1 |
นางสาวศิริวรรณ ศรีสุธรรม |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
เทคโลโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอพื้นบ้าน 5 คุณสมบัติ
1.สะท้อนน้ำ
2.ต้านแบคทีเรีย
3.ต้านยูวี
4.กลิ่นหอม (ลาเวนเดอร์ มะลิ กุหลาบ และPersian Violet)
5.นุ่มลื่น |
2 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ |
3 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา หนูสาย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
เทคโนโลยีเคมีวิเคราะห์ |
4 |
ดร.วิลาสินี บุญธรรม |
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ |
เทคโนโลยีในการทอและพัฒนาลายผ้า เทคโนโลยีการตัดเย็บและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ เทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ |
5 |
นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ |
6 |
นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม
|
7 |
นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน)
การจัดการสิ่งทอ
การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน)
การจัดการสิ่งทอ
การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี
การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo)
การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ |
8 |
ผศ.ไพโรจน์ วรพจน์พรชัย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา |
การพัฒนา ออกแบบ แปรรูป กระบวนการย้อมสี การตกแต่งสำเร็จผืนผ้าและผลิตสิ่งทอ |
9 |
ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.กนกกรณ์ ศิริทิพย์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด |
- การย้อมเส้นไหมด้วยสีธรรมชาติ โดยใช้วัสดุที่ให้สีตามท้องถิ่น เช่น จากต้นไม้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนของใบ เปลือก ผล ซึ่งจะให้ลักษณะของสีที่แตกต่างกันต่างชนิด และส่วนที่นำมาเป็นวัสดุให้สี - เทคนิคการมัดย้อม การย้อมผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยกระบวนการมัดย้อม จะทำให้ผลิตภัณฑ์มีเอกลักษณ์และรูปแบบที่แตกต่างกัน |
10 |
ดร.ชยาคมน์ ปุริมศักดิ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น |
Lab-on-chip, Cell culture, Screening of herbal activity, Applications of micro- and nanoparticles |
11 |
นายอุกฤษฎ์ นาจำปา |
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ |
การย้อม สีธรรมชาติ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย แปรรูป ผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ นาโน กลิ่นหอม สะท้อนน้ำ พลังงานทดแทน ไฟฟ้า โซลาเซลล์ ไบโอแก๊ส |
12 |
เจษฎาพล กิตติพัฒนวิทย์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี
ค.อ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วุฒิการศึกษาปริญญาโท
ค.อ.ม. (เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ความเชี่ยวชาญ
-ออกแบบผลิตภัณฑ์ , กราฟิก , บรรจุภัณฑ์
|
13 |
ดร.นภารัตน์ จิวาลักษณ์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี
วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วุฒิการศึกษาปริญญาโท
วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วุฒิการศึกษาปริญญาเอก
วท.ด. (เคมี)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ความเชี่ยวชาญ
-Physical chemistry, Environmental chemistry, Textile Chemistry, Industrial chemistry, Science teaching
- วัสดุดูดซับ, ถ่านกัมมันต์, การย้อมติดเส้นใย
|
14 |
ว่าที่ รต.หญิง จินตนา อินภักดี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี
สาขา ผ้าและเครื่องแต่งกาย
สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
วุฒิการศึกษาปริญญาโท
ศษ.ม. (อาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
- ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
-Textile Products Development / Fashion Design
|
15 |
วีรวัฒน์ อินทรทัต |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, เทคโนโลยีพลังงานทดแทน, เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ
|
16 |
นางสาวเพ็ญพร วินัยเรืองฤิทธ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
การสกัดสีจากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ |
17 |
ผศ.สุนีย์ หทัยวสีวงศ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมสิ่งทอ นวัตกรรมสิ่งทอ ด้านการออกแบบและผลิต ผลิตภัณฑ์สิ่งทอต่างๆ |
18 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรีประไพ จุ้ยน้อย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม333 |
19 |
ดร.ศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
เชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและการสร้างแบรนด์เครื่องแต่งกาย |
20 |
ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
(เกียรตินิยมอันดับ 1)
วุฒิการศึกษาปริญญาเอก
- Ph.D. (Electrical and Information Engineering)
- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี)
ความเชี่ยวชาญ
- ด้านนาโนเทคโนโลยี
- ด้านวัสดุศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน
- ด้านเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์
- ด้านพลังงานชุมชน
- ด้านระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
|
21 |
ปานใจ สื่อประเสริฐสิทธิ์ |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
สิ่งทอนาโนเทคโนโลยี เช่น ผ้าทอ เสื่อทอ |
22 |
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี อัลเดรด |
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
การพัฒนาเส้นใยและสีย้อมธรรมชาติ การปรับปรุงทางเคมีพอลิเมอร์ธรรมชาติ |
23 |
นางสาวณัฐรุจา สิงห์เพชร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา |
การตัดเย็บและการสร้างแพทเทิร์น |
24 |
ผศ.ดร.เพ๊ญวิสาข์ พิสิฏฐศักดิ์ |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ |
25 |
ผศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การนำไมโครและนาโนแคปซูลในการปรับคุณสมบัติของผ้า เช่นการปรับสภาพความร้อน ให้มีกลิ่น ผ้ากันยุง เป็นต้น และด้านอาหารเช่นเทคนิคการกักเก็บสารสำคัญของอาหารโดยใช้พอลิเมอร์ เป็นต้น |
26 |
ผศ.ดร.พรรณราย รักษ์งาร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
การทดสอบสมบัติสิ่งทอ สมบัติเส้นใยและผ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบสมบัติวัสดุสิ่งทอ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตสิ่งทอ |
27 |
นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโน การทำผ้านุ่ม ผ้าหอม โดยใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย |
28 |
ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การเตรียมสิ่งทอ - กระบวนการทําความสะอาด การฟอก การย้อมสีธรรมชาติ การพิมพ์ การตกแต่งสําเร็จเส้นใย/เส้นด้าย/ผืนผ้า แยกประเภทโครงสร้างผ้า ผ้าทอ ผ้าถัก ออกแบบลวดลายผ้าทอ - ลายขัด ลายสอง ฯลฯ ทดสอบคุณสมบัติของผ้า/เส้นใย เช่น ทดสอบความคงทนของผ้า และคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี และที่เกี่ยวข้อง |
29 |
นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
การออกแบบลวดลายผ้า พัฒนาคุณสมบัติผ้า ด้านสิ่งทอ |
30 |
นายกวินท์ คำปาละ |
วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู |
การหมักผ้าด้วยสมุนไพร |
31 |
รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห
2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย
3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ
4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์ |
32 |
ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
ออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์ และย้อมสีธรรมชาติ
|
33 |
นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
การทำนาโนผ้าไหม ผ้าฝ้าย |
34 |
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี |
เทคโนโลยีการทอผ้าไหมมัดหมี่ |
35 |
ดร. ศักดิ์ชัย ดรดี |
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ |
การสร้างนวัตกรรมเครื่องรีดใยสับปะรด |
36 |
นางสาวพิชญานิน ปลื้มสุด |
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
เทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ |
37 |
รศ.ดร.ปวีณา เหลากูล |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
พลาสม่านาโนเคลือบผ้า |
38 |
อาจารย์จิราพร ชุมชิต |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งทอ
วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการสินค้าสิ่งทอ
ความเชี่ยวชาญ การฟอก ย้อม พิมพ์ ตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ การย้อมสีธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยสีพิมพ์ธรรมชาติเพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สาขาความเชียวชาญ เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ [118] และเทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ [37] |