Knowledge Sharing ชุมชนแห่งการเรียนรู้...
บทบาทสถาบันอุดมศึกษาต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย : ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 129
บทบาทสถาบันอุดมศึกษาต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย : ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บรรยายโดย ผศ.ดร.กำไร เบือนสันเทียะ ผู้ก่อตั้งสำนักงานเศรษฐกิจโคราช เทคโนธานี และ ดร.นน อัครประเสริฐกุล ผู้ร่วมก่อตั้ง สำนักงำนเศรษฐกิจโคราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผู้เชี่ยวชาญส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลอาวุโส สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeastern Economic Corridor : NeEC)
• ผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่สอดคล้องกับนโยบยรัฐบาลที่ต้องการดึงเงินทุนจากต่างประเทศมาพัฒนาพื้นที่
• เร่งให้เกิดการพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรมต้นแบบที่สามารถลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ แก้ไขปัญหาความยากจนสร้างความเข้มแข็งให้คนอีสานคืนถิ่น และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
• เพื่อบรรลุการพัฒนาเศรษฐกิจที่สร้างความสุขให้ประชาชนไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเศรษฐศาสตร์แห่งความสุข Economics of Happiness : Happinomics มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
แนวความคิดริเริ่ม Formulating Initiatives NeEC
1. โครงสร้างพื้นฐาน 4.0 : โครงการสำคัญได้แก่ สนามบินภูมิภาค ท่าเรือบก ศูนย์โลจิสติกส์และ 10 เขตอุตสาหกรรม
2. 10x Business Ecosystem : ดำเนินนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อลดอุปสรรคจูงใจในการลงทุนและสนับสนุนการเติบโตของ SMEs และสตาร์ทอัพในท้องถิ่น
3. Human Capital : โปรแกรม ReskillUpskill-Newskill การฝึกอบรมสายอาชีพ และความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานที่ชาญฉลาดและสมรรถนะสูง
4. Urban-2-Rural Development : โครงการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนการปรับปรุงการเกษตรทันสมัย การพัฒนาเศรษฐกิจชนบทการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และยั่งยืน
5. Smart Investment : มีระบบการส่งเสริมการลงทุนจากการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ มีสำนักงานประสานงานกลาง-ท้องถิ่น (นำร่องด้วย Korat Economic Agency : KEA)
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ปี 2564 โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะได้รับการพัฒนาให้เป็นฐานอุตสาหกรรมบีซีจี อุตสาหกรรมแปรรูปพืชและเนื้อสัตว์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมอนาคต (ระบบรางศูนย์กลางโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเป้าหมายและ อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ) รวมทั้งเป็นพื้นที่พัฒนาอารยธรรมอีสานใต้และสามารถเชื่อมต่อกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก EEC ทั้งในด้านกิจกรรมการผลิต การวิจัยและพัฒนา การขนส่งและโลจิสติกส์
“บทบาทสถาบันอุดมศึกษาต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย” : ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”
• ความท้าทายที่ NeEC และสถาบันอุดมศึกษาเผชิญในการมีส่วนร่วมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องของทุนโครงสร้างพื้นฐาน หรือช่องว่างทักษะ
• โอกาสในการเพิ่มบทบาทของอุดมศึกษาใน NeEC เช่น ผ่านการร่วมมือของภำครัฐและเอกชน การทำงานร่วมกันระหว่างประเทศ หรือการปฏิรูปนโยบาย
5 ภาคีเครือข่ายการพัฒนา NeEC 4 จังหวัด (นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี และหนองคาย)
ฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ NeEC เพื่อการพัฒนา เขตธุรกิจใหม่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (4 จังหวัด)Esan New Business Zone
1. ประชาชน/เกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน/ YSFสภาเกษตรกรสภาอุตสาหกรรม
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เครือข่ายอุดมศึกษาภาคอีสานอาชีวศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา
3. กระทรวงต่าง ๆ งบแหล่งเงินกู้งบในและต่างประเทศการระดมทุน
4. นักการเมืองพื้นที่ อปท : 3 พี่น้องท้องถิ่น อบจ., เทศบาล, อบต.
5. เอกชน Startup/Spinoff mSME/SME Corporate
สรุป : บทบาทสถาบันอุดมศึกษาต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย
• การพัฒนาหลักสูตร Sandbox และหลักสูตรพันธุ์ใหม่เพื่อ“สร้างคน” ที่สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรรมรูปแบบใหม่ที่ทันสมัย
• การพัฒนาวัมนธรรมการเรียนรู้ที่สามารถสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมได้เพื่อ “สร้างเศรษฐกิจมูลค่าสูง”
• พัฒนาระบบนิเวศการร่วมลงทุน เช่น Holding Company/ Capital Investment
https://www.facebook.com/SenateThailand