ พัฒนาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ โดยมีแนวคิด ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 45 ของพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีความได้เปรียบ ในสภาพภูมิประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพแต่การผลิตในภาคเกษตรยังขึ้นอยู่กับฤดูกาลและผลผลิตมีคุณภาพต่ำ ล้นตลาด ทำให้ มีราคาตกต่ำ ส่งผลให้เกษตรกร มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคนต่อปีค่อนข้างต่ำส่วนหนึ่งเนื่องมาจากเกษตรกรขาดความรู้ในด้านการรักษาคุณภาพหรือแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้เป็นสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร ที่มีมูลค่าสูง ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ด้วยเหตุผล ดังกล่าว จึงได้จัดทำ การพัฒนาการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรฐานรากซึ่งเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศผ่านการสร้างความตระหนักสร้างองค์ความรู้เรื่องการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตผลทางการเกษตรการสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบการสร้างผู้ประกอบการขนาดย่อมรายใหม่ ให้กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อให้เกษตรกรฐานรากให้มีความภาคภูมิใจและมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนสืบไป ณ ห้องประชุม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์
26.วันที่ 20 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด และผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด และนักศึกษาสาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรมร่วมลงพื้นที่ ศูนย์วงเดือน อาคมสรุทัณฑ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพแห่งหนึ่งในจังหวัดอุทัยธานี“ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์” ศูนย์แห่งนี้ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดตั้งศูนย์ฝึกทักษะและพัฒนางานอาชีพ เพื่อให้ประชาชนที่สนใจแสวงหาความรู้ในอาชีพเสริมต่างๆ เข้าไปเรียนรู้และฝึกอบรม โดยพระราชทานชื่อศูนย์แห่งนี้ว่าศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ #หลังจากได้รับการประสานงานคลินิกเทคโนโลยีฯลงพื้นเพื่อตรวจเช็คระบบการจัดการน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้งาน
27.วันที่ 23 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิปปวิชญกร สิทธิอัครานนท์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด,ผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ , ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด และนักศึกษาสาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม ร่วมลงพื้นที่ ศูนย์วงเดือน อาคมสรุทัณฑ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพในจังหวัดอุทัยธานี เพื่อลงพื้นจัดการระบบการจัดการน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้งานในการเพาะปลูกพืชผักสมุนไพร ภายในศูนย์การเรียนรู้ และได้ถ่ายทอดองค์ความรู้และสาธิตการใช้ดินพร้อมปลูกซึ้งเป็นผลิตภัณฑ์ที่คลิกเทคโนโลยีมีและได้พัฒนาสูตรดินพร้อมปลูกและถ่ายทอดเพื่อให้บุคลากรและนักศึกษานอกระบบของ ศูนย์วงเดือน อาคมสรุทัณฑ์ ได้นำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
28.วันที่ 29 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและส่งเสริมการผลิต ให้กับกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี โดยคุณนงนุช วงศ์ทองแดง ผู้ใหญ่บ้านหมู่2 บ้านหนองบำหรุและสมาชิกเข้าร่วมประชุมรับฟังข้อความคิดเห็นด้วยซึ่งทางคลินิกได้ให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนยในรูปแบบใหม่ จากที่ทางกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุได้โทรมาประสานขอคำปรึกษาด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนย
29. วันที่6 กรกฎาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด,ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด ร่วมกับ คุณเอกชัย จรรยาวิจิตร นักวิชาการชำนาญการ สำนักงานปฏิรูปที่ดิน จังหวัดนครสวรรค์ ลงพื้นที่พัฒนาผลิตภัณฑ์กะลากดจุดจากภูมิปัญญาและวัตถุดิบท้องถิ่น สู่เศรษฐกิจผู้สูงวัย (silver economy) โดยการให้คำปรึกษา แนวทางการลดขยะให้เหลือศูนย์(Zero Waste) เพื่อเป็นการหยุดปัญหาตั้งแต่ต้นทาง แทนการกำจัดปัญหาขยะที่ปลายทาง โดยการ นำวัสดุที่เหลือ มาแปรรูป เป็นถ่านคุณภาพสูง ใช้ในการ ดูดกลิ่นอับชื้น ทั้งยังนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารได้อีกด้วย พื้นที่ดำเนินการกลุ่มภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพบ้านปัญญากะลาบำบัด อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
30. วันที่7 กรกฎาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พานักศึกษาลงพื้นที่ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครสวรรค์ เลขที่ 54 หมู่2 ตำบลกลางแดด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อให้คำปรึกษากระบวนการเก็บรักษาข้าวเบื้องต้น การพัฒนาระบบรางขนส่งเมล็ดพันธ์ข้าว
31.วันที่26 กรกฎาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมการสัมมนาปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาเกษตรกรสู่ผู้ประกอบการผักในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยคลินิกเทคโนโลยีได้ถ่ายทอดองค์ความรู้การทำดินปลูกผสมไบโอชาร์ใช้ในการปรับปรุงดินที่ได้จากกระบวนการย่อยสลายเชิงความร้อนของชีวมวลหรือสารอินทรีย์ซึ่งเป็นสารประกอบของสิ่งมีชีวิตที่ย่อยสลาย ระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมศุภาลัย ป่าสัก รีสอร์ท แอนด์ สปา ตำบลท่าคล้อ อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
32.วันที่ 5 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนครัวริมทางสินค้าเกษตรแปรรูป, 652/1 หมู่ 3 ต.ธารทหาร อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ กลุ่มผู้ผลิตมีความต้องการแปรรูปกล้วย โดยทางคลินิกได้รับการติดต่อจากผู้ประกอบการ และประสานงานลงพื้นที่เพื่อให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนยกรอบ
33.วันที่ 5 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ แสมดำ บ้านเพชรน้ำผึ้ง ต.คลองห้วยหวาย อ.ลานสัก จ.นครสวรรค์ เพื่อให้คำปรึกษาการทำปุ๋ยอินทรีย์จากมูลไก่ และเพื่อพัฒนากระบวนการเลี้ยงไก่
34.วันที่ 14 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เครือข่าย อว. เพื่อพัฒนาศักยภาพจังหวัด ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2566ภายในงาน TechnoMart 2023ตั้งแต่วันที่ 14 - 15สิงหาคม 2566ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงาน/โครงการ “การเพิ่มศักยภาพจังหวัดด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปพัฒนาพื้นที่” ของเครือข่ายประชุมดังกล่าวและร่วมพิธีมอบโล่และประกาศเกียรติคุณ ให้แก่ คลินิกเทคโนโลยี และโครงการที่มีผลการดำเนินงานระดับดีเด่น ประจำปี 2566พิธีมอบประกาศเกียรติคุณหน่วยงานขับเคลื่อน “การพัฒนาศักยภาพจังหวัด ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม” (ณ ห้อง Amber)พิธีมอบประกาศเกียรติคุณ โดย นางสาวสุณีย์ เลิศเพียรธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม คลินิกเทคโนโลยีเครือข่ายที่มีผลการประเมินระดับดีเด่น ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS)ได้รับประกาศเกียรติคุณมีผลการประเมินระดับดีเด่น โดยได้รับเกียรติจากท่าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยรัตน์ ปราณี อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ รับประกาศเกียรติคุณ คลินิกเทคโนโลยีดีเด่น โดยคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้นำเสนอผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2566 นำโดย ผู้อำนวยการคลินิกเทคโนโลยี ผศ.ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด ผศ.นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์
35.วันที่ 17 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ที่ 5 ต.หนองนมวัว อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ โดยกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จักสานตะข้องน้อยพรมงคลและตีมีดเพื่อการเกษตร เพื่อเก็บองค์ความปราชญ์ชาวบ้าน และให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ทันสมัย
36.วันที่ 17 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นครสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ต.บ้านแก่ง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ โดยกลุ่มได้โทรขอคำปรึกษาการทำเม็ดดินปลูกพืชจากผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาที่แตกเสียหายและจากเศษวัสดุในท้องที่ และคลินิกเทคโนโลยีให้คำปรึกษาเบื้องต้นในการทำดินปลูก
37.วันที่ 29 - 30 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมรับการประเมินติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี โดยสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กำหนดให้มีการลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี แพลตฟอร์มเพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน แพลตฟอร์มบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ และแพลตฟอร์มเพิ่มศักยภาพเครือข่าย โดย 1. นายอุทัย เจริญวงศ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) 2. นายธีรวัฒน์ บุญสม (คณะกรรมการฯ) 3 .น.ส.มัชฌิมา พงศ์พิพัฒนพันธุ์ (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ) 4. นางสาวเกศรัตน์ วิศวไพศาล (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ) 5. นายปรเมษฐ์ สีเขียวแก่ (นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (พนักงานราชการ)
ลิ้งรายงาน https://drive.google.com/file/d/1FP7qlbS-r6I950TamJhsZM-4krsUcz-e/view?usp=sharing รายงานโดย นาย กฤษณะ อินทสิทธิ์ วันที่รายงาน 14/09/2566 [15500] |
0 | 0 |
4 [15499] |
รายงานผลการดำเนินงานโครงการ การบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS) 2566 ไตรมาส 4 จำนวน 10 ครั้ง 1.วันที่ 29 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและส่งเสริมการผลิต ให้กับกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี โดยคุณนงนุช วงศ์ทองแดง ผู้ใหญ่บ้านหมู่2 บ้านหนองบำหรุและสมาชิกเข้าร่วมประชุมรับฟังข้อความคิดเห็นด้วยซึ่งทางคลินิกได้ให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนยในรูปแบบใหม่ จากที่ทางกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุได้โทรมาประสานขอคำปรึกษาด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนย
2. วันที่6 กรกฎาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด,ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด ร่วมกับ คุณเอกชัย จรรยาวิจิตร นักวิชาการชำนาญการ สำนักงานปฏิรูปที่ดิน จังหวัดนครสวรรค์ ลงพื้นที่พัฒนาผลิตภัณฑ์กะลากดจุดจากภูมิปัญญาและวัตถุดิบท้องถิ่น สู่เศรษฐกิจผู้สูงวัย (silver economy) โดยการให้คำปรึกษา แนวทางการลดขยะให้เหลือศูนย์(Zero Waste) เพื่อเป็นการหยุดปัญหาตั้งแต่ต้นทาง แทนการกำจัดปัญหาขยะที่ปลายทาง โดยการ นำวัสดุที่เหลือ มาแปรรูป เป็นถ่านคุณภาพสูง ใช้ในการ ดูดกลิ่นอับชื้น ทั้งยังนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารได้อีกด้วย พื้นที่ดำเนินการกลุ่มภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพบ้านปัญญากะลาบำบัด อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
3. วันที่7 กรกฎาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พานักศึกษาลงพื้นที่ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครสวรรค์ เลขที่ 54 หมู่2 ตำบลกลางแดด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อให้คำปรึกษากระบวนการเก็บรักษาข้าวเบื้องต้น การพัฒนาระบบรางขนส่งเมล็ดพันธ์ข้าว
4.วันที่26 กรกฎาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมการสัมมนาปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาเกษตรกรสู่ผู้ประกอบการผักในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยคลินิกเทคโนโลยีได้ถ่ายทอดองค์ความรู้การทำดินปลูกผสมไบโอชาร์ใช้ในการปรับปรุงดินที่ได้จากกระบวนการย่อยสลายเชิงความร้อนของชีวมวลหรือสารอินทรีย์ซึ่งเป็นสารประกอบของสิ่งมีชีวิตที่ย่อยสลาย ระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมศุภาลัย ป่าสัก รีสอร์ท แอนด์ สปา ตำบลท่าคล้อ อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
5.วันที่ 5 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนครัวริมทางสินค้าเกษตรแปรรูป, 652/1 หมู่ 3 ต.ธารทหาร อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ กลุ่มผู้ผลิตมีความต้องการแปรรูปกล้วย โดยทางคลินิกได้รับการติดต่อจากผู้ประกอบการ และประสานงานลงพื้นที่เพื่อให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนยกรอบ
6.วันที่ 5 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ แสมดำ บ้านเพชรน้ำผึ้ง ต.คลองห้วยหวาย อ.ลานสัก จ.นครสวรรค์ เพื่อให้คำปรึกษาการทำปุ๋ยอินทรีย์จากมูลไก่ และเพื่อพัฒนากระบวนการเลี้ยงไก่
7.วันที่ 14 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เครือข่าย อว. เพื่อพัฒนาศักยภาพจังหวัด ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2566ภายในงาน TechnoMart 2023ตั้งแต่วันที่ 14 - 15สิงหาคม 2566ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงาน/โครงการ “การเพิ่มศักยภาพจังหวัดด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปพัฒนาพื้นที่” ของเครือข่ายประชุมดังกล่าวและร่วมพิธีมอบโล่และประกาศเกียรติคุณ ให้แก่ คลินิกเทคโนโลยี และโครงการที่มีผลการดำเนินงานระดับดีเด่น ประจำปี 2566พิธีมอบประกาศเกียรติคุณหน่วยงานขับเคลื่อน “การพัฒนาศักยภาพจังหวัด ด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม” (ณ ห้อง Amber)พิธีมอบประกาศเกียรติคุณ โดย นางสาวสุณีย์ เลิศเพียรธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม คลินิกเทคโนโลยีเครือข่ายที่มีผลการประเมินระดับดีเด่น ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS)ได้รับประกาศเกียรติคุณมีผลการประเมินระดับดีเด่น โดยได้รับเกียรติจากท่าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยรัตน์ ปราณี อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ รับประกาศเกียรติคุณ คลินิกเทคโนโลยีดีเด่น โดยคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้นำเสนอผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2566 นำโดย ผู้อำนวยการคลินิกเทคโนโลยี ผศ.ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด ผศ.นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์
8.วันที่ 17 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ที่ 5 ต.หนองนมวัว อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ โดยกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จักสานตะข้องน้อยพรมงคลและตีมีดเพื่อการเกษตร เพื่อเก็บองค์ความปราชญ์ชาวบ้าน และให้คำปรึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ทันสมัย
9.วันที่ 17 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ลงพื้นที่ กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นครสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ต.บ้านแก่ง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ โดยกลุ่มได้โทรขอคำปรึกษาการทำเม็ดดินปลูกพืชจากผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาที่แตกเสียหายและจากเศษวัสดุในท้องที่ และคลินิกเทคโนโลยีให้คำปรึกษาเบื้องต้นในการทำดินปลูก
10.วันที่ 29 - 30 สิงหาคม 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมรับการประเมินติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี โดยสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กำหนดให้มีการลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้แพลตฟอร์มบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี แพลตฟอร์มเพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน แพลตฟอร์มบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ และแพลตฟอร์มเพิ่มศักยภาพเครือข่าย โดย 1. นายอุทัย เจริญวงศ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) 2. นายธีรวัฒน์ บุญสม (คณะกรรมการฯ) 3 .น.ส.มัชฌิมา พงศ์พิพัฒนพันธุ์ (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ) 4. นางสาวเกศรัตน์ วิศวไพศาล (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ) 5. นายปรเมษฐ์ สีเขียวแก่ (นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (พนักงานราชการ)
ลิ้งรายงาน ไตรมาส 4 https://drive.google.com/file/d/1PKghK7Vc-7--y7D7wqlWOkfcWN0UqX-A/view?usp=sharing รายงานโดย นาย กฤษณะ อินทสิทธิ์ วันที่รายงาน 14/09/2566 [15499] |
31600 | 50 |
3 [14869] |
รายงานผลการดำเนินงาน โครงการ การบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS) 2566 ไตรมาส 3 1.วันที่ 23 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิปปวิชญกร สิทธิอัครานนท์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด,ผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ , ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด และนักศึกษาสาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม ร่วมลงพื้นที่ ศูนย์วงเดือน อาคมสรุทัณฑ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพในจังหวัดอุทัยธานี เพื่อลงพื้นจัดการระบบการจัดการน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้งานในการเพาะปลูกพืชผักสมุนไพร ภายในศูนย์การเรียนรู้ และได้ถ่ายทอดองค์ความรู้และสาธิตการใช้ดินพร้อมปลูกซึ้งเป็นผลิตภัณฑ์ที่คลิกเทคโนโลยีมีและได้พัฒนาสูตรดินพร้อมปลูกและถ่ายทอดเพื่อให้บุคลากรและนักศึกษานอกระบบของ ศูนย์วงเดือน อาคมสรุทัณฑ์ ได้นำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
2.วันที่ 20 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด และผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด และนักศึกษาสาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรมร่วมลงพื้นที่ ศูนย์วงเดือน อาคมสรุทัณฑ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพแห่งหนึ่งในจังหวัดอุทัยธานี“ศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์” ศูนย์แห่งนี้ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดตั้งศูนย์ฝึกทักษะและพัฒนางานอาชีพ เพื่อให้ประชาชนที่สนใจแสวงหาความรู้ในอาชีพเสริมต่างๆ เข้าไปเรียนรู้และฝึกอบรม โดยพระราชทานชื่อศูนย์แห่งนี้ว่าศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ #หลังจากได้รับการประสานงานคลินิกเทคโนโลยีฯลงพื้นเพื่อตรวจเช็คระบบการจัดการน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้งาน
3.วันที่ 9 มิถุนายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพ็ญนภา มณีอุด และผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุสรณ์ สินสะอาด เข้าร่วม การนำเสนอผลการดำเนินการ พัฒนาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ โดยมีแนวคิด ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 45 ของพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีความได้เปรียบ ในสภาพภูมิประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพแต่การผลิตในภาคเกษตรยังขึ้นอยู่กับฤดูกาลและผลผลิตมีคุณภาพต่ำ ล้นตลาด ทำให้ มีราคาตกต่ำ ส่งผลให้เกษตรกร มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคนต่อปีค่อนข้างต่ำส่วนหนึ่งเนื่องมาจากเกษตรกรขาดความรู้ในด้านการรักษาคุณภาพหรือแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้เป็นสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร ที่มีมูลค่าสูง ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ด้วยเหตุผล ดังกล่าว จึงได้จัดทำ การพัฒนาการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรฐานรากซึ่งเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศผ่านการสร้างความตระหนักสร้างองค์ความรู้เรื่องการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตผลทางการเกษตรการสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบการสร้างผู้ประกอบการขนาดย่อมรายใหม่ ให้กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อให้เกษตรกรฐานรากให้มีความภาคภูมิใจและมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนสืบไป ณ ห้องประชุม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์
4.วันที่ 19 พฤษภาคม 2566ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ ให้เข้าร่วมโครงการ โคกหนองนาโมเดล ร่วมกับ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครสวรรค์(สปก) นำโดยคุณเอกชัย จรรยาวิจิตร ตำแหน่งนักวิชาการชำนาญการ ได้ให้ความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ เพื่อให้ได้ผลผลิต และได้มาตรฐาน ตามที่กำหนดและใช้พื้นที่ให้เหมาะสม ด้วย ในพื้นที่ อำเภอแม่เปิน ร่วมกับเครือข่ายโคก หนอง นา สุขสันต์ นครสวรรค์โมเดล ระดับจังหวัด ได้กำหนดจัดกิจกรรม เอามื้อสามัคคี เครือข่ายโคกหนองนาสุขสันต์นครสวรรค์โมเดล "หิ้วปิ่นโตไปเอามื้อ หิ้วจอบเสียมที่บ้านสวนทองดี " ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ แปลงโคกหนองนาบ้านสวนทองดี นางประมวลหอมแพงไว้ หมู่ที่ 8 บ้านพนาสวรรค์อำเภอแม่เปินจังหวัดนครสวรรค์โดยนายมานิตย์ ไหวไว นายอำเภอแม่เปินจังหวัดนครสวรรค์ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีจัดโดย พัฒนาการอำเภอแม่เปิน ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการ นำโดยนายวิเชด ฉิมสุข ประธานเครือข่ายโคกหนองนาสุขสันต์นครสวรรค์และทีมงานโคกหนองนาในอำเภอต่างๆใจจังหวัดนครสวรรค์ ประโยชน์จากการประชุมคือ ช่วยให้เราประหยัดได้มากขึ้นสามารถปลูกพืชต่างๆไว้ในพื้นที่และสามารถใช้สอยได้ครอบคลุมทุกปัจจัยลดความตึงเครียดด้านเศรษฐกิจลดความกังวลเรื่องรายรับ และที่สำคัญไม่ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมหรือความแห้งแล้งในพื้นที่
5. วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 คลินิคเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดย ท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ ผู้อำนวยการคลินิคเทคโนโลยี ได้ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาและส่งเสริมการผลิต ให้กับกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี โดยคุณนงนุช วงศ์ทองแดง ผู้ใหญ่บ้านหมู่2 บ้านหนองบำหรุและสมาชิกเข้าร่วมประชุมรับฟังข้อความคิดเห็นด้วยซึ่งทางคลีนิคได้นำนวัตกรรมเครื่องสไลต์กล้วยซึ่งเป็นผลงานที่ได้ร่วมพัฒนาของนักศึกษาสาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรรมโดยท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์นัฐพันธ์ พูนวิวัฒน์ได้ร่วมนำเสนอ จากที่ทางกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุได้โทรมาประสานขอให้ช่วยเหลือด้านกระบวนการผลิตและจัดเก็บกล้วยอบเนย ซึ่งกระบวนการผลิตยังล่าช้าและขนาดไม่สม่ำเสมอและการจัดเก็บยังไม่ได้มาตรฐาน
6. วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 คลินิคเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชถัฏนครสวรรค์ร่วมกับสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครสวรรค์โดยคุณเอกชัย จรรยาวิจิตร นักวิชาการชำนาญการ ปฏิรูปที่ดินนครสวรรค์ และทีมงาน ให้คำปรึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่วงก์ป้าณีย์ ต.เขาชนกัน อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ในด้านการจัดการโรงเรือนการผลิตเพื่อให้ได้ตามมาตรฐานGMP รองรับการขอ อย. และได้ร่วมกันออกแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า พื้นที่ในการผลิต
7. วันที่ 19 เมษายน 2566 คลินิกเทคโนโลยี นำโดย ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาดและ ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบรูณ์ ลงพื้นที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทำเห็ด แปรรูปเห็ด ผักและผลไม้ ต.หนองบัว อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ เพื่อให้คำปรึกษากระบวนการผลิต และแปรรูป น้ำพริกปลาร้า น้ำพริกพริกเกลือ เพื่อให้ได้มาตรฐานการผลิต
ลิ้งรายงานความก้าวหน้าไตรมาส 3 https://drive.google.com/file/d/1FO8iI06g0LunLcDAwco01mMKcCfXsyY-/view?usp=drive_link รายงานโดย นาย กฤษณะ อินทสิทธิ์ วันที่รายงาน 11/07/2566 [14869] |
98400 | 50 |
2 [13957] |
รายงานผลการดำเนินงาน โครงการ การบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (TCS) 2566 ไตรมาส 1 และ 2 คัดลอกลิงค์กดลิ้งดูรายงานผลการดำเนินงาน https://drive.google.com/file/d/1xnRWNadeK4YHtN_h9he9BoJ0pxW7biuN/view?usp=share_link 20. คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี กิจกรรมกลางทาง กิจกรรมที่ 2พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวันที่ 22,23มีนาคม 2566 ณ กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
19.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์กิจกรรมกลางทาง กิจกรรมที่ 2พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวันที่ 17,18 มีนาคม 2566 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์
18.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์กิจกรรมกลางทาง กิจกรรมที่ 2พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานวันที่ 16,17 มีนาคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
17.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี กิจกรรมที่ 1พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สร้างนวัตกรรมเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร สำหรับกระบวนการผลิต กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานีวันที่ 30,31มกราคม 2566 ณ กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
16.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace) กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ กิจกรรมที่ 1 พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สร้างนวัตกรรมเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสำหรับกระบวนการผลิต วิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ วันที่ 23,24 มกราคม 2566 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์
15.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ กิจกรรมที่ 1พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สร้างนวัตกรรมเครื่องแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสำหรับกระบวนการผลิตวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ วันที่ 20,21 มกราคม 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
14.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการแผนปฏิบัติการและแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สู่การพัฒนาภูมิภาค ประจำปี 2567– 2570 (ผ่านระบบออนไลน์) โดยกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2566
13.วันที่ 6 มกราคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับสำนักงานปฏิรูปที่ดินอุทัยธานีและนครสวรรค์ ลงพื้นที่ ตรวจการก่อสร้าง โรงอบ - ตาก พลังงานแสงอาทิตย์ แบบพาราโบลา ณ บ้านดขาวง หมู่ที่ 2 ตำบลป่าอ้อ อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี
12.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace) กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานีกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเวทีพัฒนาท้องถิ่นยั่งยืนกลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานีวันที่ 7,8,9 ธันวาคม 2565 ณ กลุ่มแม่บ้านหนองบำหรุ ต.ไผ่เขียว อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
11.วันที่ 13 ธันวาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จัดอบรม โครงการ "กิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการยกระดับ OTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ปีงบประมาน พ.ศ. 2566" จังหวัดนครสวรรค์ และ จังหวัดอุทัยธานี โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยรัตน์ ปราณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดงาน และคณะวิทยากร จากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม นำโดย นายเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมและนายคณิต ถิรวณิชย์,นายอินทราวุธ ฉัตรเกษ ผู้ทรงคุณวุฒิ มีผู้เข้าร่วมอบรมประกอบไปด้วย ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน/OTOP ที่จดทะเบียนกับกรมการพัฒนาชุมชน ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดอุทัยธานี เพื่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ OTOP ณ ห้องประชุมอมราวดี มหาวิทยาลุยราชภัฏนครสวรรค์
10.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplaceกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเวทีพัฒนาท้องถิ่นยั่งยืนวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์ วันที่ 28,29,30 พฤศจิกายน 2565 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าแพรพนา ต.แม่เปิน อ.แม่เปิน จ.นครสวรรค์
9.คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เข้าร่วมการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมอบรมโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (University as a Marketplace)การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ กิจกรรมเวทีพัฒนาท้องถิ่นยั่งยืนวันที่ 23,24,25 พฤศจิกายน 2565 ณ วิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ฟาร์มเกษตรยุคใหม่ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
8.วันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.สมบูรณ์ นิยม ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เป็นตัวแทน ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ "การขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาจังหวัด" ระหว่างสำนักปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กับมหาวิทยาลัยในเคลือข่าย ณ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร
7.วันที่ 20-21 พฤศจิกายน 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และ ผู้แทน อว.ส่วนหน้า มรภ.นครสวรรค์ เข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.)ในระดับภูมิภาค กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานของเคลือข่าย สำนักงานปลักกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ณ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร
6.วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ลงพื้นที่กลุ่มขนมจีน ต.โคกหม้อ อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี เพื่อแนะนำและปรับปรุงกระบวนการผลิตขนมจีน การเลือกใช้เครื่องจักรที่เหมาะสม ให้เป็นไปมาตรฐานผลิตภัณฑ์
5.วันที่ 3/11/2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ นำโดย ผศ.อนุสรณ์ สินสะอาด,ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ ,ผศ.เพ็ญนภา มณีอุด ลงพื้นที่กลุ่มผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชน ศูนย์เกษตรผสมผสานแบบครบวงจร ตำบลหนองบัว อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อการแปรรูปปลาและการทำปลาร้าถนอมอาหาร,วิสาหกิจชุมชนปลูกพืชสมุนไพรอื่นๆทุกชนิดอัจฉริยะส่งออกการนำเข้า ตำบลหนองบัว อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ การแปรรูปกระชายบดผง เพื่อคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ โครงการค่าใช้จ่ายแปรรูปสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม 1 จังหวัด 1 ชุมชน (One Province One Agro-Industrial Community : OPOAI-C) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 (สำนักงานอุตสาหกรรม)
4.วันที่ 26 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดยอาจารย์สุริยา อดิเรก เข้าร่วมการประชุมระดมสมอง การจัดทำแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน ววน.ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567-2570 (Value chain ภาคเหนือ) ครั้งที่ 2 โดย สำนักงานปลัดกระทรวง กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
3.วันที่ 18 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้ามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นำโดยอาจารย์สุริยา อดิเรก เข้าร่วมการประชุมระดมสมอง FOCUS GROUP การจัดทำแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้าน ววน.ในระดับภูมิภาค ประจำปี 2567-2570 (ภาคเหนือ) โดย สำนักงานปลัดกระทรวง กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
2. วันที่ 11 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร่วมลงพื้นที่อบรมถ่ายทอดความรู้ การทำสารชีวภัณฑ์และหัวเชื้อจุลินทรีย์หน่อกล้วย เพื่อช่วยเกษตรกรลดต้นทุนในการทำเกษตรอินทรีย์ ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอรรคิราห์ ฟาร์มปูนา ต.ห้วยน้ำหอม อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์
1.วันที่ 10 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ร่วมกับ อว.ส่วนหน้า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เข้าร่วมประชุมรับฟังการชี้แจงแผนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมในระดับภูมิภาคประจำปี 2567-2570 โดย สป.อว.กระทรวง อว.
กดลิ้งดูรายงานผลการดำเนินงาน https://drive.google.com/file/d/1xnRWNadeK4YHtN_h9he9BoJ0pxW7biuN/view?usp=share_link รายงานโดย นาย กฤษณะ อินทสิทธิ์ วันที่รายงาน 30/03/2566 [13957] |
120000 | 120 |