1 |
นายชัยยุทธ ปิยวรนนท์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การวิเคราะห์ภัยอันตรายของสารเคมี ของเสียทางเคมี รวมถึงการทำแผนฉุกเฉินด้านความปลอดภัย
|
2 |
รองศาสตราจารย์ สุปราณี แก้วภิรมย์ คณะวิทยาศาสตร์ ม |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
วิจัยสูตรคอมพาวด์พลาสติก |
3 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชาติ วัชรบัณฑิต |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน |
4 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชาดา สวัสดี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน |
5 |
อาจารย์ พูนศิริ หอมจันทร์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ |
ด้านเคมี |
6 |
ผศ.ดร.ลักษมี ชัยเจริญวิมลกุล |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี |
นาโนเทคโนโลยีและการเร่งปฏิกิริยา |
7 |
อาจารย์สุนทรา เฟื่องฟุ้ง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา |
- เคมีอินทรีย์
- เคมีสิ่งแวดล้อม
- เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ
|
8 |
ดร.เจ๊ะฮาซัน เจ๊ะอุบง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.เทคนิค รอยพิมพ์ประทับโมเลกุล 2.เทคนิคไบโอเซ็นเซอร์ 3.โปรตีโอมิส์ |
9 |
นายไพฑูรย์ ทรัพย์อุดม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี |
10 |
ผศ.กนกอร เวชกรณ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.การพัฒนาเซ็นเซอร์ทางเคมีสำหรับตรวจจับไอออนโลหะและการประยุกต์ใช้ 2.การพัฒนาคาร์บอนดอทจากมวลชีวภาพและการประยุกต์ใช้ |
11 |
ผศ.การรันต์ บ่อบัวทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.เคมีคำนวณทางคอมพิวเตอร์ 2.เคมีควอนตัม 3.การเร่งปฏิกิริยาพันธุ์ |
12 |
ผศ.การันต์ บ่อบัวทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.เคมีคำนวณทางคอมพิวเตอร์
2.เคมีควอนตัม
3.การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ |
13 |
รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน
2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย
3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์
4.วัสดุเก็บความร้อน |
14 |
ผศ.ดร.ศิริวรรณ ตี้ภู่ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.การสร้างชุดทดสอบแบบสารละลาย
2.การสร้างชุดทดสอบแบบแผ่นสตริป |
15 |
รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช
3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค |
16 |
ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.ชีวเคมี
2.โปรติโอมิกส์
3.การเพาะเลี้ยงเซลล์
4.กลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์ |
17 |
รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห
2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย
3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ
4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์ |
18 |
ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์
2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
3.สีย้อมอินทรีย์
|
19 |
ดร.รวมพร นิคม |
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง |
วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ
หลักการของกระบวนการผลิตและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ การออกแบบและควบคุมการผลิตของกระบวนการทางเคมีและความร้อนให้มีประสิทธิภาพ |
20 |
อาจารย์ขนิษฐา รัตน์ประโคน |
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี |
เทคนิคการวิเคราะห์หาสารประกอบอินทรีย์และสำคัญโดยใช้เครื่อง GC และ GCMS |
21 |
นางสาวสุธิดา รัตนบุรี |
วิทยาลัยชุมชนพังงา |
เคมีอินทรีย์ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางค์
|
22 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกฤตา บุณณ์ประกอบ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ |
-สาขานวัตกรรมวัสดุ วัสดุนาโน ถ่านกัมมันต์และอื่นๆ
-สาขาเคมี พลาสติก พอลิเมอร์ เคมีพื้นฐาน
-สาขาพลังงาน ปิโตรเคมี ไบโอดีเซล ไบโอแก๊ส ไบโอเอทานอล
|
23 |
ผศ.ดร. วัชรี สีห์ชำนาญธุรกิจ |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
เคมีวิเคราะห์/อาหารสุขภาพ |
24 |
อาจารย์ ปิติพร มโนคุ้น |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา |
การจัดการของเสียและการนำของเสียมาแปรรูปมาใช้ประโยชน์, การบำบัดน้ำเสียทางเคมี, ชีวมวลและพลังงานชีวภาพ |
25 |
ดารินทร์ ล้วนวิเศษ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
26 |
ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร |
27 |
ผศ.ดร.เฉลิมพร ทองพูน |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
เคมีวิเคราะห์, เภสัชเคมีและเภสัชวิเคราะห์ , เคมีสิ่งแวดล้อม , เคมีศึกษา, Analytical Chemistry |
28 |
ผศ.ดร.พิทักษ์ อยู่มี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
เคมีวัสดุ การสังเคราะห์วัสดุที่มีขนาดเล็กทางเคมี |
29 |
รศ.ดร.อัญชนา ปรีชาวรพันธ์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Analytical Chemistry |
30 |
รศ.ดร. วิไลวรรณ ลีนะกุล |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
อุตสาหกรรมเซรามิก แก้ว วัสดุทดแทนจากของเหลือใช้ทางการเกษตร
|
31 |
รศ.ดร.วิษณุ ธงไชย |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
เภสัชเคมีและเภสัชวิเคราะห์ , เคมีเครื่องสำอาง, เคมียา, Analytical Chemistry, cosmetic science |
32 |
ผศ.ดร.รพิพรรณ จันทร์มะณี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
ไบโอเซ็นเซอร์, วิทยาศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, General Chemistry, Physical Chemistry, Polymer, Chemistry, Physical Chemistry, Nanotechnology, Biosensor, Sensor |
33 |
ผศ.ดร.ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Analytical Chemistry, Gas Chromatography-Mass Spectrometry, High Performance Liquid Chromatography |
34 |
อ. มานิสา กองแก้ว |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Inorganic chemistry |
35 |
อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ศรีหงษ์ทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ |
ชีวเคมี เคมี |