แนวทางการบูรณาการโครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างรอบด้าน  108

คำสำคัญ : บูรณาการ  โครงการ  ผู้ประกอบการ  

แนวทางการบูรณาการโครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างรอบด้าน

1.ปัญหาของการดำเนินงานในปัจจุบันขาดการบูรณาการ การทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

แนวทางการแก้ไขด้วยการจัดทำฐานข้อมูลเมื่อแต่ละหน่วยงาน ในการส่งเสริม และบูรณาการบนพื้นฐานของข้อมูลทั้งใน ทั้ง ด้านเนื้อหา หรือ กระบวนการส่งเสริม

ตลอดจนการ ให้มีฐานข้อมูลทั้งใน รวมถึงผลงานด้านยอดขาย ที่จะเป็นแนวทางทางในการบูรณาการ การทำงานระหว่างหน่วยงานและการส่งต่อ

ผลที่คาดว่าจะได้รับจะทำให้ผู้ประกอบการได้รับการ ส่งเสริม “ในแต่ละด้าน” ต้องไปหาทางแก้ปัญหา เชื่อม ต่อเครื่องมือซึ่งจะทำให้การทำธุรกิจ ประสบความสำเร็จ

และป้องกับปัญหาการดำเนินการโครงการมักเกิดความซ้ำซ้อน ทั้งใน ทั้ง ด้านเนื้อหา กิจกรรม

 

2.ปัญหาของการดำเนินงานในปัจจุบันการจัดทำโครงการ งบประมาณ เป็นแบบ Top-Down และหลักการประมาณการงบประมาณมักเกี่ยวข้องกับ “จำนวนราย”

ของผู้ประกอบการ และเมื่อมีการดำเนินการไปแล้ว หากกลุ่มเป้าหมายไม่ครบ หรือสถานการณ์อาจมีการ ปรับเปลี่ยน หน่วยงานสามารถเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายไป

เพื่อให้ได้ครบตามจำนวน

แนวทางการแก้ไขการเสนอโครงการจะต้องจัดทำแผนงาน งบประมาณ โดยในปัจจุบัน ผู้ประกอบการ Micro มีจำนวนมาก ด้วยตัวแปร เหล่านี้ผู้ประกอบการ

Micro จะได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานค่อนข้างมาก

จึงควรมีการกระจายโครงการตามระดับของผู้ประกอบการ และแต่ละโครงการจะมีการส่งเสริมเป็น “เฉพาะด้าน” มากขึ้นแนวตามภารกิจของหน่วยงานนั้นๆ  

ผลที่คาดว่าจะได้รับเนื่องด้วยปัญหาธุรกิจมีความซับซ้อน การจัดความต่อเนื่องแต่ละโครงการที่อ้างอิงตามระดับของผู้ประกอบการ อีกทั้งจะทำให้มีการส่งเสริมเป็น

“เฉพาะด้าน” มากขึ้น และจะมีการส่งต่อ  บูรณาการการจับคู่ระหว่าง หน่วยงาน และผู้ประกอบการให้สอดคล้องกัน อาทิส่งเสริมด้านผลิตภัณฑ์ สู่การสร้างยอดขาย

หรือส่งเสริมด้านการตลาด Online และสามารถสร้างยอดขาย Online ได้เป็นต้น

 

3.ปัญหาของการดำเนินงานในปัจจุบันโครงการปลายน้ำ มี น้อยเกินไป จากการรวบรวมข้อมูลพบว่าโครงการปลายน้ำ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการตลาด

การขาย หรือการจัดแสดงสินค้า คิดเป็นร้อยละ 7 ของกิจกรรม ทั้งหมด

แนวทางการแก้ไขมีการส่งเสริมผู้ประกอบการที่ขาดโอกาสในการขาย/ทดลองตลาด หน่วยงานภาครัฐที่ส่งเสริมผู้ประกอบการตามภารกิจของหน่วยงาน

ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการต้นน้ำ/กลางน้ำ ให้มีโอกาส “ลงมือ” เอาสิ่ง ที่ได้ “พัฒนา” สู่ตลาด ภาครัฐมีระบบส่งต่อ การเชื่อม ต่อกิจกรรมระหว่างหน่วยงาน

ทำให้ผู้ประกอบการได้เข้าถึงโครงการ ปลายน้ำ

ผลที่คาดว่าจะได้รับการพัฒนาโครงการจะสะท้อนปัญหา หรือตอบโจทย์ความต้องการด้าน การตลาด การขาย และการขยายตลาดมากยิ่งขึ้น เกิดการเชื่อมโยง

แผนงานโครงการต่างๆ ภายใต้แผนปฏิบัติการส่งเสริม SME ให้มีการนำผู้ประกอบการที่ ได้รับการพัฒนา /ส่งเสริ ม สู่โอกาสในการตลาด / การขายมากยิ่งขึ้ น

การพัฒนาแนวทางให้โครงการมีการนำข้อมูลในเชิง Market Insight & Market Platform มาประกอบในการพัฒนาโครงการให้มากยิ่งขึ้น

ซึ่งแนวคิดเหล่านี้มาจากการอ้างอิงผลการศึกษาจากผลการสำรวจการสรุปปัญหาจากมุมมองของผู้ประกอบการ

 


เขียนโดย : นายทินกร  รสรื่น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : tinnakorn.r@mhesi.go.th