ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 นางปิยะธิดา สีหะวัฒนกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์
2 ยิ่งศักดิ์ ชุ่มเย็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การสร้างอุปกรณ์-เครื่องดนตรีไทย,นวัตกรรมการประดิษฐ์พวงกุญแจไม้ฆ้องจิ๋ว
3 ผศ.เสริมศรี สงเนียม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบงานหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น, การวิจัยเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้
4 นายสมชาย บุญพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบงานไม้ งานจักรสานจากไม้ไผ่
5 รศ.บุษบา หินเธาว์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การประชาสัมพันธ์ การตลาด สร้างแผนกลยุทธ์การสื่อสาร
6 ผศ.ดร.ประดิษฐา ภาษาประเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้านงานศิลปะ การประดิษฐ์ เทคนิคการถ่ายภาพ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิถีชุมชน
7 ดร.รัฐ ชมภูพาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การประดิษฐ์เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การจัดดอกไม้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมงานศิลปประดิษฐ์ รวมถึงด้านการวิจัยด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมของสังคม
8 ดร.ชาลิสา อภิวัฒนศร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การย้อมสีธรรมชาติ
9 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การเตรียมดินท้องถิ่นนำมาคัดเลือก ตามกระบวนการทดสอบทางเคมีโดยใช้วทน.คือ ชั่ง ตวง วัด ตามสูตร บดผสม เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
10 ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การวิเคราะห์และทดสอบเนื้อดิน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
11 มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การทดสอบเนื้อดินตามสูตรที่มีความเหมาะสมในการนำมาผลิตสินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
12 นางสาวสารภี พาหา วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ การใช้โปรแกรม Office,งานฝีมือหัตถกรรม
13 ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
14 วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
15 อาคม เสงี่ยมวิบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบลายผ้า
16 ปรีชา นวลนิ่ม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรมศาสตร์ การออกแบบลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์
17 สรัญญา ภักดีสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบลายผ้า สิ่งทอจากลายธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ
18 อภิเชษฐ์ ตีคลี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศิลปกรรม การออกแบบของที่ระลึก เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบบรรจุภัณฑ์
19 น.ส.สุกัญญา จันทกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์ แกะสลักผักและผลไม้
20 รศ.อภิรัติ โสฬศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช การจัดดอกไม้พื้นฐาน พานพุ่มดอกไม้สด
21 น.ส.รุ่งฤทัย รำพึงจิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก จัดดอกไม้
22 น.ส.สมปรารถนา สุขสละ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
23 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรินทร คุ้มเขต มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ความเชี่ยวชาญ ชุมชนและศิลปะวัฒนธรรม
24 ผศ.ศรีชนา เจริญเนตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแบบจุภัณฑ์สินค้าในท้องถิ่น ออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ออกแบบลวดลายผ้า
25 อาจารย์มลชฎาภร สุขการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเครื่องเคลือบและเครื่องปั้นดินเผา การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม
26 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม การออกแบบบรรจุภัณฑ์
27 ดร.สุรินทร์ อินทะยศ คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิท มหาวิทยาลัยบูรพา อัญมณีและเครื่องประดับ
28 ผศ.ดร.ราตรี แจ่มนิยม มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี อัตลักษณ์ด้านภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์
29 ดร.บุษบา ทองอุปการ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การจัดการด้านแรงงาน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
30 อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
31 อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จัดดอกไม้ ศิลปะการประดิษฐ์ตุงล้านนา
32 อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การฟ้อนรำ
33 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรนุช คำแปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เทคโนโลยีศิลป์
34 นางกฤษณา ชูโชนาค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ การศึกษาและทดลองสูตรดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ 5 สูตร ประเมินคุณสมบัติและคัดเลือก นำไปศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการให้ความร้อนดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ในไมโครเวฟที่เวลา 3, 8, 13 และ 18 วินาที ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านดินปั้นทดลองและประเมินความพึงพอใจ นำดินปั้นจากโอเอซิสที่พัฒนาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์งานใบตองและประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์จากกลุ่มลูกค้าของร้านขายผลิตภัณฑ์ดินปั้นหรืองานใบตองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ดินปั้นจากโอเอซิสสูตรที่ 4 ให้ความร้อนแต่ละครั้งเป็นระยะเวลา 8 วินาที มีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ในงานใบตอง ผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และกลุ่มผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมาก
35 ผศ.จิราภา พงศ์ศุภสมิทธิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผ้าพื้นเมืองของ ชาวเขาเผ่าเย้า จังหวัด พะเยา งานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาด้านวิถีชีวิต ของชาวเขาเผ่ากระหร่าง จังหวัด เพชรบุรี งานวิจัยเรื่อง การศึกษาสุขภาพจิตของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อนักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น
36 รศ.พิศมัย อาวะกุลพาณิชย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกเเบบสิ่งทอ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
37 รศ.คนธาภรณ์ เมียร์แมน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้กลึง
38 นายภูมิรพี คงฤทธิ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้กลึง
39 อาจารย์ชวรจน์ ชะวะนะเวช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบ
40 นางสาวมนชยา เจียงประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
41 นางสาวบุษกร คงเอียด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ดินและส่วนผสมดินสำหรับการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการออกแบบเครื่องปั้นในรูปของที่ระลึก
42 อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัดสุศาสตร์
43 นายฐิติกร วงศ์เลื่อน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านออกแบบกระเป๋า หมวก เสื้อผ้า รวมถึงการแปรรูปจากวัตถุดิบธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น มาเป็นผลิตภัณฑ์ ของใช้ของตกแต่าง เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น
44 นางปัญจลักษณ์ หรีรักษ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านเครื่องเคลือบดินเผา
45 อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
46 นายธัชพล ภัทรจริยา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวการออกแบบผลิตภัณฑ์ /งานไม้/ บรรจุภัณฑ์
47 นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน
48 นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบของที่ระลึก การออกแบบลวดลายผ้า การพิมพ์ผ้า
49 นางสาวนิอร ดาวเจริญพร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
50 นายปรัชญาณินทร์ วงศ์อทิติกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์(อุปโภคและบริโภค) กาแฟ ชา หัตถกรรมพื้นบ้าน
51 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
52 อาจารย์ นิรุต ขันทรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ งานประยุกต์ศิลป์, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์, ศิลปะดอกไม้
53 อาจารย์ ธเนศ เรืองเดช มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ศิลปะประดิษฐ์
54 อาจารย์ มานะ อินพรมมี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์- งานเฟอร์นิเจอร์ - การเคลือบผิวเฟอร์นิเจอร์ - การขึ้นรูปเฟอร์นิเจอร์
55 ผศ.ทิวา แก้วเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ กราฟิกและผลิตภัณฑ์ OTOP- ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก - ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม - งานผลิตภัณฑ์ต่างๆ
56 รศ.ธิติมา คุณยศยิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก การพัฒนากระบวนการผลิตเซรามิก
57 อาจารย์ ดร. วิมล ทองดอนกลิ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เซรามิกส์ เครื่องปั้นดินเผา ออกแบบผลิตภัณฑ์ แป้นหมุน Free hand พิมพ์ แก้ว
58 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม เซรามิกส์
59 รองศาสตราจารย์ ดร. สนิท ปิ่นสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Design ceramics/เซรามิกส์
60 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธาราทิพย์ โอฬารทิชาชาต มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Electroceramics Material Sciences Ferroelectric ceramics Materials characterizations and processing ceramics เซรามิกส์
61 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทนารัช จิตชาญวิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Material Sciences ceramics เซรามิกส์
62 นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ไม้กวาดดอกหญ้า และไม้กวาดทางมะพร้าว ด้ามถอดประกอบ
63 ผศ.รัตนฤทธิ์ จันทรรังษี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเขียนภาพด้วยเทคนิคสีฝุ่น การพัฒนากาวจากธรรมชาติเพื่อใช้ในการเขียนภาพ การพัฒนาสีผงจากธรรมชาติ
64 รศ.ดร.รุ่งนภา สุวรรณศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การออกแบบอัตลักษณ์,การวาดภาพประกอบ,การออกแบบกราฟิก,การออกแบบหนังสือ
65 นางสาววิไล สุทธิจิตรทิวา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้านคหกรรมศาสตร์
66 นางสาวเสาวนีย์ รัฐนิธิคุณานนท์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทผ้า การสร้างแบบ ตัดเย็บ
67 นางสุดากาญจน์ แยบดี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผ้าและการออกแบบตัดเย็บ ของที่ระลึก แปรรูปจากผ้าพื้นเมือง
68 ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
69 นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ออกแบบแฟชั่นเสื้อผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์วัสดุธรรมชาติ
70 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร คำยอด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องหอมโบราณ: การปรุงน้ำอบกับวิถีไทย
71 อาขารย์ชญานิน วังตาล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
72 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์
73 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
74 นางชญาภา บัวน้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
75 อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น
76 ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี เทคโนโลยีการทอผ้าไหมมัดหมี่
77 นายณัฐอมร จวงเจิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง งานด้านภูมิทัศน์ การจัดสวน สมุนไพร เครื่องสำอาง การออกแบบเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ด้านศิลปะและของที่ระลึก ย้อมผ้าสีธรรมชาติ
78 นางอภิญญา เลิศล้ำ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าจากวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น
79 ผศ.ว่าที่ร้อยตรีกิติศักดิ์ โกมลเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พัฒนาอาชีพจากวัสดุท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วม
80 อาจารย์มีนา ระเด่นอาหมัด มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีประสบการณ์ในงานวิจัยและงานบริการวิชาการ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์หัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
81 อาจารย์จันทิมา ปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกด้วยวัสดุท้องถิ่น
82 นายพงษ์พิสุทธิ์ นุวัตดีวงศ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย งานใบตอง งานบายศรี การจัดดอกไม้
83 อภิชาติ สุวรรณชื่น มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
84 ดร.จรัสพิมพ์ วังเย็น สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ออกแบบลวดลายผ้า ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ และของที่ระลึก
85 อ.ดร. สุดารัตน์ ขัดสาย มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ด้านวิทยาศาสตร์
86 อ.ดร.สุธิษา เชญชาญ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนาผลิตภัณฑ์
87 รศ.ดร.ศศิธร วชิรปัญญาพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี การพัฒนามูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์
88 อัมพวัน ยันเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช
89 ธรรมรัตน์ บุญสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความเขี่ยวชาญ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมกราฟฟิค การสร้างแบบด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้เครื่องมือเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมเครื่องหนัง
90 อาจารย์อัมพวัน ยันเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช งานศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
91 อาจารย์ศุภสิทฐ์ วราศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
92 นายกิติศักดิ์ จันทร์ขามป้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม วัฒนธรรม สื่อผสม
93 อาจารย์ปวินท์ ระมิงค์วงศ์ มหาวิทยาลัยพะเยา ออกแบบนิเทศศิลป์
94 นายชาญชัย สิริวารินทร์ วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์ของที่ระลึก พวงกุญแจ
95 นายชาติชาย กั้วเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ การทำผ้าพิมพ์ลายธรรมชาติ
96 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก อินจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย พัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภัณฑ์ อาหาร เสื้อผ้า วัสดุธรรมชาติ วัสดุสะเคราะห์