2566 การบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี   0


รายงานความก้าวหน้า

ไตรมาส ผลการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ ผู้รับบริการ
3 [14990]

Q3 บริการข้อมูลเทคโนโลยี ณ กลุ่มชุมชนน้ำตกกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ร่วมกับหน่วยงานภายนอก 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14990]
5000 35
3 [14982]

Q1 กิจกรรมบริการให้คำปรึกษา เพื่อพัฒนางานเดิม



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14982]
500 1
3 [14983]

Q1 กิจกรรมบริการให้คำปรึกษา เพื่อพัฒนางานเดิม



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14983]
1500 1
3 [14984]

Q2 กิจกรรมบริการให้คำปรึกษา และบริการข้อมูลเทคโนโลยี ร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์บริการ



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14984]
20000 45
3 [14986]

Q2 กิจกรรมบริการให้คำปรึกษา เพื่อพัฒนางานเดิม



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14986]
5000 20
3 [14987]

Q2 กิจกรรมบริการให้คำปรึกษา เพื่อพัฒนางานเดิม ณ ชุมชนตำบลห้วยยูง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

จำนวนผู้รับบริการให้คำปรึกษา 7 คน

จำนวนผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี 15 คน



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14987]
5000 22
3 [14989]

ตัดยอดค่าใช้จ่ายเจ้าหน้าที่ คลินิกเทคโนโลยี 3 เดือน มกราคม - มีนาคม 2566



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14989]
45000 0
3 [15005]

Q4 - ดร.สมศักดิ์ ลิ่มวงศกร รองผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี นำคณาจารย์และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ลงพื้นที่ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ บ้านลิพอนบางกอก อำเภอเมืองถลาง จังหวัดภูเก็ต ร่วมบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี การจัดทำ Power Box แหล่งพลังงานสำรอง



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [15005]
0 20
3 [14991]

Q3 บริการให้คำปรึกษา แก่ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้ภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต และบริการข้อมูลเทคโนโลยีแก่กลุ่ม 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14991]
2000 2
3 [14992]

Q3 บริการข้อมูลเทคโนโลยี ร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อการจัดการขยะที่เกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14992]
5000 60
3 [14993]

ตัดยอดค่าใช้จ่ายเจ้าหน้าที่ คลินิกเทคโนโลยี 3 เดือน เมษายน - มิถุนายน 2566



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14993]
45000 0
3 [15003]

จัดซื้อ วัสดุสำนักงาน 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [15003]
1500 0
3 [14988]

Q3 กิจกรรมให้คำปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยี ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนพืชผักเกษตรในเมือง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 

งบประมาณหลักจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14988]
5000 38
3 [15004]
Q4 - ดร.สมศักดิ์ ลิ่มวงศกร รองผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต - - นำนักศึกษา ม.ราชภัฏภูเก็ต ช่วยเหลือผู้ประกอบการชุมชนกะไหล จ.พังงา ออกแบบเครื่องจักร “แกงไตปลาแห้งอัดก้อน”
.
นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (Industrial Technology of PKRU) ประกอบด้วย ธนวัฒน์ เพชรฉวาง (น้องก๊อต) และวราวุฒิ ชุดนอก (น้องบอล) ออกแบบและพัฒนา “เครื่องอัดและบรรจุแกงไตปลาแห้งแบบก้อนกึ่งอัตโนมัติ” โดยมีทีมที่ปรึกษา ได้แก่ ดร.สมศักดิ์ ลิ่มวงศกร อ.กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ และ ผศ.หาญพล มิตรวงศ์ พร้อมส่งมอบเครื่องจักรให้ชุมชนนำไปใช้ผลิตสินค้า “แกงไตปลาแห้งแบบก้อน”
โดยที่มาของผลงานดังกล่าว PKRU ได้รับพิจารณาคัดเลือกรับทุนสนับสนุนงบประมาณดำเนินงานพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร ภายใต้โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรแปรรูปบ้านกะไหล ต.กะไหล อ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา โดยได้รับทุนวิจัยจากกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กปว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และ สถาบันไทย-เยอรมัน
สำหรับเครื่องอัดและบรรจุแกงไตปลาแห้งแบบก้อนกึ่งอัตโนมัติ มหาวิทยาลัยได้โจทย์วิจัยจากวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกร “ร้านเจ้แดง บ้านกะไหล” ร้านจำหน่ายสินค้าแกงไตปลา OTOP ที่มีเทคนิคการแปรรูปแกงไตปลาแบบแห้งเก็บไว้ได้นานถึง 3 เดือน โดยไม่ใส่สารกันบูด ต้องการขยายไลน์สินค้าเป็นแกงไตปลาอัดก้อนเพื่อต่อยอดธุรกิจโดยเฉพาะการจำหน่ายทางออนไลน์ จึงได้ติดต่อขอรับบริการจากสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ให้พัฒนาเครื่องจักรดังกล่าวให้กับชุมชนให้ชุมชนสามารถใช้งานง่าย บำรุงรักษาไม่ยาก ใช้แรงงานน้อย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งแบบก้อนพร้อมทาน มีขนาดที่เหมาะสำหรับผู้บริโภค 1-2 คนต่อก้อน ในราคาต้นทุนต่ำ เข้าถึงสินค้าได้ง่ายและสามารถส่งขายต่างประเทศได้
ทั้งนี้ในกระบวนการพัฒนาเครื่องจักร นักศึกษามีส่วนร่วมในการออกแบบมาตรฐานหลักการผลิต GMP และถูกต้องตามหลักการออกแบบวิศวกรรม (Reverse Engineering) ถือเป็นการเพิ่มประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง โดยทางสาขาวิชา “เทคโนอุต” ได้บูรณาการงานวิจัยกับการบริการวิชาการ และการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ อาทิเช่น วัสดุอุตสาหกรรม ปฏิบัติการเทคโนโลยีพื้นฐาน เทคโนโลยีระบบไฟฟ้าอุตสาหกรรม ออกแบบและเขียนแบบอุตสาหกรรม และโครงงานอุตสาหกรรม ร่วมกับการพัฒนาทักษะวิศวกรสังคมให้แก่นักศึกษา
ธนวัฒน์ เพชรฉวาง กล่าวว่า ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องอัดและบรรจุแกงไตปลาแห้งแบบก้อนกึ่งอัตโนมัติ โดยการนำกระบวนการวิศวกรสังคมมาใช้ในการลงพื้นที่ช่วยเหลือผู้ประกอบการในชุมชน ทั้งด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ เชิงเหตุ-ผล เห็นปัญหาเป็นสิ่งท้าทาย ทักษะในการสื่อสารองค์ความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และทักษะการสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาสังคม
ด้าน วราวุฒิ ชุดนอก กล่าวว่า สาขาวิชาฯ ได้เปิดโอกาสให้ลงไปในพื้นที่สถานประกอบการร้านเจ้แดง บ้านกะไหล จ.พังงา ตัวแทนวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรบ้านกะไหล เพื่อศึกษากระบวนการผลิตและวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยประยุกต์ใช้วิชาการบริหารการผลิตสำหรับธุรกิจอุตสาหกรรมและบริการ ทำให้ทราบข้อจำกัดของสถานประกอบการและปัญหาในการผลิต จึงกลับมาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเสนอแนะเป็นแนวทาง โดยมีส่วนร่วมในการประชุมของคณาจารย์ในการพัฒนาเครื่องจักรเครื่องอัดและบรรจุแกงไตปลาแห้งแบบก้อนกึ่งอัตโนมัติ
สถานประกอบการหรือชุมชนในเขตพื้นที่อันดามันที่สนใจขอรับบริการงานวิจัยและพัฒนา สามารถติดต่อ สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โทร 09 4149 2487
รายงานโดย : ฝ่ายสื่อสารองค์กร สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [15004]
0 5
3 [14994]

Q4 บริการให้ข้อมูลเทคโนโลยี แก่ผู้ต้องขัง ณ เรือนจำชั่วเคราว บ้านบางโจ อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พร้อมร่วมกับวิทยากรชุมชน พัฒนาโรงเรือนเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14994]
10000 30
3 [15002]

Q4 - บริการให้ข้อมูลเทคโนโลยี แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อู่ข้าวอู่น้ำนาหัวนอน  เพื่อจัดทำแป้งข้าวไร่ดอกข่า ตำบลทับปุด จังหวัดพังงา 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [15002]
8000 6
3 [15001]

Q4 - บริการให้ข้อมูลเทคโนโลยี การทำน้ำมันนวดไพล แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโตนดินใน ตำบลถ้ำ อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [15001]
6000 7
3 [15000]

Q4 - บริการให้ข้อมูลเทคโนโลยี แก่กลุ่มชุมชนหมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งคาโงก จังหวัดพังงา ประเด็นการจัดการขยะ ร่วมกับคณาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [15000]
8000 17
3 [14999]

Q4 - บริการให้ข้อมูลเทคโนโลยี แก่กลุ่มชุมชน เกาะปอ อำเภอเกาะลันตา  จังหวัดกระบี่ 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14999]
7000 30
3 [14998]

Q4 - ได้รับประมาณจาก เงินสดทันใจ เพื่อนำมาวิจัย พัฒนา เครื่องผสมดินปุ๋ยแก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านลิพอนบางกอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต จำนวน 130,000 บาท 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14998]
0 32
3 [14996]

Q4 - บริการให้คำปรึกษาแก่กลุ่มผู้บริหารตลาดลองแล ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14996]
3000 15
3 [14995]

Q4 - ได้รับงบประมาณจากภายนอก เพื่อดำเนินงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ SPA & Wellness 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 10/08/2566 [14995]
0 0
3 [14969]

Q1 - วันพุธที่ 21 กันยายน 2565

ผศ.ดร.ดวงรัตน์ โกยกิจเจริญ รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและวิจัย ผศ.ดร.อทิพันธ์ เสียมไหม ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ผศ.ภูริณัฐ ปลัดสงคราม รองผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นและบริการวิชาการ พร้อมด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เข้าร่วมรายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และกำหนดพื้นที่การดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ทั้งนี้ คลินิกเทคโนโลยี ได้ร่วมให้ข้อมูล ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและการเตรียมงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 

ผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี จำนวน 15 คน (ข้อมูลที่คลินิก ดำเนินงานงานที่ผ่านมา) 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14969]
0 20
3 [14978]

ตัดยอดค่าใช้จ่ายเจ้าหน้าที่ คลินิกเทคโนโลยี 3 เดือน กันยายน - ธันวาคม 2565



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14978]
45000 0
3 [14977]

Q1 - พฤศจิกายน 2565 การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก ณ ที่ประชุมกรมการจังหวัด ประเด็นด้านการขับเคลื่อน Gastronomy - แนวทางการพัฒนาต้นน้ำ "ผลโอ๊ะเอ๋ว" 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14977]
500 50
3 [14976]

Q1 - การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้บริการข้อมูลเทคโนโลยี 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14976]
5000 20
3 [14975]

Q1 - 8 ตุลาคม และ 3 พฤศจิกายน 2565 คลินิกเทคโนโลยี จัดกิจกรรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีอาหารหมักและวัฒนธรรมการกินของภูเก็ต โดยใช้งบประมาณหลักจากหมาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต และ ธกส.จังหวัดภูเก็ต

 

งบประมาณ 5,000 บาท จำนวนผู้รับบริการให้คำปรึกษา 3 คน จำนวนผู้เข้าร่วมรับบริการข้อมูลเทคโนโลยี 24 คน



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14975]
5000 24
3 [14973]

Q1 - 7 ตุลาคม 2565 นายชูโชติ โกยกุล นายกเทศมนตรีเมืองพังงา หารือร่วมกับอาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และอาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อต่อยอดโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ตำบลท้ายช้าง ที่ได้จัดขึ้นร่วมกับคณาจารย์ สาขาเทศโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองพังงา

งบประมาณ 5,000 บาท จำนวนผู้รับบริการให้คำปรึกษา 3 คน จำนวนผู้เข้าร่วมรับบริการข้อมูลเทคโนโลยี 18 คน



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14973]
5000 21
3 [14972]

Q1 - 6 ตุลาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยี โดยอาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และอาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับคณาจารย์คณะเทคโนโลยีการเกษตร ผศ.ดร.อทิพันธ์ เสียมไหม วิชาเอกเทคโนโลยีการประกอบการธุรกิจอาหาร อาจารย์สุทธิณี พรพันธุ์ไพบูลย์ อาจารย์ กนกวรรณ แก้วอุไทย วิชาเอกการจัดการทรัพยากรเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว อาจารย์เบญจพร แก้วอุไทย วิชาเอกเทคโนโลยีภูมิทัศน์และพืชสวน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อาจารย์ ดร.วาสนา ศรีนวลใย สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ลงงพื้นที่ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านลิพอนใต้ เพื่อบริการให้คำปรึกษาและข้อมูล ภายใต้ประเด็น "การยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยห่วงโซ่คุณค่า สังคมเกษตรอินทรีย์สู่การพึ่งพาตนเองและความเข้มแข็งของชุมชน" ร่วมกับชุมชนบ้านลิพอนใต้ บ้านลิพอนบางกอก บ้านม่าหนิก ตำบลศรีสุนทร และ ชุมชนบางเทา-เชิงทะเล ตำบล เชิงทะเล อ.ถลาง จ.ภูเก็ต มีเป้าหมายเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนต้นแบบความมั่นคงทางอาหารและ การยกระดับรายได้ครัวเรือนโดยการเชื่อมโยงศักยภาพพื้นที่เพื่อรองรับและลดผลกระทบ จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 "

บริการให้คำปรึกษา - การผลิตพืช ในแนวทางเกษตรอินทรีย์ ผู้รับบริการ คือ 1) ผู้นำชุมชน บ้านลิพอนใต้ หมู่ 5 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง 2) ผู้นำชุมชน บ้านม่าหนิก หมู่ 7 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง 3) ผู้นำชุมชน บ้านบางเทา อำเภอถลาง 4) ผู้นำชุมชน บ้านลิพอนบางกอก อำเภอถลาง

บริการข้อมูลเทคโนโลยี 1) กลุ่มชุมชน บ้านลิพอนใต้ หมู่ 5 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง 2) กลุ่มชุมชน บ้านม่าหนิก หมู่ 7 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง 3) กลุ่มชุมชน บ้านบางเทา อำเภอถลาง 4) กลุ่มชุมชน บ้านลิพอนบางกอก อำเภอถลาง

งบประมาณ 8,000 บาท จำนวนผู้รับบริการให้คำปรึกษา 4 คน จำนวนผู้เข้าร่วมรับบริการข้อมูลเทคโนโลยี 32 คน 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14972]
8000 32
3 [14970]

Q1 - วันที่ 30 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุม นายกเทศมนตรีตำบลรัษฎา นายนครินทร์ ยอแสงรัตน์ ให้การต้อนรับคณะอาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาจารย์ภูริทรัพย์ เดชพิพัฒน์ประชา ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เพื่อหารือแนวทางต่อยอดโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานฐานรากหลังสถานการณ์โควิด ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2Tตำบลรัษฎา) จากการจัดกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า-ภูฐาน ฝึกอบรมอาชีพการเพาะเห็ด ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ตร่วมกับเทศบาลตำบลรัษฎาดำเนินการโดยสาขาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ตำบลรัษฎาด้วยการนำทักษะความรู้และนวัตกรรมมาใช้ให้สามารถพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนและสร้างอาชีพสู่ชุมชนได้

 

งบประมาณ 1,000 บาท จำนวนผู้รับบริการให้คำปรึกษา - คน จำนวนผู้เข้าร่วมรับบริการข้อมูลเทคโนโลยี 8 คน



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14970]
1000 12
3 [14979]

Q1 - กิจกรรมส่วนหนึ่งของการให้บริการข้อมูลเทคโนโลยี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ร่วมกับภาคส่วนราชการและเอกชน จังหวัดภูเก็ต

 



รายงานโดย นายกิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ วันที่รายงาน 09/08/2566 [14979]
500 30