เครือข่ายส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กปว.#
  • บริการของ กปว.
    • โครงการ
    • เทคโนโลยี
    • ผู้เชี่ยวชาญ
    • คำปรึกษา/ลูกค้า
    • ผลิตภัณฑ์
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • หน้าหลัก
  • Friday, May 16, 2025 เวลา :

เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด

รหัส
4681
ชื่อ
การผลิตเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ ชม 173 ครั้ง
เจ้าของ
นายสมเกียรติ ตันตา
เมล์
รายละเอียด

การเลี้ยงสัตว์น้ำการเพาะเลี้ยงกบ ปลา การดูแล การเตรียมสถานที่เลี้ยง การให้อาหาร โรคที่พบในการเลี้ยงสัตว์น้ำ

      กบเพศผู้และกบเพศเมียสามารถแยกเพศได้ด้วยตาเปล่าได้ดังนี้ 1.กบเพศผู้จะมีลำตัวเล็กกว่าเพศเมียเมื่ออายุครบ 3 เดือน 2. กบเพศผู้จะมีกล่องเสียงใต้คางทั้ง 2 ข้าง มีจุดสีดำเมื่อกบส่งเสียงร้องกล่องเสียงทั้ง 2 ข้างจะขยายใหญ่เหมือนลูกโป่ง ดังนั้น หากต้องการจะแยกเพศจะต้องสังเกตลักษณะภายนอกให้ดี
      กบและปลาดุกเป็นสัตว์กินเนื้อเหมือนกันแต่ต้องการเปอร์เซ็นการเจริญเติบโตที่ต่างกันจึงไม่แนะนำให้ใช้แทนกัน แต่ถ้าหากอาหารกบหมด เป็นเหตุสุดวิสัย หรือจำเป็น สามารถให้แทนกันในบางครั้ง
      การเลี้ยงกบสามารถเลี้ยงได้หลายรูปแบบ เช่น การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ การเลี้ยงในกระชัง การเลี้ยงในขวด การเลี้ยงในรูปแบบการกักขังแบบอื่นๆ ขึ้นอยู่กับต้นทุน ความถนัด พื้นที่ และความรู้
      กบเป็นสัตวกินเนื้อ และกินสัตว์ที่เคลื่อนไหวเป็นอาหาร ดังั้นนิสัยของกบ จึงชอบกัดกันโดยเฉพาะกบที่มีตัวเล็กกว่า จะถูกกัดกิน ซึ่งมีวิธีการแก้ไขปัญหาดังนี้ 1.ดัดขนาดทุกๆ 7 วัน 2.ให้อาหารอย่างเพียงพอ
       นอกจากใช้อาหารเม็ดสำเร็จรูปในการเลี้ยงกบ กบยังสามารถกินแมลงได้ เช่น แมลงเม่า ไส้เดือน ปลวก เป็นอาหารได้ แต่ควรให้สลับกันกับอาหารเม็ด
       น้ำที่เหมาะสมในการเพ่าเลี้ยงกบครวเป็นน้ำจากแหล่งธรรมชาติ  เช่น แม่น้ำ ครอง หนอง บึง หากเป็นน้ำปะปาควรมีการพักน้ำ 2-3 วัน เพื่อให้คลอรันสลายตัวหมดเสียก่อนที่จะนำมาใช้ เนื่องจาดครอรีนอาจทำให้กบตายได้ 

คำสำคัญ
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  
บันทึกโดย
น.ส.กัญญารัตน์  โพธิตา  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง

รายละเอียดผู้รับบริการ

ไม่พบข้อมูลผู้รับบริการ




สงวนลิขสิทธิ์ © 2568 กลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม(ธท.) กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)
มีปัญหาแจ้งได้ที่ ekapong at mhesi.go.th