ลำดับ ชื่อผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงาน รายละเอียด
1 ผศ.ดร.มงคล พัชรวงศ์สิริ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไผ่
2 นายอับดุลเลาะ บากา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) การออกแบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การตลาดออนไลน์ (Digital online) การทำเกษตรสมัยใหม่ (Smart.Farm)
3 นายอับบ๊าส พาลีเขตต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา -การจัดการข้ามวัฒนธรรม - การตลาดระหว่างประเทศ - การเป็นผู้ประกอบการ - การตลาดออนไลน์ - การออกแบบโมเดลธุรกิจ - การพัฒนานวัตกรรม
4 ดร.สุพิศ บุญลาภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารงานส่วนท้องถิ่น, กลยุทธ์การจัดการในองค์กร, รูปแบบการปกครองและการจัดการองค์กรในสภาวะวิกฤติ
5 ผศ.ดร.ปรรฐมาศ์ พสิษฐ์ภคกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิถีชีวิตชุมชน, ศิลปวัฒนธรรม, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
6 นวลละออง อรรถรังสรรค์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบริหารการจัดาการชุมชนท้องถิ่น และการส่งเสริมด้านการตลาดและการทำมาตรฐาน
7 สุนันทา เลาวัณย์ศิริ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก๊าซชีวภาพจากขยะมูลสัตว์และของเสียชุมชน
8 อัจฉรี จันทมูล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการชุมชน และการจัดทำมาตรฐาน
9 สถิตย์ เจ๊กมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การจักสาน การบริหารจัดการชุมชน
10 ปิยภัทร บุษบาบดินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการชุมชน การตลาดในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน แปรรูปผลผลิตการเกษตร
11 ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก การจัดทำบุญชีครัวเรือน การบริหารธุรกิจชุมชน การจัดทำบัญชีกลุ่มโอทอป
12 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรเทพ แก้วเชื้อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา ความเชี่ยวชาญ : ลดต้นทุนการผลิต ลดของเสีย : สาขาเทคโนโลยีอาหาร GMP และ HACCP : ระบบการผลิต การเพิ่มผลผลิต
13 อดิศัย วรรธนะภูติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต
14 นางสาวเมทิกา พ่วงแสง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจชุมชนฐานรากกับวิถีวัฒนธรรม การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์
15 ผศ.ดร.วราจิต พยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
16 ดร.วัลลีย์ อาศัย วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก เทคนิดการเข้าชุมชน
17 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มงคลกร ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย การจัดการขยะ
18 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเติมอากาศในสัตว์น้ำ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบิ้ลทางด้านการเกษตร 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟฟ้าแรงดันสูงในการกระตุ้นการออกดอกของเห็ด 4. การประยุกต์ใช้ไอออนบีมพลังงานสูงในการถ่ายภาพทางการแพทย์
19 นายสุทัศน์ รุ่งระวิวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) , การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน , การออกแบบนวตกรรม , สื่อสร้างสรรค์
20 อาจารย์ปรมัตถ์ โพดาพล มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด การบริหารจัดการชุมชน/การพัฒนาชุมชน/การบริหารโครงการ
21 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิอร สิริมงคลเลิศกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย สิ่งแวดล้อม พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
22 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultant’s Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
23 ผศ.ดร. ประเทือง โชคประเสริฐ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การพัฒนากรรมวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีการอาร
24 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงรัตน์ สวัสดิ์มงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การจัดทำแผนธุรกิจเกษตร
25 นางสาวสุธีรา สุนทรารักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การกำจัดขยะแต่ละประเภทให้เหมาะสม (การแปรรูป รีไซเคิล) ออกแบบและแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา
26 นางสาวสาวิตรี อกนิษฐ์เสนีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การออกแบบลวดลายผ้า การมัดย้อม เครื่องจักร /เครื่องมือ/อุปกรณ์สิ่งทอ การจัดการสิ่งทอ อุตสาหกรรม
27 นายสถิตรัตน์ รอดอารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ การตรวจวิเคราะห์น้ำ และอาหาร ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ระบบผลิตน้ำประปา การกำจัดขยะ เทคโนโลยีชีววิทยา จุลชีววิทยา อาหาร ไวน์ หมัก แปรรูปผลไม้ การตรวจวิเคราะห์
28 นางสาวเบ็ญจวรรณ บัวขวัญ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง การบูรณาการภูมิปัญญาเพื่อเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (การนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ และการสร้างสรรค์สิ่งเหลือใช้จากงานเกษตร งานหัตถกรรม มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อม
29 นางสาวจรินรัตน์ วรวงศ์พิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวิเคราะห์สินเชื่อ การเงิน
30 ดร.พรปวีณ์ วรเศรษฐ์พงศา มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดการการเงินและการลงทุน, การวางแผนการเงินและจัดสรรกำไร, การวิจัยธุรกิจ, การพัฒนาทักษะทางการเงินส่วนบุคคล
31 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
32 อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
33 อ. ดวงจันทร์ แก้วกงพาน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การพัฒนาความรู้ในเนื้อผนวกวิธีสอนวิทยาศาสตร์ (PCK) ที่บูรณาการกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (TPCK) ในศตวรรษที่ 21
34 อ.จตุทิพย์ ก๋ายะ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การบูรณาการการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยกิจกรรม Tinkering & Making
35 อาจารย์ดวงพร อ่อนหลวาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การบริหาร การจัดการ การบัญชี เพื่อธุรกิจและการบริการ
36 อาจารย์วรัญญา ฐานะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ
37 ดร.นวรัตน์ พรหมอุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การจัดการการท่องเที่ยวเเละการบริการ
38 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักเรศ เมตตะธำรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการ
39 สุรศักดิ์ นุ่มมีศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม
40 ดร.ชาญ ยอดเละ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี B.Sc. (Chemistry) The University of New England, Australia วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.Sc. (Environmental and Ecological Science) Lancaster University, U.K. วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Environmental Science) University of East Anglia, U.K. ความเชี่ยวชาญ - การวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น การวิเคราะห์สารมลพิษทางน้ำและทางอากาศ รวมถึงสารตกค้างในสิ่งแวดล้อม
41 ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย​ เพชรช่วย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, การท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์​ ดาราศาสตร์​ ฟิสิกส์ศึกษา
42 ผศ. ศิวพงศ์ ทองเจือ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, สถาปัตยกรรม, การออกแบบภูมิทัศน์, การวางแผนและออกแบบเมือง / การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน / การออกแบบภูมิสังคมภายใต้แนวคิดศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาบรรพบุรุษ "1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญสถาปนิก เลขที่ ส-สผ. 26 สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับภาคี เลขที่ ภ-สถ. 15729 สาขาสถาปัตยกรรมหลัก (อยู่ระหว่างประกาศผลเป็นระดับสามัญ)"
43 ดร.สุพิศ บุญลาภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารงานส่วนท้องถิ่น, กลยุทธ์การจัดการในองค์กร, รูปแบบการปกครองและการจัดการองค์กรในสภาวะวิกฤติ
44 นางสวรรยา หาญวงษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการและการตลาด
45 ณัฐกฤตา สนองบุญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์
46 ดร.กาญจนา ทวินันท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
47 นายมนตรี ธรรมพัฒนากูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์
48 กรรณิการ์ ประทุมโทน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศสตร์และสังคมศาสตร์
49 นางสาวศิริภรณ์ บุญประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
50 รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านสังคมวิทยา
51 นางสาวนฤภร ปาลวัฒน์วิไชย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์
52 นางสาวอุ่นอารี ตลาดเงิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
53 ดร.วิศรา ไชยสาลี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
54 ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
55 ดร.อรรถพล นาขวา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
56 ดร.ธนัช มหาสินทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ ปริญญาโท สาขาการสอนภาษาไทย ปริญญาตรี สาขาภาษาไทย สาขาประถมศึกษา ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านการบริหารการศึกษา - การวิจัยด้านการจัดการศึกษา
57 ผศ.ดร.ศุภฤกษ์ ธาราพิทักษ์วงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ - การวิจัยชุมชน - การวิจัยด้านบริหารธุรกิจ
58 อาจารย์ กฤตยชล ทองธรรมสถิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ ๑. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๒. การตลาด ๓. การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ๔. การพัฒนาผู้ประกอบการ
59 นางสาวเพ็ญพรรณ โกมลมิศร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางการตลาด
60 อาจารย์สุภาพร ไชยรัตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช บริหารธุรกิจ และการตลาด
61 ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
62 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงกล เพชรสุข มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ การวางแผนการผลิต การจัดตารางการผลิต ด้านการสอน องค์การและการจัดองค์การ
63 อาจารย์กมลทิพย์ เดชะปรากรม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Business Incubator การให้คำปรึกษาธุรกิจอุตสาหกรรม Business Model Canvas Social Entrepreneur การจัดการวิสาหกิจกขนาดกลางและขนาดย่อม
64 ดร. จิระภา จันทร์บัว มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บริหารธุรกิจและการจัดการ Corporate social responsibility
65 อาจารย์สำเรียม คุมโสระ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การขาย การตลาดออนไลน์ การขับเคลื่อนบริบทชุมชนให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
66 อาจารย์ศศิวัลย์ พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา มาตรฐานอาหาร, การจัดการ, วิทยากรชุมชน
67 ผศ. ลัดดาวัลย์ จำปา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี เทคโนโลยีทางด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเครื่องจักร การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว
68 อ.ปชาชิต ลิมวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการอาคาร การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
69 อ.เยาวลักษณ์ เกิดปั้น มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การบริหารจัดการโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร รบบห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
70 อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
71 นางสาวนุจนาถ นรินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นวัตวิถีของดีกำแพงแสน และเส้นทางท่องเที่ยวของอภเภอกำแพงแสน
72 ผศ.ดร.เกษตร นครเขตต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รูปแบบเมืองผู้สูงอายุต้นแบบ ถือเป็นองค์ความรู้ใหม่รองรับสังคมผู้สูงอายุ
73 ดร.จักรกฤช ณ นคร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น/นิติศาสตร์
74 นายนภพล รัตนสุนทร วิทยาลัยเทคนิคนครนายก เกษตรกรรม ไฟฟ้า
75 ผศ.ดร.วัฒนณรงค์ มากพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 1. พลังงานทดแทนจากกระบวน Fermentation 2. การจัดการขยะ 3. การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน 4. เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม
76 นายศตายุ ร่มเย็น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - Transportation and Logistic System - Business Administration - Customer Service Standards - Incentive specialist
77 สุวรรณี เจียรสุุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเกษตรอินทรีย์ คอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่น การบริหารจัดการธุรกิจเกษตร
78 นางสาวพัชญทัฬห์ กิณเรศ มหาวิทยาลัยนครพนม ไม้กวาดจากขวดลพาสติก ที่มาจากขวดพลาสติกเหลือใช้ของชุมชน
79 ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
80 ดร.ธีรพรรณ อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการ บริหารธุรกิจ การเงิน
81 ผศ.มลิจันทร์ ทองคำ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตลาด การบัญชี การจัดการ
82 นายสถิติพงษ์ เอื้ออารีมิตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Multimedia, Photography, Content Marketing, Knowledge Management
83 ผศ.ณัฏฐาพงศ์ อภิโชติเดชาสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ความเชี่ยวชาญ : การพัฒนาชุมชน
84 นางอัญชาภัทร์ โพชนุกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การส่งเสริมการเกษตร (ศูนย์การเรียนรู้)
85 อาจารย์ ดร. ศุภรัตน์ วัลกานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การจัดการ
86 อาจารย์ ดร. โชติกา ฉิมงามเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ การตลาด,บริหารจัดการ,บริหารธุรกิจ,การจัดการบัญชี,ระบบการจัดการ
87 อาจารย์ รังสรรค์ นามวงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
88 อาจารย์ ธีรนุช สุมขุนทด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ บริหารทรัพยากรมนุษย์
89 ผศ.ดร.เบญจวรรณ ศฤงคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี บริหารธุรกิจ การจัดการ การพัฒนาธุรกิจวิสาหกิจชุมชนด้านการบริหาร
90 ผศ.ดร.อรจิรา ธรรมไชยางกูร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว และการประเมินผลความสำเร็จการดำเนินงาน
91 นางพจมาน วงษ์วิบูลย์สิน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินงานจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ทำหน้าที่ได้ประสานงานติดต่อกับผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินจัดกิจกรรม จัดโครงการต่างๆ รวมถึงได้ลงพื้นสำรวจความต้องการของชุมชน และหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคณะทำงานมีการจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา โครงการต่างๆ ที่คณะได้จัดขึ้นจะยึดตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าของชุมชน เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วย
92 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม
93 นางสาวศิรินทิพย์ กุลจิตรตรี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การตลาดดิจิทัล การตลาดออนไลน์ การจัดการการค้าปลีกและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การบริหารธุรกิจการตลาด
94 นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
95 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
96 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตวิชญ์ สุขอึ้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่
97 ผศ.ซินเนีย รัติภัทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก การจัดการธุรกิจ การจัดการความรู้ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ แผนธุรกิจ
98 ดร.จิตรา ปั้นรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก - การเขียนแผนธุรกิจ - การวิเคราะห์ต้นทุน - การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการตลาด
99 ผศ.ดร.สุรินทร์ พิทักษ์สิกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การจัดการแผนธุรกิจ OTOP SME
100 ปิยรัตน์ วงศ์จุมมะลิ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การค้นหาทุนชุมชน ปราชญ์ และการจัดตั้งกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
101 ผศ.ดร.ธนกร สิริสุคันธา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การบริหารและการจัดการชุมชน การมีส่วนร่วม
102 นายสมศักดิ์ ก๋าทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง การจัดการชุมชนและภูมิปัญญา
103 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม Road Safety Engineering วิศวกรรมโยธา
104 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิดา จุมปา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน การพัฒนากลุ่ม
105 นางสาวกฤติณา นิวรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย การพัฒนาชุมชน
106 อ.จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี การพัฒนาเอกลักษณ์ชาติพันธุ์ การพํฒนาอาหารพื้นบ้านชาติพัธุ์ วัฒนธรรมไทยทรงดำ
107 ดร.รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักการวัดผล ประเมินผล การวิจัย และสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
108 ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเงินและธนาคารอิสลาม
109 ผศ.ดร.ดุษฎี นาคเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การวางแผนกลยุทธ์องค์กร การวางแผนและกำหนดทิศทางการพัฒนางานวิจัยขององค์กร
110 นางนินุสรา มินทราศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเกษตรและการพัฒนาชนบท การบริหารและการพัฒนาองค์กร
111 ดร.รุ้งลาวัณย์ จันทรัตนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หลักการวัดผล ประเมินผล การวิจัย และสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
112 รองศาสตราจารย์นันทรัตน์ นามบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา แนวคิด เพื่อการพัฒนา การบริหารจัดการการท่องเที่ยว
113 ผศ.ณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี/ชีวเคมี พฤษเคมี พรีไบโอติก การตรวจวิเคราะห์โปรตีน 2.ก๊าซชีวภาพ การกำจัดของเสีย การบำบัดน้ำเสีย
114 นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ วิทยาลัยชุมชนพังงา การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน / คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ /การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
115 นางปราณี สถิตบรรจง วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ด้านการตลาดและการคํานวนต้นทุน กําไร ในการผลิต และออกแบบลายผ้า
116 นายอัครชัย บุญประเสริฐ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู การทำบัญชีครัวเรือน
117 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ เหลาลาภะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจัดการความรู้และการพัฒนาแนวทางส่งเสริม การจัดการความรู้ของเกษตรกร
118 ดร.วรีวรรณ เจริญรูป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบัญชี - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
119 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แววดาว พรมเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - งานวิจัยเชิงปริมาณ - ผู้ช่วยจัดกระบวนกร (Facilitator) - การบัญชี
120 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย - การบัญชี - การเงินธุรกิจ - การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ - การประเมินโครงการลงทุน
121 ดร.ปวีรัฐ ภักดีณรงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านแนวทางการจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพ การลำดับความสำคัญ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
122 ดร.มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การจัดการชุมชน การบริหารการตลาด ต่อยอดสินค้าชุมชน
123 ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
124 อ.พิมพ์พร ภูครองเพชร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานบริการวิชาการ สินค้าชุมชน การจัดการมนุษาวิทยา การจัดการชุมชนและท้องถิ่น
125 ดร.สุรเชต น้อยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การออกแบบหลักสูตรเพื่อการจัดการชุมชนที่ดี และการใช้เทคโนโลยีในการจัดการ
126 ดร.ธายุกร พระบำรุง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจชุมชนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบและของเสียในท้องถิ่น การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม การปรับตัวขององค์กรธุรกิจชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจชุมชนแบบองค์รวม และการจัดทำฉลากคาร์บอน
127 ผศ.ดร.อุทุมพร หลอดโค มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร การส่งเสริมการมีส่วนร่วมชุมชน การจัดการทุนวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
128 อาจารย์อังศุมา ก้านจักร มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม การศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ,คุณภาพน้ำ,การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำในท้องถิ่น,กระบวนการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน
129 ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเงินและธนาคารอิสลาม
130 นางนินุสรา มินทราศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การเกษตรและการพัฒนาชนบท การบริหารและการพัฒนาองค์กร
131 ดร.ยุทธนา กาเด็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การบริหารและการพัฒนาองค์กร
132 ผศ.ดร.ณัฎ​ฐ​กานต์​ ​พฤกษ์& มหาวิทยาลัยบูรพา การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ, การท่องเที่ยวยั่งยืน, การท่องเที่ยวเกษตร
133 ธินิกานต์ สังข์สุวรรณ มหาวิทยาลัยบูรพา การท่องเที่ยวและบริการ
134 นางนิตยา เอกบาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง การส่งเสริมงานด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดการขยะชุมชน
135 นางสาวชุดาภรณ์ ทองจุน วิทยาลัยชุมชนพังงา ด้านเศรษศาสตร์และการจัดการ บริหารธุรกิจ
136 นางสาวอรุณวรรณ มุขแก้ว วิทยาลัยชุมชนพังงา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการชุมชน การท่องเที่ยว
137 อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
138 อาจารย์ กุลสตรี ปริญญา มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ
139 ดร.วาสนา ศรีนวลใย มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การพัฒนาชุมชน การสื่อสารชุมชน
140 นายนิกร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน
141 นายสมพร สาระการ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มัคคุเทศก์​ ท่องเที่ยวชุมชน การบันทึกข้อมูลผลิตภัณพ์ อ.ย. ขลู่ สครับจากเปลือกหอย
142 อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
143 นางสาวปวีณา จารุศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร - รัฐประศาสนศาสตร์ - เศรษฐกิจพอเพียง - การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน - การบริหารจัดการชุมชน
144 ผศ.ดร.กุลยา สารชีวิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การบริหารจัดการโครงการ วางแผนและควบคุมดูแลโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย งานทางด้านสิ่งแวดล้อม วิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรม
145 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญทิพย์ ศิริพรอัครชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน - การจัดทำแผนธุรกิจด้วย BMC - นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine)
146 อาจารย์กัญญ์ณพัชญ์ พลเยี่ยม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม, การออกแบบผังการผลิต
147 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินีเพ้ญ มะลิสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
148 อาจารย์ ดร. กัลยรัตน์ พินิจจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การจัดการ การค้า การตลาด
149 ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการน้ำ
150 อาจารย์ปิยพันธุ์ แสงทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
151 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ การบริหารจัดการเครือข่ายชุมชน
152 ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน
153 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
154 ดร.เผชิญวาส ศรีชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
155 อาจารย์รัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการความรู้ และการวิเคราะห์ผลกระทบ
156 อาจารย์ โอปอลล์ รังสิมันตุชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เทคโนโลยีการจัดการชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
157 ผศ.หทัยกาญจน์ ทองศรีสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ด้านบัญชีและการเงิน การจัดการธุรกิจชุมชน
158 นายธนาวิทย์ กางการ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ด้านแผนพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ด้านนวัตรกรรมแนวคิดทางศาสนาพุทธ นวัตววิถี
159 ผศ.ดร.กัญญาณัฐ สุนทรประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยพะเยา เทคโนโลยีชีวภาพด้านการประมง
160 อาจารย์ โฆษิต ไชยประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศบ. พัฒนาชุมชน ม.สงขลานครินทร์ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศม. ชนบทศึกษาและการพัฒนา ม.ธรรมศาสตร์ ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาชุมชน การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
161 นางสาวกัลยา พงสะพัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า
162 อาจารย์ปัญกิจ แก้วเหล็ก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การจัดการขยะ วัสดุคาร์บอนต่ำ
163 นายอาทิตย์ จูฑามาตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยากรกระบวนการ และกระบวนการพัฒนากลุ่ม ผู้ใช้น้ำ
164 อาจารย์พิสุทธิลักษณ์ บุญโต มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกภาษาเยอรมัน วิชาโทสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมและการพัฒนา) มหาวิทยาลัยมหิดล วุฒิการศึกษาปริญญาเอก (กำลังศึกษา) Philosophy of Doctor (Architectural Heritage Management) มหาวิทยาลัยศิลปากร ความเชี่ยวชาญ พิพิธภัณฑ์ / มรดกวัฒนธรรม / การจัดการวัฒนธรรม สาขาความเชียวชาญ การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
165 ผศ.ดร.วิกรม บุญนุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร การเป็นที่ปรึกษาด้าน PMQA การบริหารจัดการองค์กร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
166 ดร.ภูวนารถ ศรีทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มีประสบการณ์ด้านการจัดกการท่องเที่ยวทั้งภาคทฤษฏีและการปฏิบัติงานในสาขาการท่องเที่ยว การโรงแรม และบริการ