1 |
อาจารย์อัญญารัตน์ ประสันใจ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
โลหะวิทยา วัสดุวิศวกรรม การควบคุมคุณภาพ วิศวกรรมความปลอดภัย |
2 |
รศ.ดร.สิริพร โรจนนันต์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
โลหะวิทยา โลหะนอกกลุ่มเหล็ก |
3 |
นายพินิจนันท์ รุทธนานุรักษ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ เช่น เมล็ดข้าวและใยสับปะรด แล้วใช้ขบวนการทาง XRD เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของวัสดุหลังจากผ่านขบวนการย่อยสลายเฉพาะด้าน เช่น รังสี |
4 |
ผศ. คุลยา ศรีโยม |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
ด้านการผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม |
5 |
ดร.พัชรี เพิ่มพูน |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
ด้านวัสดุศาสตร์ |
6 |
อาจารย์สุชิรา นวลกำแหง |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ |
เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิเคราะห์ดิน
- หาขนาดของเม็ดดิน
- หาปริมาณความชื้นของดิน
- หาความเหนียวของดิน
2. เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิธีบดอัดดินให้ได้ความแน่นสูงตามความต้องการหรือตามจุดประสงค์ของการใช้งาน โดยวิธีทดสอบมาตรฐาน เป็นการบดอัดดินในงานก่อสร้างโดยทั่วไป เช่น การทดสอบสำหรับควบคุมงานก่อสร้างถนน
|
7 |
ผศ.ดร.นครินทร์ พัฒนบุญมี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์
พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ อนุรักษ์พลังงาน |
8 |
ปิยะพงษ์ อะสะนิธิ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
วัสดุศาสตร์และวัสดุนาโน เช่น แกรฟีน |
9 |
ดร.สมยศ เด่นจิตเจริญ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
เทคโนโลยี ทินฟิล์ม, สูญญากาศ การสังเคราะห์วัสดุนาโน
ซิงค์ออกไซด์ งานควบคุม |
10 |
ผศ.ดร.จิตรา เกตุแก้ว |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
การปรับปรุงคุณภาพอัญมณี งานอัญมณีและเครื่องประดับ
การเคลือบฟิล์มบาง แก้วและวัสดุทางแสง |
11 |
นายสนอง กลิ่นเกษร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
เครื่องวัดมุมสัมผัส(Contact angle) |
12 |
ธานินทร์ นิ่มแสง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
การทดสอบวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าด้วยเครื่อง four point probe, การวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าของกระจกเคลือบ ITO
เพื่อนำวัสดุที่ได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานในการใช้ในวิสาหกิจชุมชน |
13 |
อาจารย์พีรวิทย์ โชคเหมาะ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น |
Foundry Engineering |
14 |
ผศ.ดร.สำเริง นราแก้ว |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุธรรมชาติ |
15 |
อ.ดร.ศิวัช ตั้งประเสริฐ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
ถ่านกัมมันต์ การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุธรรมชาติ |
16 |
นายยงยุทธ ศิริศรีเพ็ชร์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น |
- งานตรวจสอบทางวิศวกรรมด้านงานโยธา
- งานตรวจสอบวัสดุ คุณสมบัติวัสดุ
- งานตรวจและควบคุมงานก่อสร้าง
- งานตรวจผลิตภัณฑ์ มผช.
- งานตรวจเครื่องดนตรีไทย |
17 |
ผศ. ปัทมา อภิชัย |
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง |
การเตรียมชิ้นงานศึกษาโครงสร้างจุลภาคและทดสอบเชิงกลทางโลหะวิทยา |
18 |
ดร.ณภัทร อินทนนท์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น |
การออกแบบการทดลอง, การทดสอบการสึกหรอ,การออกแบบและผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก |
19 |
อาจารย์ ดร.ปภาภร จันทะวงศ์ฤทธิ์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด |
การวิเคราะห์ความบกพร่องทางโครงสร้างผลึกของวัสดุสารกึ่งตัวนำด้วยเทคนิค TEM
การทำเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเปลือกผลไม้ |
20 |
อาจารย์ ดร.สรรเพชญ นิลผาย |
มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด |
การพัฒนาเพื่อการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน /ฺBIO sensor |
21 |
รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน |
22 |
นางณัฐรดา ซาเหลา |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรมวัสดุศาสตร์การออกแบบและการผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก |
23 |
นายภาณุวัฒน์ ไชยเชษฐ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ ด้านฟิสิกส์ |
24 |
ดร.สมศักดิ์ ลิ่มวงศกร |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
เทคโนโลยีเครื่องจักร, โลหะวิทยา/วิศวกรรมวัสดุ วิเคราะห์ความแข็งแรงด้วยไฟไรเอลลิเมนท์ของวัสดุ การสร้างขิ้นส่วนเครื่องจักรกล การประกอบด้วยการเชื่อม Cad/cam/cae
|
25 |
นางสาวสิรินญา จันทร์ศักดิ์สูง |
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต |
โลหะวิทยา/วิศวกรรมวัสดุ, สมรรถนะ
|
26 |
ผศ.ดร.ธนา สุทธิบัทม์พงศ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
(1) การจำลองโมเลกุล (molecular simulation) สำหรับระบบเอนไซม์ พอลิเมอร์ และวัสดุคาร์บอน (2) การออกแบบโมเลกุลยาจากการคัดกรองเสมือน (virtual screening) และเทคนิคเชิงปัญญาประดิษฐ์ (3) การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอุตสาหกรรม |
27 |
นายพาณิน พูลจักร์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
การวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบด้วยเทคนิค X-ray Fluorescence (XRF) |
28 |
ดร. เกรียงไกร วันทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
เทคโนโลยีสปัตเตอริงหรือ เทคนิคการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศ กระบวนการนี้ใช้เคลือบฟิล์มได้หลากหลายชนิด เช่น ฟิล์มโลหะ อัลลอย แก้ว เซรามิกส์ ฟิล์มสารกึ่งตัวนำ ในกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ใช้เทคโนโลยี สปัตเตอริง ได้แก่ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดดิสไดรฟ์ ยานยนต์ กระจกอาคาร ใยแก้วนำแสง และเซลล์แสงอาทิตย์, การทดสอบโลหะต่างๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก Data Science
Semiconductor Physics, Electronics, Crystal Growth, Thin Film Sputtering,
C, Python and R programming, Computational Physics, Data Science,
Scintillation Materials and Nuclear Physics, Precious Metals Testing
|
29 |
เอกภพ เกตุสมบูรณ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
กระบวนการเคลือบฟิล์มบางในระบบสุญญากาศ (PVD, CVD), การประยุกต์ใช้แกรฟินในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (interconnect, inductor, antenna), maskless lithography |
30 |
ผศ. ดร.อภิวัฒน์ วิศิษฏ์สรศักดิ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
Computational plasma physics, เทคโนโลยีด้านพลาสมาและพลังงานฟิวชัน, พลศาสตร์ของของไหลและการจำลอง, ทฤษฎีด้านของแข็งและวัสดุอสัณฐาน |
31 |
ธนภัทร์ ดีสุวรรณ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
ฟิสิกส์ทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงสถิติ เทคโนโลยีควอนตัม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
32 |
นายคารม นันตื้อ |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
การผลิตและกาสรจัดการอุตสหกรรม วัสดุศาสตร์การออกแบบและการผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก |
33 |
นายธีระวิสิฏฐ์ ประเสริฐสิน |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
วิศวความปลอดภัย วัสดุศาสตร์ การออกแบบและผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก แลการประกอบด้วยการเชื่อม |
34 |
นายอนุชิต เสตะ |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
วิศวกรรมวัสดุ วัสดุศาสตร์ วิศวความปลอดภัย การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม และการประกอบด้วยการเชื่อม |
35 |
ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ โรจน์วิรุฬห์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
|
36 |
อาจารย์ธวัชชัย ชาติตำนาญ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพระนครเหนือ |
เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม |
37 |
ดร.กิตติ วิโรจน์รัตนาภาพิศาล |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
งานวิศวกรรมวัสดุ |
38 |
ดร.อุกฤษฏ์ ธนทรัพย์ทวี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิศกรรมวัสดุ |
39 |
ดร.จิรวัฒน์ วรวิชัย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศกรรมวัสดุ |
40 |
นายภาคภูมิ ใจชมพู |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
ความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมวัสดุ |
41 |
นายธวัชชัย ไชยลังกา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
ความเชี่ยวชาญทางด้านเครื่องจัรก |
42 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภควดี ศิริหล้า |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย |
ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมการออกแบบและผลิต / เทคโนโลยีวัสดุ
|
43 |
อ.เชียร แซ่เฮ้ง |
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี |
วิศวกรรมไฟฟ้าและเครื่องจักร
วิศวกรรมเครื่องยนต์
ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ระบบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก |
44 |
ผศ.ดร.พลพัฒน์ รวมเจริญ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
กระบวนการแปรรูปและการพัฒนาสมบัติของผลิตภัณฑ์ยางและพอลิเมอร์ โฟม เรซิน |
45 |
ดร.ชินวุธ พิพัฒน์ภานุกูล |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
วัสดุพอลิเมอร์ |
46 |
ดร.นันทรัตน์ บุนนาค คณะอัญมณี |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
การตรวจวิเคราะห์อัญมณี |
47 |
นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบและสร้างเครื่องจักร |
48 |
นายอภิเดช ภูมิกอง |
วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น |
การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม การประกอบด้วยการเชื่อมและประสาน |
49 |
ผศ.ดร.วสวัชร นาคเขียว |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกระบวนการผลิต การทดสอบสมบัติเชิงกลของนวัตกรรมวัสดุ |
50 |
รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ |
51 |
ดร.สุจิตตรา อินทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ |
52 |
นางสาวสุกัญญา ทับทิม |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านฟิสิกส์ทางการเกษตร ฟิสิกส์พลังงาน ชีวมวลและวิจัยในชั้นเรียนทางฟิสิกส์ |
53 |
อาจารย์ ดร. มาโนช นาคสาทา |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
วัดสุศาสตร์ |
54 |
นายอภิวัฒน์ ด่านแก้ว |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
ความเชี่ยวชาญ ด้านพลังงานและวัสดุ |
55 |
อาจารย์สุธิรา เบญจานุกรม |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ |
ทดสอบแรงดัดและแรงดึงของซีเมนต์และมอร์ต้าร์ หาแรงดัดและแรงดึงของซีเมนต์และมอร์ต้าร์ |
56 |
นายพุฒิธร ตุกเตียน |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
ช่างโลหะ/ วิศวกรรมวัสดุ |
57 |
นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง |
งานเชื่อม งานโลหะไฟฟ้า ออกแบบ พัฒนา และสร้างเครื่องจักร |
58 |
รศ.ดร.มานะ อมรกิจบำรุง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
เทคโนโลยีพลังงานเเละวัสดุ |
59 |
ผศ.ดร.จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
เทคโนโลยีพลังงาน-อุณหภาพ |
60 |
ดร.รุ่งโรจน์ สงค์ประกอบ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
เทคโนโลยีพลังงานสิ่งเเวดล้อมเเละวัสดุ |
61 |
มติ นรารมย์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
วิศวกรรม |
62 |
นายสมพร หงษ์กง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
วิศวกรรมเครื่องกล |
63 |
นายอมร ดอนเมือง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร |
วิศวกรรมเครื่องกล |
64 |
ผศ. เกษม พฤกษะวัน |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
สาขาเซรามิก |
65 |
อาจารย์ อรรถพล ตะเระ |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
โลหะวิทยาและการกัดกร่อน |
66 |
อ.ดร.นวรัตน์ วรอวยชัย |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
การกัดกร่อน โลหะผง |
67 |
สุทธิพงษ์ โสภา |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
การพัฒนาสมรรถนะบุคคลในงานอุตสาหกรรม, Light Weight Materials |
68 |
ดร.สุจิตตรา อินทอง |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก |
มีความเชี่ยวชาญทางด้านวัสดุศาสตร์ และการวิเคราะห์วัสดุ |
69 |
สนอง กลิ่นเกษร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
การถ่ายภาพพื้นผิวและคุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม |
70 |
สุชัญญา มิลาวรรณ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
วิเคราะห์วัสดุด้วยเทคนิค Raman Spectrometer |
71 |
พาณิน พูลจักร์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
วิเคราะห์วัสดุด้วยเทคนิค UV-Visible Spectrophotometer |
72 |
เอกภพ เกตุสมบูรณ์ |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี |
กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด |
73 |
นายพิชิตร ทองดี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก |
การผลิตเครื่องมือเครื่องจรักช่วยในการเพิ่มผลผลิตผ(การพัฒนากระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพ ลดเวลาการผลิต เพิ่มกำลังการผลิตให้มากขึ้นรวมถึงการออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือ อุปกรณ์ในการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน) |
74 |
อาจารย์นิพนธ์ มณีโชติ |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
ด้านเทคโนโลยีการผลิต |
75 |
ดร. ชเนษฎ์ วิชาศิลป์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ |
อุปกรณ์สาหรับพลังงานทดแทน และ พลังงานไฮโดรเจน, เซลล์แสงอาทิตย์ ตัวเก็บประจุและอุปกรณ์พลังงานทดแทน |
76 |
นางสาวสุมนา ปานสมุทร |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
1.นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ
2.วัสดุนาโน
3.การเคลือบผิวนาโนคอมโพสิต ใช้ในการเคลือบเนื้อทุเรียนในการแช่แข็งเพื่อยืดอายุของเนื้อทุเรียน และสารชีวภาพ ในการทดแทนสารเคมี |
77 |
อาจารย์ สินมหัต ฝายลุย |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา |
การออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ พลาสติกเพื่องานอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนวิทยาศาสตร์ อากาศยานจำลองและขนาดเล็ก |
78 |
ผศ.ประวิทย์ ตฤณรัชตเมธี |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา |
อุตสาหกรรมการผลิต ระบบการผลิต การวางแผน การจัดการ การลดต้นทุนกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ |
79 |
ผศ.ดร.นววรรณ ทองมี |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Electroceramics, Ferroelectric ceramics, Materials characterizations and processing |
80 |
ผศ.ดร.ธนวัตร์ คล้ายแท้ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Physics/Material Sciences, Electroceramics, Ferroelectric ceramics, Materials characterizations and processing |
81 |
ผศ.ดร.ไกรลาส มาตรมูล |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Digital Signal Processing, Electronics and Computer Programming, Physics/Material Sciences, Ferroelectric ceramics, Materials characterizations and processing |
82 |
ผศ.ดร.กฤษ สุจริตตั้งธรรม |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Electroceramics, Material Sciences, Biopolymer materials, Material processing, Material characterization |
83 |
รศ.ดร.รัตน์ติพร สำอางค์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Applies Physics, Material Sciences, Electroceramics |
84 |
นายกษมะ ดุรงค์ศักดิ์ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม |
Physics/Material Sciences, Nuclear Technology, Industrial Radiation Application, MCNP Simulation |
85 |
จิระศักดิ์ ธาระจักร์ |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
เทคโนโลยีวัสดุ
|
86 |
รศ.ดร. วิไลวรรณ ลีนะกุล |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร |
อุตสาหกรรมเซรามิก แก้ว วัสดุทดแทนจากของเหลือใช้ทางการเกษตร
|
87 |
ดร.บุุญสิน นาาดอนดู่ |
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ |
process improvement logistics composite materials |
88 |
อาจารย์ ดร.สุรเดช มัจฉาเดช |
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา |
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านยางพาราผลิตภัณฑ์ทั้งจากน้ำยางและยางแห้ง |