ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรชัย อาจหาญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรโดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารักษ์ ธีรอำพน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
3 ผศ.ปภัศร์ชกรณ์ อารีย์กุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง อิเลคทรอนิกส์และการสื่อสาร วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง Interdisciplinary Intelligent Systems Engineering การจัดการพลังงานชุมชน
4 ดร.ภูกิจ คุณเจริญหิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เทคโนโลยีการผลิตก๊าชชีวภาพจากมูลสัตว์เพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนฯ
5 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
6 นายสุเมธา แซะเด็ง วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา - ยาแนวจากเปลือกหอยแครง - ครีมขัดสนิมจากมันฝรั่ง
7 นายณรงค์ศักดิ์ เถื่อนใย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบบำบัดน้ำเสีย
8 ผศ.ดร.กาญจนา อัจฉริยจิต มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ถ่านอัดแท่ง พลังงานทดแทน การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี การผลิตผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน
9 ผศ.วิเชษฐ ยิ้มละมัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาเครื่องมือและเครื่องจักรทางการเกษตรและอื่นๆ ห้องอบผลิตภัณฑ์ Temperature Control ห้องอบผลิตภัณฑ์ใช้วัสดุฉนวนความร้อนและเมทัลชีสแบบเรียบขนาด 2 เมตร x 2 เมตร x 2 เมตร และใช้การระบายความร้อนด้วยลูกหมุนระบายความร้อน ควบคุมอุณหภูมิผ่าน Temperature Control วัดอุณหภูมิด้วย เทอร์โมคัปเปิล 2 จุด แหล่งกำเนิดความร้อนอยู่ภายนอก
10 ดร.เอกบุตร อยู่สุข มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี กระบวนทัศน์การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรทฤษฎีใหม่ในด้านเครื่องยนต์การเกษตร การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเครื่องยนต์การเกษตร
11 นายนัฐพงษ์ ทองปาน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี งานด้านเทคโนโลยีงานเชื่อม งานซ่อมบำรุงเครื่องยนต์ งานเครื่องมือวัดละเอียด
12 นางสาวพาตีเมาะ อาแยกาจิ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาประเภท ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ 2.ร่างคำขออนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ(รายละเอียดผลงาน ข้อถือสิทธิ์) 3.ประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา 4.การออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อขอรับการคุ้มครอง
13 นางสาวนัสรี มะแน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1. ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาประเภท ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ 2.ร่างคำขออนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ(รายละเอียดผลงาน ข้อถือสิทธิ์) 3.ประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา 4.การออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อขอรับการคุ้มครอง
14 นายอับดุลเลาะ บากา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) การออกแบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การตลาดออนไลน์ (Digital online) การทำเกษตรสมัยใหม่ (Smart.Farm)
15 นายอับบ๊าส พาลีเขตต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา -การจัดการข้ามวัฒนธรรม - การตลาดระหว่างประเทศ - การเป็นผู้ประกอบการ - การตลาดออนไลน์ - การออกแบบโมเดลธุรกิจ - การพัฒนานวัตกรรม
16 ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบและวิเคราะห์เครื่องจักรกลโดยใช้โปรแกรมด้านCADและCAE,การวิเคราะห์เครื่องจักรกลโดยใช้ระเบียบทางด้านไฟไนท์อิลิเมนท์,Simulation,CFD,การจัดการและบริหารขยะ,หุ่นยนต์อัตฉริยะ,ระบบอบแห้ง,ระบบรักษาผลิตผลการเกษตร,The application of Mechatronics & Manufacturing Systems,พลังงานทดแทน
17 นายสัญชัย รำเพยพัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา เตาเผาถ่านอุตสาหกรรม สามารถเผาถ่านไม้ด้วยปริมาณมากๆในครั้งเดียวด้วยเวลาอันสั้น ละได้ถ่านที่มีคุณภาพสูงด้วยการเผาภายใต้อุณหภูมิสูง และระบบน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
18 อาจารย์ ดร.สรวิศ สอนสารี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิจัยและพัฒนา, วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ, วิศวกรรมเครื่องกล, พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ (Solar Thermal) , การเปลี่ยนรูปพลังงาน (Energy Conversion), System Analysis and Design, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
19 อาจารย์ ดร.ชัชวินทร์ นวลศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Biomass energy, Biohydrogen/anaerobic digestion
20 อาจารย์พัชราภรณ์ อินริราย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Heat transfer, Solar Energy, Renewable Energy, Properties of Agricultural and food product, Drying technology, Waste agriculture to valuable product
21 นายศรันย์ คัมภีร์ภัทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ระบบสื่อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย ด้านออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและ Data Warehouse ด้านปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ด้าน IOT
22 นายภาณุศักดิ์ มูลศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ออกแบบระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
23 นายอภิเดช บุญเจือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา 1. เครื่องทำน้ำร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ 2. ระบบระบายอากาศ
24 อาจารย์ ดร. ชัยสิทธิ์ วันน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ การศึกษาระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทน และวิเคราะห์ผล กระทบต่อระบบไฟฟ้ารวมถึงเทคนิค การเพิ่มความเสถียรภาพให้ระบบไฟฟ้ากำลัง
25 อาจารย์นฤมล วันน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ เทคนิคใหม่สำหรับการกำหนดพื้นที่เชื่อมต่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสม เพื่อลดผลกระทบภาวะเหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบไฟฟ้า
26 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. Horticulture Crop Production 2. Environmental Comtrol Engineering 3. Modelling and Simulation of Plant Response 4. Plant Factory and Plant Propagation 5. Bioremediation
27 ผศ.ดร.ปกรณ์เกียรติ์ เศวตเมธิกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบไฟฟ้ากำลัง พลังงานแสงอาทิตย์ มอเตอร์และระบบขับเคลื่อน อิเล็กทรอนิกส์กำลัง
28 ดร.กิตติวัณณ์ นิ่มเกิดผล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer Vision), การประมวลผลภาพ (Image Processing)
29 อาจารย์อุดมศักดิ์ จันทรทาโพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Embedded Programing, Mobile Programing
30 นางสาววรรณยา เฉลยปราชญ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดทำฐานข้อมูล สื่อออนไลน์ นักวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์
31 นายเดชรัชต ใจถวิล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดทำเทคโนโลยีสารสนเทศ
32 ดร.วีณา จันทร์รัชชกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาแอปพลิเคชัน
33 ดร.นงลักษณ์ พรมทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การทำเหมืองข้อมูล และ Big data
34 นายปริญญา จันทร์แสงรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบเซ็นเซอร์และ IoT
35 นายคงเทพ บุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบเซ็นเซอร์และ IoT, ระบบส่งสัญญาณแบบไร้สาย
36 นายวรพันธ์ สาระสุรีย์ภรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบเซ็นเซอร์และ IoT, ระบบส่งสัญญาณแบบไร้สาย
37 ผศ.ดร.นงราม เหมือนฤทธิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
38 นายปราโมทย์ เสตสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี CO2 and Environment simulation model, Expert system, AI, Database, Dynamic optimization
39 ผศ.ดร.นริส ประทินทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ อนุรักษ์พลังงาน
40 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพรัตน์ ภัยวิมุติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ IT , การพัฒนาระบบทางคอมพิวเตอร์ สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ความเชี่ยวชาญที่ขึ้นทะเบียน อนุกรรมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมประมวลผลคำ สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมนำเสนอผลงาน สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมตารางทำการ
41 นายสุระศักดิ์ ศรีปาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล การศึกษาความเหมาะสมเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากกะลามะพร้าวและเปลือกมะพร้าว การศึกษาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับพลังงานความร้อนทิ้งเหลือใช้ เครื่องบดเปลือกหอยแครง.
42 นายสุวัฒน์ กิจเจริญวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โครงการวิจัยออกแบบและสร้างต้นแบบอุปกรณ์จ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ำกว่า 90 กิโลโวลต์แอมแปร์
43 นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การศึกษาความเหมาะสมเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากกะลามะพร้าวและเปลือกมะพร้าว การศึกษาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับพลังงานความร้อนทิ้งเหลือใช้ ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้ระบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนร่วมพลังงานแสงอาทิตย์ สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล
44 ผศ.ดร. สายชล ชุดเจือจีน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พลังงานทดแทน เรโซแนนซ์อินเวอร์เตอร์ ระบบส่งจ่ายไร้สาย การสื่อสารไร้สายและระบบเหนี่ยวนำความร้อน • สายชล ชุดเจือจีน วิเชียร หทัยรัตน์ศิริ และ อนวัช แสงสว่าง “อินเวอร์เตอร์แบบครึ่งบริดจ์ความถี่สูงสำหรับเหนี่ยวนำความร้อนท่อสแตนเลส”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 8 22-23 เมษายน 2553 • วิเชียร หทัยรัตน์ศิริและสายชล ชุดเจือจีน, 2552, “เตาหุงต้มเหนี่ยวนำความร้อนโดยใช้อินเวอร์เตอร์ชนิดแหล่งจ่ายกระแสแบบคลาสดี”, การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลวิชาการครั้งที่ 2
45 สุนันทา เลาวัณย์ศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก๊าซชีวภาพจากขยะมูลสัตว์และของเสียชุมชน
46 ปรีชา ศรีประภาคาร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก๊าซชีวภาพ
47 วุฒิศาสตร์ โชคเกื้อ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก๊าซชีวภาพและ การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ
48 นายวรกฤช ดอนคำเพ็ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการทำแก็สชีวภาพจากมูลสัตว์ ทั้งเกษตรกรรายย่อยและระดับอุตสาหกรรม
49 ดร.วิทยา พรหมพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเครื่องจักรกลเกษตร พลังงานทดแทนโซล่าเซลล์
50 ผศ.บุญเจิด กาญจนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทน การจัดการโรงสีข้าว เครื่องจักรกลเกษตร ระบบชลประทานและการให้น้ำ
51 นายบุญญฤทธิ์ วังงอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญ ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม
52 ผศ.ดร.ปุริม จารุจำรัส กรมวิทยาศาสตร์บริการ คณิตศาสตร์และคิมพิวเตอร์
53 ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ กรมวิทยาศาสตร์บริการ คณะศาสตร์และคอมพิวเตอร์
54 นายทนงศักดิ์ น้อยคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิศกรรมไฟฟ้า การเดินสายไฟในอาคาร พลังงานแสงอาทิตย์
55 นายโซเฟียน ศรีตุลาการ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ ระบบอิเล็กทรอนิคส์ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสาระสนเทศ
56 ดร.ศราวุธ มากชิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ระบบฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาวิชวล ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
57 ผศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ นพรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม, การใช้วัสดุเศษเหลือ, พลังงานชีวภาพ
58 ดร.รุ่งอรุณ พรเจริญ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีการผลิตสื่อเสมือนจริง โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เช่น การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว เป็นต้น
59 นายวิชัย นระมาตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ -เทคโนโลยีการสื่อสาร -เทคโนโลยีไฟฟ้า -เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร์ -เทคโนโลยีพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ -เทคโนโลยีระบบการให้น้ำ
60 นายนรินทร์ บำเพ็ญ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การสร้างเว็บไซต์ในโปรแกรม Word Press
61 นายเอกชัย วอสูงเนิน วิทยาลัยสารพัดช่างเพชรบูรณ์ คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
62 ผศ.สุรสิทธิ์ ประกอบกิจ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ระบบไฟฟ้าสำหรับการติดตั้งเครื่องจักร ระบบไฟฟ้าสำหรับกระบวนการทำงานของเครื่องจักร ระบบแมคคานิคสำหรับงานไฟฟ้า ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้เครื่องจักรต้นแบบ
63 อาจารย์นวัฒกร โพธิสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและมัลติมีเดีย
64 อาจารย์ปรัชญา บำรุงกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Image Processing, Smart Farm
65 อ.กฤตชัย บุญศิวนนท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
66 อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
67 อาจารย์คมกริชณ์ ศรีพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี การวัดและเครื่องมือวัด, เครื่องมือแพทย์ อุปกรณ์การแพทย์และงานวิศวกรรมฟื้นฟู เครื่องจักรกลเกษตร และระบบควบคุมอัตโนมัติ
68 อาจารย์ ดร. ยศภัทรชัย คณิตปัญญาเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ สาขาเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
69 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สิปปวิชญ์กร สิทธิอัครานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
70 นายสดายุทธ ภูคลัง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก โซล่าเซล
71 นายสมรถษ์ อินจันทร์ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก โซล่าเซล
72 นายอรรถพร อินปินตา วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การออกแบบกราฟฟิก การซ่อมคอมพิวเตอร์
73 นายณัฐพงษ์ ไทยพาณิชย์ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก การออกแบบกราฟฟิก การเขียนเว๊บไซต์
74 นายสดายุทธ ภูคลัง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก วิศวกรรมไฟฟ้า
75 ผศ.ดร.วัชระ วงค์ปัญโญ มหาวิทยาลัยพะเยา เชียวชาญพลังงานทดแทน การสร้างโรงเรือน
76 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปฐมพงค์ จิโน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ เทคโนโลยีเตาเผาถ่านไบโอชาร์
77 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิโรขน์ ปงลังกา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์
78 นายสุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) , การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน , การออกแบบนวตกรรม , สื่อสร้างสรรค์
79 ผศ.ดร.นครินทร์ พัฒนบุญมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ อนุรักษ์พลังงาน
80 ผศ.ดร. วีระ โลหะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ออกแบบเครื่องจักรและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร การสกัดสารสำคัญจากสบู่ดำ Foam Fractionation, Design and development Chemical andFood และ Pilot Plant Scale-Up
81 นายสุริยงค์ ประชาเขียว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย พลังงานทดแทน
82 อาจารย์นิสิต องอาจ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ระบบไฟฟ้า ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม
83 ดร.อนุสรณ์ ยอดใจเพ็ชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ระบบคอมพิวเตอร์
84 นายกำพล จินตอมรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
85 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรวัตร ลือสัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เครื่องจักร อุตสาการ
86 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรพจน์ ศิริรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เครื่องจักร อุตสาการ
87 ดร.ทองมี ละครพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สื่อการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ ระบบฐานข้อมูล ทักษะทางปัญญา, ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
88 อาจารย์ทองล้วน สิงห์นันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Wireless Sensor network, Stem education, Computer Network, Internet of things, AI for Agriculture
89 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิติพงษ์ สมไชยวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน
90 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิฑูรย์ พรมมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
91 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิทธิชัย จีนะวงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมสื่อสาร โทรคมนาคม วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน
92 นายพิเชษฐ กันทะวัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ระบบไมโครคอนโทรเลอร์และการอินเตอร์เฟส 2. ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง 3. ระบบสมองกลฝังตัวและอินเตอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง 4. วิศวกรรมชีวการแพทย์
93 นายธนวัฒน์ พันธ์ตุ้ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมสื่อสาร โทรคมนาคม
94 นายนิวัติ นวลกัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม พลังงานทดแทน
95 นายขจร อนุดิตย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบ
96 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนท์ นำอิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. ระบบส่งกำลังไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Inductive Wireless Power Transfer) 2. ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Wireless EV Charging System) 3. เครื่องจำลองแสงอาทิตย์ชนิดไดโอดเปล่งแสงสำหรับทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ (LED Solar Simulator for PV Testing) 4. การออกแบบระบบการสอนวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Instructional System Design)
97 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกชัย ชัยดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
98 นายเพลิน จันทร์สุยะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
99 นายณัฐพล อุ่นยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมระบบ
100 นางกมลลักษณ์ ชัยดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ระบบคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ
101 นายสุนัน บุญมานัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี การพัฒนาควบคุมระบบสมาร์ทฟาร์ม
102 นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
103 ดร. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ Information Retrieval Artificial Intelligence (AI) Management Information Web Application Database
104 นาย เอกมินทร์ ยีเด็ง วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
105 นาย สุลกิฟลี แวกะจิ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
106 ผศ.ดร.จิตรา เกตุแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การปรับปรุงคุณภาพอัญมณี งานอัญมณีและเครื่องประดับ การเคลือบฟิล์มบาง แก้วและวัสดุทางแสง
107 ดร.ไพศาล สนธิกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี data communication, wireless networks
108 ผศ. ดร.วีรพล จีรจริต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การประมวลผลภาพ การประมวลผลสัญญาณ และการรูปจํารูปแบบ
109 นางสาวสุธีรา สุนทรารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การกำจัดขยะแต่ละประเภทให้เหมาะสม (การแปรรูป รีไซเคิล) ออกแบบและแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา
110 นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
111 อาจารย์ ดร.นิรมล จันทรชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง กระบวนการผลิตไบโอดีเซล, กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ, กระบวนการผลิตไบโอเอทานอล
112 รศ.ดร.จตุพร แก้วอ่อน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง วิศวกรรมเครื่องกล เน้นศาสตร์ทางด้านการถ่ายเทความร้อน อุณหพลศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหล
113 รศ.ดร.จอมภพ แววศักดิ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง พลังงานทดแทน, เทคโนโลยีพลังงาน
114 ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สาขาเทคโนโลยีการเกษตร (การประยุกต์ใช้เศษเหลือทิ้งจากการผลิตพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
115 ดร.นเรศ ฉิมเรศ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง - ระบบทางด้านของไหลและความร้อน เทอร์โมไดนามิกส์ กลศาสตร์ของไหล และการถ่ายเทความร้อน
116 นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานเชื่อท งานโลหะไฟฟ้า
117 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชระ จินตโกวิท มหาวิทยาลัยมหิดล Horticultural Crop Production, Environmental Control Engineering, Modelling and Simulation of Plant Response, Plant Factory and Plant Propagation, Bioremediation
118 นายพงษ์ศักดิ์ นาใจคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา 1.การแปรรูปกล้วยฉาบ กล้วยเบรกแตก, การทำขนมข้าวเกรียบ 2.การออกแบบและสร้างเครื่องจักรแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร (เครื่องฝานกล้วย, เครื่องอัดแผ่นขนมข้างโป่ง, เครื่องซอยก้อนขนมข้าวเกรียบ เครื่องซอยสมุนไพร ฯลฯ) 3.การสร้างบ่อแก๊สชีวภาพ สำหรับครัวเรือน หรือเกษตรกรรายย่อย
119 รศ.ดร.อาทิตย์ อัศวสุขี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา เชื้อเพลิงชีวภาพ แก๊สชีวภาพ การเร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนสารชีวมวล กระบวนการแยก
120 นางวราภรณ์ บุตตะคาม วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การสร้างเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์
121 นายวิวรรธนชัย ฉันทะนิตย์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี การออกแบบแผ่นพับ การตัดต่อรูปภาพ
122 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
123 ดร.วรจิตต์ เศรษฐพรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) วุฒิการศึกษาปริญญาโท - M.S.E. (Chemical Engineering) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก - Ph.D. (Chemical Engineering) ความเชี่ยวชาญ - พลังงานทดแทน - ระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ - การพัฒนาชุมชนสีเขียว ชุมชนอัจฉริยะ - พลังงานชุมชน - นวัตกรรมชุมชน
124 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
125 นายอดุลย์สมาน สุขแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พลังงานทดแทน และเทคโนโลยีพลังงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ และการศึกษา เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร เกษตร และพลังงาน การมีส่วนร่วมการพัฒนาชุมชนและสังคม
126 อาจารย์ภานุวัฒน์ ขันจา มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศเพื่อทวนสอบคุณภาพสินค้า
127 ดร.พิพัฒน์ จันทร์ประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เทคโนโลยีชีวภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การจัดการและการใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การคิดและการออกแบบนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีชุดต้นแบบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนรู้ตามแนวทางในการจัดการและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัสดุเศษเหลือทางการเกษตร เพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนวัตวิถีวิทย์ ด้วยกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อการพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืนในสถานการณ์โควิดตามแนวทาง “ชีวิตวิถีใหม่” (new normal) ได้เป็นอย่างดี
128 อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
129 ดร.ภูริพัส แสนพงษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การออกแบบเครื่องจักรกล , การจำลองการวิเคราะห์ด้วย Finite Element , วัสดุคอมโพสิต , โพลีเมอร์คอมโพสิต
130 ดร.จิรัตน์ เขียวชอุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายพลังงาน กฎหมายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
131 ดร.ปัทมากร เนตยวิจิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เทคโนโลยีสารสนเทศ
132 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพร เรืองอ่อน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน การเขียนโปรแกรมภาษา การพัฒนาคุณภาพการให้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
133 อรุณศักดิ์ ไชยอุบล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เครื่องกรองน้ำ แก๊สชีวภาพ เครื่องอัดถ่าน ปุ๋ย
134 อาจารย์มานพ ดอนหมื่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น การพัฒนาเครื่องจักรด้านการเกษตร การพัฒนาเครื่องจักรด้านแปรรูปอาหาร การบริหารการเพาะปลูก การวางแผนการขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก
135 อ.พิภพ นราแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ การสร้างระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ตู้อบลมร้อน และโรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
136 ผศ.วีระ พันอินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง "1. ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2. ถ่านอัดแท่งจากเชื้อเพลิงชีวมวลสำหรับสร้างรายได้ลดรายจ่ายครัวเรือน 3. ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับประหยัดพลังงาน 4. ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับลดภาระค่าใช้จ่ายเกษตรกร"
137 นายเฉลิมฤทธิ์ เครืออินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนจัดทำเทคนิคภายในหมู่บ้าน Smart Village
138 นายธนพงศ์พันธ์ หมื่นโท่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวางแผนจัดทำโรงเรือน หมู่บ้าน Smart Village
139 ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ มหาวิทยาลัยนครพนม ถ่านชีวภาพผลิตจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร -การผลิตถ่านชีวภาพ -การประยุกต์ใช้ถ่าน -การใช้พลังงานความร้อนจากการผลิตถ่านชีวภาพ
140 ผศ.เกษตร แก้วภัคดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโลโลยีด้านการถ่ายภาพ
141 อ.พิบูลย์ หม่องเชย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การผลิตไฟฟ้าพลังงานน้ำขนาดจิ๋วด้วยเครื่องกำเนิดแม่เหล็กถาวร
142 อาจารย์นนทนันท์ พลพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การประยุกต์ใช้งานระบบไฟฟ้าเพื่อการเกษตร การอบแห้งด้วยลมร้อน
143 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกบดินทร์ กลิ่นเกษร มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การประยุกต์ใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์
144 อาจารย์ ดร.สรรเพชญ นิลผาย มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การพัฒนาเพื่อการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน /ฺBIO sensor
145 อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การผสมผสานจิตรกรรมเทคโนโลยีโลกเสมือน AR ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริง (Real) เข้ากับโลกเสมือน (Virtual) โดยผ่านอุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์รวมกับการใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ทำให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ
146 ดร.สิริกานต์ สุวรรณผู มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย นิเทศศาสตร์
147 นายสุชาติ ศรีมาลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ การออกแบบ กราฟฟิค
148 ดร. กฤช ตราชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
149 อาจารย์พิทักษ์ คล้ายชม มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ระบบควบคุมอัตโนมัติระบบสมองกลฝังตัวเทคโนโลยีหุ่นยนต์อากาศยานไร้คนขับ
150 นางสาวนัสรีนะ เจ๊ะมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา • ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางฟิสิกส์ให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน • ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน
151 นายณรงค์ศักดิ์ วิเศษไชย วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น การวิจัยออกแบบและสร้างชุดชาร์ตแบตเตอรี่โทรศัพท์
152 อาจารย์พิสุทธิ์ ศรีจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - การพัฒนาระบบฐานข้อมูล - การเรียนและการสอนออนไลน์ - อินเทอร์เน็ตและสารสนเทศออนไลน์
153 นางสาวศศิธร แสงวาโท วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
154 นายณรงค์ศักดิ์ วิเศษไชย วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เตาไฟฟ้าประหยัดพลังงาน
155 นายมนูญ รักษาภักดี วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น การประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของช่าง
156 นายไพศาล โยมญาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการเกษตร
157 รองศาสตราจารย์ ดร.ปานจิต มุสิก มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช -ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Smart farming) - คอมพิวเตอร์อินเตอร์เฟส
158 นางสาวจินดาพร สืบขำเพชร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ เทคโนโลยี พลังงานทดแทน แปรรูปผลิตภัณฑ์ สบู่ โลชั่น
159 นายอุกฤษฎ์ นาจำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส
160 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จารินี ม้าแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เทคโนโลยีพลังงาน วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
161 ดร.สุรชัย ณรัฐ จันทร์ศร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ อาจารย์ประจำหลักสูตรพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล - ด้านเทคโนโลยีการอบแห้ง - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านคาร์บอนฟุตพริ้นต์ผลิตภัณฑ์ - ด้านการจัดการขยะชุมชน
162 ดร.เสริมศักดิ์ อาษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีพลังงานสิ่งแวดล้อม - ด้านเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
163 ดร.พราวพรรณ อาสาสรรพกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ.(วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) และ วศ.ม.(วิศวกรรมและการบริหารการก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - Civil Engineering - Environmental Engineering - Construction Management
164 ดร.ทัตพร คุณประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - ความหลากหลายทางชีวภาพ ชลธีวิทยา (Limnology) หรือ นิเวศวิทยาแหล่งน้ำจืด (Freshwater Ecology)ระบบนิเวศแหล่งน้ำนิ่ง (Lentic) และระบบนิเวศแหล่งน้ำไหล (Lentic) การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำโดยใช้สิ่งมีชีวิตเป็นดัชนีบ่งชี้
165 ประธาน คำจินะ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความเชี่ยวชาญ - IoT, Database, Information System, Web Application - เทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลกจริง(Augmented Reality)
166 พิมพ์ชนก สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยนเรศวร ความเชี่ยวชาญ -เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ -เทคโนโลยีทางการศึกษา -เทคโนโลยีสารสนเทศ -เทคโนโลยีและนวัตกรรม
167 สัญฌา พันธุ์แพง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -ระบบการจัดการฐานข้อมูล -ระบบสารสนเทศทางการเกษตร -ระบบสารสนเทศทางการศึกษา -Data Warehouse & Data Mining -Data Science & Big Data -Internet Of Things (IOT) -Predictive Analysis
168 นายลิขิต ยอดยา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์
169 ผศ.ปวีณ์ริศา บุญปาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ศิลปอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ 3 มิติ และการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ และการออกแบบกราฟฟิก
170 ดร.นิติศักดิ์ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ธุรกิจเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล (Business Analytics for Data-Driven Decision Making) - ระบบสนเทศและภูมิศาสตร์ และการสำรวจระยะไกล (Geographic Information System & Remote Sensing) - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
171 นางปาริชาติ อำนวยพรเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การจัดการฐานข้อมูล - การใช้เครื่องมือในการทำธุรกิจออนไลน์ - การวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศ
172 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ ปวนสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข - การประยุกต์ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ - การประยุกต์ใช้ Good Agricultural Practice
173 ดร.ณสิทธิ์ เหล่าเส็น มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ artificial intelligence, machine learning, deep learning, data analytics, image processing, natural language processing, knowledge based systems, ontologies, expert systems, recommendation systems, evolutionary computing
174 นางสาวทิพย์มณฑา ผกาแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบ
175 ผศ.ดร.ทรงเกียรติ ภาวดี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีโรงเรือน, คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ, เทคโนโลยีการสื่อสาร, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things)
176 ผศ.ดร.ผุสดี พรผล มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ Databade system, Data Analytics, Simulation
177 ผศ.หาญพล มิตรวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ไฟฟ้า/วิศวกรรมไฟฟ้า, การจัดการพลังงานและบำรุงรักษาระบบอาคาร ระบบไฟฟ้าพื้นฐาน การจัดการพลังงานไฟฟ้า และการบำรุงรักษาระบบอาคาร
178 วีรวัฒน์ อินทรทัต มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, เทคโนโลยีพลังงานทดแทน, เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ
179 นางสาวอุไรรัตน์. มากจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ
180 บุปผชาติ จันทร์สว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์ และการวิจัยทางด้านการตลาด calculus, numerical computing, computational mathematics, data analysis, marketing research
181 นายธวัชชัย นิ่มพญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบและสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ ชุดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานอิเล็กทรอนิกส์ เพาเวอร์ซัพพลายต่างๆ วงจรควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ สมาร์ทฟาร์ม และเครื่องกลไฟฟ้า
182 ผศ.ดร.ปกรณ์เกียรติ เศวตเมธิกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งประดิษฐ์เพื่อยกระดับเกษตรอัจฉริยะ
183 ผศ.ชลดา ปานสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ระบบควบคุมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
184 นายพิเชษฐ เหมยคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การออกแบบสายอากาศบนแผ่นวงจรพิมพ์
185 ดร.ธัญญาภรณ์ บุญยัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพัฒนาระบบสารสนเทศ,เทคโนโลยี infographic,เทคโนโลยี AR-Augmented Reality,ระบบเป็นต้น
186 ผศ.ดร.ยุธนา ศรีอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
187 อาจารย์ปฏิวัติ ยะสะกะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก การ์ตูนอนิเมชันสองมิติ โมเดลสามมิติ ความเป็นจริงเสมือนสามมิติ และการถ่ายภาพ
188 นายนุรักษ์ ไชยศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - การสร้างแอพพลิเคชั่นบน Mobile Device - การประมวลผลภาพ (Image Processing)
189 ดร.ชญานนท์ แสงมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตถ่านอัดแท่งและน้ำส้มควันไม้ 2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา
190 นนท์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
191 นางสาวอมิตตา คล้ายทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
192 วิไรวรรณ แสนชะนะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
193 นางกฤติมา อนัดคะทัด วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ไฟฟ้า/วิศวกรรมไฟฟ้า ระพบบชควบคุมไฟฟ้า การจัดการพลังงานไฟฟ้า
194 นายเลิศสุวัฒน์ โยมะบุตร วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ไฟฟ้า/วิศวกรรมไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าพื้นฐานการจัดการพลังงานไฟฟ้า การบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าในอาคาร และระบบควบคุมไฟฟ้า
195 ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ โรจน์วิรุฬห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
196 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ วิธินันทกิตต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. เทคโนโลยีการอบแห้ง ๒. การจัดการพลังงานและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
197 อาจารย์ ยศภัทร เรืองไพศาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) ๒. เหมืองข้อมูล (Data mining) ๓. มัลติมีเดีย (Multimedia)
198 อาจารย์ อภิวัฒน์ จันโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และธุรกิจออนไลน์ 2. เซ็นเซอร์ หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ PLC และ เขียนจอสัมผัสอุตสาหกรรม
199 นางสาวเพ็ญพรรณ โกมลมิศร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางการตลาด
200 นายนเรศ ใหญ่วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
201 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัญ คนแรง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การออกแบบอุปกรณ์ เครื่องมือร่วมกับการใช้เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน และระบบอัตโนมัติที่เหมาะสมกับความต้องการของชุมชนหรือผู้ประกอบการ
202 ดร.มีนนภา รักษ์หิรัญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศออนไลน์ 3. การตลาดดิจิทัล
203 ผศ.ดร.ชนินทร์ มหัทธนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ด้าน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน การบริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้าน ระบบอินเทอร์ประสานสรรพสิ่ง (IoT)
204 ผศ.ดร. เสรี ปานซาง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ด้าน วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ด้าน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน ระบบอินเทอร์ประสานสรรพสิ่ง (IoT)
205 ดร.บุษราภรณ์ มหัทธนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบ การตลาดดิจิทัล
206 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น
207 ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก - Ph.D. (Electrical and Information Engineering) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ - ด้านนาโนเทคโนโลยี - ด้านวัสดุศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - ด้านเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
208 นายอรรถพล พรหมทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การออกแบบเว็ปไซต์ การพัฒนาโปรแกรม การออกแบบกราฟ ฟิคและสื่อโฆษณาต่างๆ
209 ดร.อถิชัย จันทร์อุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช การสร้างภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิก และการ ถ่ายภาพสินค้าและการตกแต่งภาพเพื่อการตลาดออนไลน์ สร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ ออกแบบและพัฒนาระบบสมาร์ทฟาร์ม
210 อาจารย์พรประเสริฐ ทิพย์เสวต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช สาขาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีอาหาร มัลติมีเดีย การออกแบบ การตลาด
211 ผศ.สุรสิทธิ์ ประกอบกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ งานไฟฟ้า
212 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรฤทธิ์ กอปรสิริพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การเชื่อมโยงเครือข่าย การจัดการชุดความรู้ การตลาดชุมชนออนไลน์
213 นางสาวสารภี พาหา วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ การใช้โปรแกรม Office,งานฝีมือหัตถกรรม
214 ว่าที่ ร.อ. ดร.รุ่งสว่าง บุญหนา วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ พัฒนาออกแบบนวัตกรรมเพื่อชุมชนทางการเกษตร
215 มัณฑนา นครเรียบ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การทำนาโยนกล้า จัดการปัญหาดินเค็ม ระบบกังหันวิดน้ำเข้านา
216 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป ตุ้มทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
217 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ไพโรจนวุฒิพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจ ประชาสัมพันธ์การตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค
218 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ ซื่อประดิษฐ์กุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม News Investigative Journalism Tradition Media New Media
219 ผศ.ดร.จักรกฤช ศรีลออ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม, การจัดการของเสีย, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
220 นายวันชนะ จูบรรจง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
221 ผศ.รุ่ง หมูล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
222 ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ เคลือบวัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
223 นายมานะ ทะนะอ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
224 ผศ.สมสมร พรพรรณพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
225 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สันติ สาแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การออกแบบและติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงเรือนอัจฉริยะ
226 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมยุทธ ไชยวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
227 รองศาสตราจารย์ ดร.เกริกชัย ทองหนู (ข้าราชการบำนาญ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ผู้เชี่ยวชาญด้านไฟฟ้า - พลังงานโซลาร์เซลล์
228 ดร.สุวลี ชูวาณิชย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า - ชุดควบคุมแบบอัตโนมัติ - ฟาร์มอัจฉริยะ
229 นายธนกร หอมจำปา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การออกแบบเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องจักรกล วิศวกรรมเครื่องกล
230 ผศ. บุญเยี่ยม ยศเรืองศักดิ์ มหาวิทยาลัยนครพนม วิเคราะห์การผลิตพลังงานไฟฟ้าและศึกษาความคุ้มค่าต่อการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ระดับครัวเรือน
231 นางสาวกานดา ปุ่มสิน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย 1.ทางด้านสิ่งแวดล้อม,เทคโนโลยีทางด้านเกษตร3.เทคโนโลยีพลังงานทอแทน
232 นายวีรชน มีฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีทางด้านเกษตร พลังงานและสิ่งแวดล้อม
233 รองศาสตราจารย์ ดร. ชาญชัย ทองโสภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมโทรคมนาคม
234 ดร.พลกฤษณ์ จริยตันติเวทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ การตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ด้วยการประมวลผลภาพ
235 ดร.เกรียงไกร เหลืองอ าพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ แอปพลิเคชั่นบอกปริมาณฟอสฟอรัสในอาหาร
236 รศ.ดร.นัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พลังงานทดแทน
237 ผศ.ดร.มนัส บุญเทียรทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ ไฟฟ้า
238 ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ พลังงาน
239 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ -
240 อ.อรรถพล ช่วยค้ำชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ อิเล็คทรอนิค
241 อ.นพกฤศณ์ ดำน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ Electronic
242 ดร.ฉัตรแก้ว จริยตันติเวทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
243 ดร.อัญชลี มโนสืบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
244 ผศ. จรายุทธ ประทีปวรกาญจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีเครื่องจักร และสิ่งแวดลล้อม
245 อ.เชียร แซ่เฮ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วิศวกรรมไฟฟ้าและเครื่องจักร วิศวกรรมเครื่องยนต์ ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก
246 อ.พัฒน์ ทวีวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
247 อ.ปชาชิต ลิมวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการอาคาร การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
248 อ.รังสรรค์ โพธิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการอาคาร การบริหารจัดการน้ำ ระบบการจัดการน้ำ
249 ผศ.ดร.กนกมน รุจิรกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
250 อาจารย์ ดร.วรัญญู วรชาติ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Computer Graphics
251 ศ.ดร.อาณัติ ลีมัคเดช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Block Chain การเงิน
252 นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบและสร้างเครื่องจักร
253 ดร.สิริกร กรมโพธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
254 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราคม วงศ์ชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การปรับปรุงกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม, การจัดการและอนุรักษ์พลังงานในอาคาร/โรงงาน, พลังงานทดแทน, การประยุกต์ใช้ GIS และ RS ในระบบพลังงาน, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นของผลิตภัณฑ์ (CFP)
255 รศ.ดร.พิมผกา โพธิลังกา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เทคโนโลยีการจัดการน้ำเสีย, การผลิตก๊าซชีวภาพ, การจัดการของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์
256 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภวุฒิ ผากา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ระบบไฟฟ้ากำลัง, การวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า, พีแอลซีในงานอุตสาหกรรม, การควบคุมระบบอัตโนมัติ
257 ผศ.ธนวรกฤต โอฬารธนพร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า กราฟฟิกและมัลติมิเดีย
258 นางสาววราภรณ์ ทุมชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การออกแบบระบบไฟฟ้า
259 นายศักดิ์ชัย ศรีมากรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์แอพพลิเคชัน, การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ
260 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย มหาวิทยาลัยพะเยา กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กฎหมายคุ้มครองแบบผังภูมิของของวงจรรวม กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชเน้นที่กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และกฎหมายคุ้มครองกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืช
261 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย มหาวิทยาลัยพะเยา กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กฎหมายคุ้มครองแบบผังภูมิของของวงจรรวม กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชเน้นที่กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืช
262 อาจารย์ ดร.สราวุฒิ แนบเนียร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การแปรรูปขมิ้นชัน ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
263 อ.นิพนธ์ คำแตง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาแอพพลิเคชั่น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
264 มงคล ยังทนุรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยี และคอมพิวเตอร์
265 นายทวีศักดิ์ แสนสง่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา คอมพิวเตอร์กราฟฟิก บรรจุภัณฑ์
266 รศ.สพ.ญ.ดร.สุนทรี เพ็ชรดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นอุปดรณืที่ไว้เพื่อใช้ในการตรวจโรคกล้ามเนื้อหัวใจในแมว
267 นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ
268 อาจารย์ พิษณุ เจนดง มหาวิทยาลัยพะเยา กฎหมายธุรกิจ และ กฎหมายแรงงาน
269 น.ส.ธนัชพร เฟื่องงามพร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา
270 ผศ.ดร.ธีระยุทธ โหรานนท์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
271 รองศาสตราจารย์สุเพชร จิรขจรกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงพื้นที่ IOT
272 ผศ.ดร.บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วยบุญ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิศวกรรมทางการแพทย์
273 น.ส.นฤมล โต้ตอบ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ด้านวิศวกรรมศาสตร์
274 ผศ.ชุดาณัฏฐ์ สุดทองคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผลงานตีพิมพ์ The Computer Instruction Package on the Silkscreen Print Design: Content design techniques; Sudthongkhong C., Ketcham M.; 2017; เทปประชุมเงินสมทบ The study of the effectiveness of teaching contents through the computer assisted instruction in traditional Thai massage for health: Content design and media; Sudthongkhong C.; 2018; เทปประชุมเงินสมทบ
275 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
276 นายสุชาติ เฮ็งฉุน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
277 นายอภิชัย เทียมคำแหง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องมือกล
278 นายสุเทพ อยู่ทน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เครื่องกล
279 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
280 นางสาวชนากานต์ จิตรสงวน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้า
281 นายสมเดช เจริญสุข วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้า
282 นายนรัท พูนเพิ่มสุขสมบัติ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก อิเล็กทรอนิกส์
283 นางกฤษณา เฮ็งฉุน วิทยาลัยเทคนิคนครนายก อิเล็กทรอนิกส์
284 นายภควัชร์ ใจรุ่ง วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้า
285 ผศ.ดร.ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาดออนไลน์
286 ผศ.ดร.วัฒนณรงค์ มากพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 1. พลังงานทดแทนจากกระบวน Fermentation 2. การจัดการขยะ 3. การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน 4. เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม
287 นายณัฏฐ์ เศวตรพีพงศ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - อุตสาหกรรมการผลิต - การบริหารจัดการ - SME-Coaching
288 สุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
289 อ.ดร. สราวุฒิ แนบเนียร มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนานักศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ
290 นายขจรเดช เวียงสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิทยาศาสตร์ฟิสิก ไฟฟ้า
291 นายทองไส ช่วยชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี อิเล็กทรอนิกส์และระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบแสงอาทิตย์
292 นายศุภชัย ชุมนุมวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน พลังงานทดแทน ระบบความร้อนและท่อความร้อน
293 ว่าที่ร้อยตรี บุญญฤทธิ์ วังงอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบน้ำในโรงเรือน
294 นายภควัต หุ่นฉัตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน และเครื่องกล
295 ดร.เอกรัฐ ชะอุ่มเอียด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และมีความชำนาญพิเศษ - RF Magnetron Sputtering - Transparent Conductive Oxide Films - Photo-electrochemical cells
296 ดร.เดือนแรม แพ่งเกี่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
297 นายมรกต ทองพรหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS)
298 นายมงคล ยังทนุรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาเว็บไซต์ม การทำเหมืองข้อมูล
299 ดร.ชลธี โพธิ์ทอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
300 อ.ชุมศักดิ์ ศรีบุญเรือง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบและบริหารภูมิปัญญาชุมชน/การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและแผนธุรกิจการตลาด
301 นายสถิติพงษ์ เอื้ออารีมิตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Multimedia, Photography, Content Marketing, Knowledge Management
302 นาย เรืองฤทธิ์ สารางคำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกล,พลังงานทดแทน
303 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชาญ เหลืองมณีโรจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ Machine learning, Data Analysis, Artificial intelligence,Computer Science, เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์, Data Mining, AI for Agriculture
304 อาจารย์วิลักษณ์นาม ผลเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เทคโนโลการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล,วิศวกรรมยานยนต์,พลังงานและเชื้อเพลิงทดแทน การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล
305 อาจารย์ คมเพ็ชร อินลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิศวกรรมเครื่องกลและพลังงาน
306 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย พรมาลัยรุ่งเรือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, การเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์
307 .ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพื่อชาติ สุขเรือน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีการออกแบบวงจรเซ็นเซอร
308 ผศ.ภัทราวดี ศิริวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำE-Book เรือนไทยภาคกลาง
309 นายคฑาวุธ ถวัลย์วิลาสวงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวการจัดการธุรกิจ /การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจ/โครงสร้างข้อมูลอัลกอริทิม
310 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา ปาปัดถา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เทคโนโลยีดิจิทัล คอมพิวเตอร์กราฟิก และสื่อสิ่งพิมพ์
311 นางสาวปาริชาติ ช้วนรักธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาด, การตลาดดิจิทัล, การพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการ และการขนส่ง
312 นางสาวนภาพร ภู่เพ็ชร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1. คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมพื้นฐานช่วยในการพัฒนางาน การออกการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการฐานข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการวางแผน การศึกษา การวิเคราะห์ การทดสอบ การประเมินผล และการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการใช้งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 2. ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการพัฒนา และปรับปรุงสูตรอาหาร ให้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแตกต่างจากที่มีอยู่เดิม และตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
313 ผศ.ชูชัย พิทักษ์เมืองแมน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การถ่ายภาพโฆษณาสินค้าเพื่อใช้กับการขายออนไลน์ การคำนวณต้นทุน การทำบัญชีครัวเรือน
314 ผศ. นเรศ ขวัญทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การออกแบบ Web Application - การออกแบบระบบฐานข้อมูล - การออกแบบและวิเคราะห์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การออกแบบ Application ด้วยภาษา C , VB
315 นายภูมินทร์ อินทร์แป้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง มีความเชี่ยวชาญด้านการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์
316 นายสิทธิศักดิ์ โรจชะยะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - การโปรแกรมคอมพิวเตอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ - การออกแบบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า - นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และเทคโนโลยี
317 นางสาวศิรินันทร์ นาพอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ระบบค้นคืนสารสนเทศ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ - ระบบให้คำแนะนำ
318 นางสาวหทัยรัตน์ บุญเนตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - คอมพิวเตอร์อาร์ต
319 นางสาวนัฎสฬิณ รสจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ตัวแทนทรัพย์สินทางปัญหา
320 ผศ.ดร.พิเศษ ตู้กลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พลังงานทดแทน
321 นายจตุรงค์ เชือนไธสง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ การออกแบบ
322 นิเวศ จีนะบุญเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจ, การจัดการนวัตกรรม, การจัดการโลจิสติกส์, การพัฒนาผู้ประกอบการ startup, การออกแบบและพัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมสำหรับธุรกิจ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง สามารถออกแบบและพัฒนารูปแบบธุรกิจกลยุทธ์ธุรกิจที่ทำให้ผู้ประกอบการมีความได้เปรียบในการแข่งขันสามารถทำให้เกิดการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน
323 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตวิชญ์ สุขอึ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่
324 ดร.นงนุช ศรีเล็ก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วัสดุด้านพลังงาน , ด้านหมึกพิมพ์ฐานน้ำ (Water-based ink) ในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ 1. เทคโนโลยีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากชีวมวล (Biomass Conversion Technology) ด้วย - กระบวนการทางกายภาพ เช่น การอัดแท่ง (Briquette) การอัดเม็ด (Pellet) - กระบวนการทางเคมีความร้อน เช่น การเผาไหม้ การทอริแฟกชั่น การไพโรไลซิส ไฮโดรเทอร์มอล - กระบวนการทางชีวเคมี เช่น ก๊าซชีวาพ - กระบวนการทางเคมี เช่น ไบโอดีเซล 2. การ Upgrading ผลิตภัณฑ์จากชีวมวล มุ่งเน้น ด้านพลังงาน ด้านการดูดซับ และ อื่นๆ 3. การพัฒนาปฏิกรณ์ (Reactor) สำหรับเทคโนโลยีการเปลี่ยนรูปพลังงาน
325 ผศ.ว่าที่ ร.ต.พงษ์ศักดิ์ จิตตบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
326 นางสาวสำเนียง ลุนพัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การแปรรูปผลิตภัณ์การเกษตร(กล้วย)
327 ผศ.เอกลักษณ์ สุมนพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
328 ผศ.ดร.ยุธนา ศรีอุดม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ด้านการผลิต เครื่องกล และด้านพลังงาน
329 นายอนุรัตน์ เทวตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เครื่องจักร และ พลังงานทดแทน
330 นายสังคม สัพโส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก เครื่องจักรกล และ พลังงานทดแทน
331 ดร.เจนจิรา ฝั้นเต็ม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การบริหารจัดการการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงชุมชน
332 นายพิสุทธิ์ เพชรสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - พลังงาน - การพัฒนาเครื่องจักร - การบำรุงรักษาเครื่องจักร
333 ผศ.ดร.กฤษฏิ์พนธ์ พรรณรัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ นวัตกรรมทางการเกษตรและพลังงานทดแทน -โดรนเพื่อการเกษตร
334 ผศ.ทิวา แก้วเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ กราฟิกและผลิตภัณฑ์ OTOP- ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก - ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม - งานผลิตภัณฑ์ต่างๆ
335 อาจารย์อนุกิจ​ เสาร์แก้ว​ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง iot Smart city, iot​ ควบคุม​ทางการเกษตร​,iot​ งานอุตสาหกรรม​, iot ​environment monitoring, Mobile Application Devloper
336 อาจารย์ธีราภรณ์ พรหมอนันต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การเตรียมตัวเร่งปฎิกิริยาในเซลล์เชื้อเพลิง การเตรียมซิลิกาจากวัสดุธรรมชาติ เคมีวัสดุศาสตร์
337 ผศ. กาญจนา รัตนธีรวิเชียร มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การตลาดออนไลน์
338 ผศ.สุรพงษ์ เพ็ชร์หาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์,network,iot
339 อาจารย์ปรมินทร์ วงษ์คำสิงห์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง สื่อ นวัตกรรรมทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
340 ผศ.พงษ์พร พันธ์เพ๊ง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คอมพิวเตอร์กราฟิก และมัลติมีเดีย แอนิเมชัน
341 ผศ.ว่าที่ ร.ต. ดร. โอฬาร เชี่ยวชาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง smart farm
342 เยาวลักษณ์ งามแสนโรจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง Digital Marketing การท่องเที่ยว
343 ผศ.สมัย ศรีสวย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และโปรแกรมภาษา
344 ดร.บุญวัฒน์ วิจารณ์พล มหาวิทยาลัยพะเยา การต่อยอดเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน เพื่อจะนำไปใช้ได้จริงโดยการขยายผลของศูนย์การเรียนรู้
345 อาจารย์ชัยวัฒน์ โพธิ์ทอง มหาวิทยาลัยพะเยา การบำบัดดินที่ปนเปื้อนโลหะหนักด้วยวิธีทางเคมี การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการดูดซับ และกระบวนการดูดซับทางชีวะ
346 ผศ.ดร.กันยาพร ไชยวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เทคโนโลยีพลังงานชีวภาพ การผลิตพลังงานจากชีวมวล การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม คาร์บอนฟุตพริ้นท์ LCA
347 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญยุทธ์ กาญจนพิบูลย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสมองกลฝังตัวในงานเกษตรกรรม ระบบควบคุมอัตโนมัติผ่านอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (IoT) ระบบผลิตกำลังไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
348 อาจารย์เอกรินทร์ วาโย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา Smart farm
349 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพศาล คงเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
350 นางสาวขนิษฐา หอมจันทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การจัดการระบบฐานข้อมูล การพัฒนาเว็บไซต์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
351 ผศ.ดร.พรรษา ลิบลับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร - การบริหารจัดการพลังงาน - วิศวกรรมเกษตรและอาหาร - วิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว
352 อาจารย์ชิตณรงค์ เพ็งแตง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Internet of Things (IoT) Software Engineering Automation
353 อาจารย์วชิระ ลิ้มศรีประพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Application and Web Programming in C/C++ PHP C# Java JavaScript JQuery Database Design in MySQL MS SQL Server Automation and PLC Programming in Omron/Mitsubishi/Siemens PLC SCADA and HMI in Mitsubishi PLC Industrial and Mobile Robotics Embedded and IoT Development Measurements and Instrumentation Development in LabVIEW
354 อาจารย์พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Web Application Development Information system development
355 อาจารย์ ดร. วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
356 อาจารย์ ดร. นพดล สีสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ฟิสิกส์ประยุกต์ ออกแบบวงจรไฟฟ้า
357 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กันตภณ โล่นพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ระบบควบคุมอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม พีแอลซี (โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์) ไมโครคอนโทรลเลอร์
358 อาจารย์ ดร. สุรเชษฐ์ วรรณา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Technology Concrete
359 ผศ.ดร.ฐิติพงศ์ เครือหงส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ตัวนำยอดอุณหภูมิสูง
360 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เมตไตรพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การประมวลผลและการรับรูปภาพ (Digital Image Processing) - การออกแบบและพัฒนาระบบการควบคุมอัตโนมัติ PLC
361 ดร.พิชญ์ศักดิ์ จันทร์กุศล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระบบจัดการน้ำโดยน้ำผ่านระบบพลาสมาโอโซไนเซอร์
362 อาจารย์อุส่าห์ บุตรทา วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้ากำลัง
363 นายภูริศักย์ จตุพศ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้ากำลังและระบบโซล่าเซลล์
364 นายนิพนธ์ อ่อนจันทร์ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้า
365 นายธนากร บุญเจริญ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้า
366 นายณัฐวุฒิ เกิดศิริ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้ากำลัง
367 นายต่อศักดิ์ อุทรา วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ไฟฟ้ากำลัง โซล่าเซลล์
368 นายสุพรรณพงษ์ คู่เจริญถาวร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก ระบบไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ทางการเกษตร
369 นางสาวพัชรินทร์ อินทมาส มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช วิศกรรมไฟฟ้า
370 นางสาววิชริณี สวัสดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
371 ดร. ณรงค์ พันธุ์คง มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีสารสนเทส ระบบธุรกิจออนไลน์สำหรับผู้ประกอบการ การพัฒนาซอฟแวร์และแอฟพลิเคชั่น การใช้คิวอาร์โค้ดเพื่อธุรกิจ
372 ผศ. ธีรเดช เทวาภินันท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาคิวอาร์โค้ด
373 อ.มนต์สวรรค์ พลอยมุกดา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
374 อ.สะไบแพร อาจศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีการใช้พลังงานทดแทน
375 นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบ พัฒนา และสร้างเครื่องจักร
376 นายจตุพร โปธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง มีความเชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพ การตัดต่อวิดีโอ การทำวิดีทัศน์
377 นายสุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
378 นายฐานนท์ มณีนิล มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กฎหมายมหาชน /กฎหมายเอกชน
379 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
380 นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วิทยาลัยชุมชนพังงา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน / คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ /การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
381 นางเวฬุกานต์ ขานวงศ์ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ด้านเทคโนโลยีและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบลายผ้า
382 นางสาวภาวิณี จังพล วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบบรรจุภัณฑ์
383 นาย อนิรุต สุทธินันท์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย infographic VDO ออกแบบ ตัดต่อ
384 นาย ทวีศักดิ์ พุทธิสันติกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย Web application Java Data base IOT
385 รศ.ดร.มานะ อมรกิจบำรุง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพลังงานเเละวัสดุ
386 ผศ.ดร.จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพลังงาน-อุณหภาพ
387 ดร.รุ่งโรจน์ สงค์ประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เทคโนโลยีพลังงานสิ่งเเวดล้อมเเละวัสดุ
388 อาจารย์จักริน วีแก้ว มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาระบบสารสนเทศ/ ระบบฐานข้อมูล Web programming/ Decision Support System (DSS)
389 นายอมร ดอนเมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร วิศวกรรมเครื่องกล
390 อาจารย์ ชาตรี นิลน้ำเพชร มหาวิทยาลัยรามคำแหง IoT, Smart Farm, AI, Robotics
391 ผศ.ดร.อัจฉรา มหาวีรวัฒน์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning)
392 รศ.ดร.มงคล วรรณประภา มหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์, ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
393 อ.ดร.ภากร จูเหล็ง มหาวิทยาลัยรามคำแหง Optical Computing, Robotic และ Smart Farm
394 อาจารย์ อัฏฐพร อริยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การประดิษฐ์เซลล์แสงอาทิตย์,เทคโนโลยีฟิล์มบาง
395 อาจารย์ ณรงค์ ผลดก มหาวิทยาลัยรามคำแหง สารสนเทศสถิติ
396 ดร.วรีวรรณ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบัญชี - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
397 อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
398 นายกิตติกร ขันแกล้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - พลังงานทดแทน - วงจรไฟฟ้า - ปฏิบัติการวงจรไฟฟ้า
399 นายคณิศร บุญรัตน์​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ระบบส่องสว่าง - ฮาร์มอนิกส์ในระบบแสงสว่าง
400 นางสาวสิริรักษ์ ขันฒานุรักษ์​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - Software Design - Information Technology
401 นายประสิทธิ์ ศรีนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง พลังงานทดแทน
402 นายกฤตวัฏ บุญชู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - Geoinformation - 3D Animation (3D Max) - Web design and programming - Computer Network
403 นายกฤดิกร แก้ววงศ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer Vision)​
404 นายศุภวัฒน์ อินทร์เกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง - ระบบฐานข้อมูล - ระบบสารสนเทศ
405 ดร.เดือนแรม แพ่งเกี่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
406 นายมรกต ทองพรหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS)
407 นายศุภชัย ชุมนุมวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน พลังงานทดแทน ระบบความร้อนและท่อความร้อน
408 ว่าที่ร้อยตรี บุญญฤทธิ์ วังงอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบน้ำในโรงเรือน
409 นางสาวปฏิกมล โพธิครามบำรุง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
410 นายภควัต หุ่นฉัตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน และเครื่องกล
411 ชำนาญ รัตนมณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช คอมพิวเตอร์ สาระสนเทศ ต่างๆ
412 ผศ.ดร.กมลวรรณ บุญเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ผลิตตู้พลังงานเสียงอาทิตย์
413 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พินทุสร ปัสนะจะโน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
414 อาจารย์พงศ์กรณ์ ปุบผาโสมตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบฐานข้อมูล การพัฒนา Web Application
415 รศ.ฉัตรชัย พลเชี่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.โฟโตอิเล็กโครคะตะไลชีส 2.เคมีไฟฟ้า 3.สเปกโทรโฟโตเมตรี 4.การเตรียมฟิล์มบาง 5.วัสดุศาสตร์สำหรับประยุกต์ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
416 ดร.นรพร กลั่นประชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1.การผลิตก๊าซชีวภาพ 2.การปรับสภาพน้ำทิ้งด้วยกระบวนการบำบัดแบบไร้อากาศ
417 ธันวดี ศรีธาวิรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ มลพิษทางอากาศ คุณภาพอากาศภายในอาคาร Atmospheric aerosol, Biomass burning smoke
418 อรชร ฉิมจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
419 สุขสมาน สังโยคะ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการของเสีย
420 ปิยะดา วชิระวงศกร มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในสิ่งแวดล้อม การปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม
421 ฐิติพร เจาะจง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม วิทยาศาสตร์/ฟิสิกส์/เคมี, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
422 นางสาวอัมภาภรณ์ พีรวณิชกุล สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สื่อประชาสัมพันธ์ แชทบอท เว็บ แอปพลิเคชั่น
423 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
424 นายศิริชัย สาระมนัส สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย iot ถ่านอัดแท่ง เครื่องกรองน้ำ การจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์ของเสีย การบำบัดของเสีย น้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
425 นางสาววารินี วีระสินธุ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การทำสื่อ ประชาสัมพันธ์
426 นาย ธวิช ตันฑนะเทวินทร์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ด้านคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ
427 นาย อภิชาติ พงษา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น แอปพลิเคชันบัญชีคำนวนต้นทุน
428 รองศาสตราจารย์ ดร.ฟ้ารุ่ง สุรินา บุญทิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ดาราศาสตร์ การดูดาว ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ อบรมมัคคุเทศก์ชุมชนให้เป็นนักเล่าเรื่องดาวดาว การประยุกต์ใช้ดาราศาสตร์ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การตลาด ผลิตภัณฑ์ ฯลฯ
429 นางสาวพิชชานันท์ ศรีหมื่นไวย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
430 ผศ.ชำนาญ พร้อมจันทึก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ไฟฟ้า
431 นายสุธี เงิมสันเทียะ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กฏหมายทรัพย์สินทางปัญญา
432 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยวุฒิ วัดจัง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เทคโนโลยีการยาง, การสังเคราะห์และทดสอบพอลิเมอร์
433 อาจารย์ปริณุต ไชยนิชย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา นิเทศศาสตร์สารสนเทศ ประชาสัมพันธ์และการพูด
434 นางสาวอมาวสี รักเรือง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง 1. พลังงานทดแทน พลังงานทดแทนและการประยุกต์ใช้ - ระบบทางด้านของไหลและความร้อน เทอร์โมไดนามิกส์ กลศาสตร์ของไหล การถ่ายเทความร้อน - อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน และการทำความเย็นและการปรับอากาศ - กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ และการประกันคุณภาพปูนซีเมนต์
435 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชระ วงค์ปัญโญ มหาวิทยาลัยพะเยา โรงอบแห้งแคบหมูพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
436 ผศ.ดร.ชวโรจน์ ใจสิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระบบให้แสงแอลอีดีเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (LED lighting system for plant tissue culture)
437 ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ ดุษฎี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระบบบ่อเลี้ยงปลาแสงอาทิตย์
438 ผศ.ดร.อนุสรณ์ แสงประจักษ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ประยุกต์ พลังงานทดแทน พลังงานโซล่าเซลล์
439 ผศ.ไพรัตน์ ธรรมแสง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ประยุกต์ พลังงานทดแทน พลังงานโซล่าเซลล์
440 ดร.ฤทธิไกร ไชยงาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ประยุกต์ พลังงานทดแทน เตาเผาถ่านอัจฉริยะ ถ่านอัดแท่ง
441 ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฟิสิกส์ พลังงานทดแทน ผ้าไหมเคลือบพลาสม่าป้องกันแบคทีเรีย
442 ดร.สุรเชต น้อยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบหลักสูตรเพื่อการจัดการชุมชนที่ดี และการใช้เทคโนโลยีในการจัดการ
443 นายวัสยษฏิ์ อนันต์ปรีชากร มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร เตาอบถ่านหุงต้ม
444 ดร.ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน
445 รองศาสตราจารย์วาสนา เกษมสินธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมชุมชน การจัดการทุนวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
446 ผศ.ดร.ก้องภพ ชาอามาตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร Power Electronic, ระบบเฝ้าระวัง 1). DC Chopper 2) Sensor System and Application
447 ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
448 นายสันติ ผิวผ่อง มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 1. พลังงานทดแทนชีวมวล 2. การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
449 อาจารย์ลฎาภา ศรีพสุดา มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์, นิเทศศาสตร์, communation art, journalism, creative media, new media research, Mass Communication
450 ดร.ครรชิต สิงห์สุข มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร เทคโนโลยีพลังงานทางเลือก
451 นางสาวอัญมณี แสงสุข วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
452 ดร. ชเนษฎ์ วิชาศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ อุปกรณ์สาหรับพลังงานทดแทน และ พลังงานไฮโดรเจน, เซลล์แสงอาทิตย์ ตัวเก็บประจุและอุปกรณ์พลังงานทดแทน
453 อาจารย์พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม มัลติมีเดียและแอนิเมชั่น การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR)
454 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ปินะเต มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม พลังงานทดแทน การส่งเสริมพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ โรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
455 นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาต
456 ภาสกร เดชโค้น มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การอบแห้งโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
457 อาจารย์ศานต์ พานิชสิติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ + โมดูลสื่อสารไร้สาย ทำงานร่วมกันเป็น Internet of Things
458 อาจารย์ ดร. พิมพ์พรรณ ทิพยแสง มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ บอร์ด Raspberry pi
459 อาจารย์ ธีรภัทร์ อนุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย เทคโนโลยีท้างด้านอาหาร เทคโนโลยีทางด้านเกษตร เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน
460 ผศ.ดร.จุฑามาส จิตต์เจริญ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี Processing of silicon compounds from Waste Agricultural Products: silica gel, SiC, Si3N4, zeolite and applications of SiO2 Structural Ceramics: Functionally graded materials Materials Processing Water and Waste Water Analysis Analytical Chemistry
461 ผศ.ปราณี นุ้ยหนู มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เทคโนโลยีน้ำยาง
462 ผศ.ถิรายุ ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ระบบโซล่าเซลล์ในแปลงเกษตร
463 ผศ.ถิรายุ ปิ่นทอง มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ พลังงานทดแทน
464 นายเชาวลิต จันทะวงค์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อำนวยความสะดวกในการใช้งานประแจขันน็อตและนัท
465 นางสาวอรุณวรรณ มุขแก้ว วิทยาลัยชุมชนพังงา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการชุมชน การท่องเที่ยว
466 อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
467 นางสาวศศิรภัทร์ เกาะแก้ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
468 ผศ.ดร. กฤษณะ ชินสาร มหาวิทยาลัยบูรพา Data Structure and Algorithms Design
469 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนา ปัญญาวราภรณ์ มหาวิทยาลัยบูรพา Image Processing and Video Coding
470 นายชญภพ บุญทาศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
471 ดร.ศิริพร มิขำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กราฟิกดีไซน์ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการท่องเที่ยว
472 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สิทธิบูรณ์ ศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine), การออกแบบ สร้างเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชนและอุตสาหกรรมขนาดเล็กถึงระดับกลาง
473 อาจารย์พัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสารสนเทศ ระบบจัดการฐานข้อมูล การตลาดออนไลน์
474 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คทาวุธ แก้วบรรจง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ระบบสารสนเทศ /อินเทอร์เนต มาเกตติ้ง
475 นางสาวเมทินี ปัญญาฟู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย สื่อสิ่งพิมพ์
476 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินีเพ้ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
477 อ.เกศดาพร วงษ์ซิ้ม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เทคโนโลยีพลังงานทดแทน เทคโนโลยีโรงเรือน
478 ผศ.ปิยะวดี สราภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม พลังงานทดแทน การส่งเสริมพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพ
479 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การผลิตพลังงานชีวมวลจากมูลสัตว์
480 อาจารย์ ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เทคโนโลยีผลิตน้ำมันจากขยะพลาสติก
481 อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
482 ดร.รัชวุธ สุทธิ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์
483 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ระบบการถ่ายโอนความร้อนการที่พลังงานความร้อนถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า พลังงานความร้อนจะหยุดถ่ายโอนเมื่อวัตถุมีอุณหภูมิเท่ากัน
484 อาจารย์จาตุรงค์ สุทาวัน มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ด้านกฎหมาย การเมือง การพัฒนาชุมชน และทรัพย์สินทางปัญญา
485 นายมิตร พุดซ้อน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ระบบไฟฟ้า และบริหารการจัดการนำ้
486 นางสาวรุจิราภรณ์ สิทธิโชติ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย การออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสื่อออนไลน์
487 นายสิทานนท์ อมตเวทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิศวกรรมอุตสาหการ ทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา
488 ผศ.ดร. สมพร ศรีวัฒนพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มโลจิสติก การวางระบบเซนเซอร์สำหรับวัสดุพืชผลเกษตรกรรม
489 รศ. ดร.ประมุข อุณหเลขกะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา "Power System and Protection, Energy Storage, System Energy Management, Risk Assessment"
490 ดร.สุวิทย์ สมสุภาพรุ่งยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา Internet of things, Electrical
491 ผศ. ดร.วารุณี ศรีสงคราม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยี, การควบคุมระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ( ระบบ IOT /นิวเมติก / โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์/ การควบคุมระบบต่างๆ), พลังงานทดแทน ( การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ /พลังงานลม ),งานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง (การวิเคราะห์การเกิดทรานเซียนบนอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง , การตรวจวัดการเกิดดีสชาจน์)
492 อาจารย์ ชนะรบ วิชาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ระบบการตรวจวัดและควบคุมอัตโนมัติ ยานสำรวจบนผิวน้ำอัตโนมัติ (USV) / อากาศยานอัตโนมัติ (UAV) และ พลังงานทางเลือก
493 ดร.อดุลย์ หาญวังม่วง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา "Thermoelectric Materials, Materials Application, Solar Cell, Thin Films"
494 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ทองท้วม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พลังงานทดแทน,
495 ผศ.ไพศาล ดาแร่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คอมพิวเตอร์ ด้านการจัดการสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ โปรแกรมสำเร็จรูปด้านสารสนเทศ
496 อาจารย์ ดร.พุทธดี อุบลศุข มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การประเมินคาร์บอนเครดิตขององค์กร CFO
497 อาจารย์ยสินทินี เอมหยวก มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ การประเมินคาร์บอนเครดิตขององค์กร CFO
498 อาจารย์ปิยพงษ์ วงศ์ขันแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตรAgricultural System & Engineering
499 ผศ.ดร.วิทยา พรหมฤกษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านพลังงานทดแทนและเครื่องจักรกลเกษตร
500 อาจารย์ศิริภรณ์ บุญประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสื่อการเรียนรู้
501 ดร.นนท์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านระบบฐานข้อมูล คลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล และระบบเครือข่าย
502 อาจารย์ลัดดาวัลย์ หวังเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์