เครือข่ายส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กปว.#
  • บริการของ กปว.
    • โครงการ
    • เทคโนโลยี
    • ผู้เชี่ยวชาญ
    • คำปรึกษา/ลูกค้า
    • ผลิตภัณฑ์
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • หน้าหลัก
  • Friday, May 16, 2025 เวลา :

เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด

รหัส
3966
ชื่อ
เทคนิคการปลุกผักเชียงดาเชิงพานิชย์ ให้ได้สารเจเนมิคสูงและสารต้านอนุมูลอิสระสูง เพื่ออุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ชม 280 ครั้ง
เจ้าของ
ผศ. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ โทร 08-1885-5147
เมล์
parinyawadee@rmutl.ac.th
รายละเอียด

สายพันธุ์ที่เหมาะสม สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้รวบรวมและศึกษาวิจัยเพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ผักเชียงดาที่ให้ผลผลิตสูงเพื่อเป็นต้นพันธุ์ส้าหรับการพัฒนาสายพันธุ์ที่มีปริมาณกรดจิมเนมิคและสารต้านอนุมูลอิสระสูง ส้าหรับใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร มีจ้านวน 2 สายต้นที่มีศักยภาพสูง คือสายต้นเบอร์ 4 และ เบอร์ 6 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่แตกต่างกันที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด คือ สายต้นเบอร์ 4 มีลักษณะใบกลม หนา และยอดอวบสั น ส่วนสายต้นเบอร์ 6 มีลักษณะใบยาวรี บาง และยอดยาวยอดยาว  และมีปริมาณกรดจิมเนมิคในผักเชียงดาอบแห้งร้อยละ 1.51 – 1.53 ซึ่งปริมาณกรดจิมเนมิคที่มีผลต่อการลดน้าตาลในเลือดควรมีไม่ต่้ากว่าร้อยละ 1.2 (gravimetric method)

 

ดาวส์โหลดเอกสารเทคนิคการปลูก...

คำสำคัญ
ผักเชีงดา  เจเนมิค  อนุมูลอิสร  ลำปาง  
บันทึกโดย
นายเอกพงศ์  มุสิกะเจริญ  สำนักงานปลัดกระทรวง

รายละเอียดผู้รับบริการ

ไม่พบข้อมูลผู้รับบริการ




สงวนลิขสิทธิ์ © 2568 กลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม(ธท.) กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)
มีปัญหาแจ้งได้ที่ ekapong at mhesi.go.th