เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
ถ่านอัดแท่ง
ชม 80,012 ครั้ง
62
เจ้าของ
อ.อุกฤษฏ์ โข่ศรี
เมล์
khosree@hotmail.com
รายละเอียด
พลังงานทางเลือกในยุคน้ำมันแพง
พูดถึงเรื่องพลังงานทางด้านเชื้อเพลิง ถ่าน ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ในครัวเรือน ในการประกอบอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ฯลฯ โดยเฉพาะอาชีพค้าขายประเภทดังกล่าว เช่น ไก่ย่าง เป็นต้น ที่ต้องใช้ถ่านเป็นประจำ
เมื่อหลายปีก่อน คนเราจะคุ้นเคยและเคยชินกับถ่านไม้เท่านั้น ซึ่งได้จากการนำแท่งฟื้นไม้ มาเผาเป็นถ่าน แต่ด้วยพระอัจฉริยภาพอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเล็งเห็นเกี่ยวกับการขาดแคลนไม้ในอนาคต รวมทั้งพลังงานด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านน้ำมัน พระองค์ทรงมีพระราชดำริ ให้วิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนน้ำมันตั้งแต่ราคาน้ำมันยังถูกๆ แต่ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระองค์ท่าน จึงเกิดโครงการในพระราชดำริต่างๆมากมายในปัจจุบัน ในด้านการผลิตถ่าน พระองค์ทรงมีพระราชดำริในการนำวัสดุเหลือใช้ เช่น ผักตบชวา มาอัดเป็นแท่งเชื้อเพลิง ซึ่งเรียกว่า เชื้อเพลิงเขียว และถ่านจากแกลบ ซึ่งปัจจุบันโครงการส่วนพระองค์ในสวนจิตรดา ก็มีโครงการเกี่ยวกับการผลิตถ่านอัดแท่ง ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเยี่ยมชม เพื่อจะได้นำความรู้ไปพัฒนาสำหรับการประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเองเพื่อความเป็นอยู่ที่พอเพียงต่อไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับถ่านอัดแท่ง
กรรมวิธีการผลิต
หลักการผลิตถ่านอัดแท่งมี 2 วิธี คือ
- การอัดร้อน เป็นการอัดวัสดุโดยที่วัสดุไม่จำเป็นต้องเป็นถ่านมาก่อน เมื่ออัดเป็นแท่งเสร็จแล้ว ค่อยนำเข้าเตาให้เป็นถ่านอีกครั้งหนึ่ง วัสดุที่สามารถผลิตโดยวิธีการอัดร้อน ขณะนี้มี 2 ชนิด คือ แกลบ และขี้เลื้อย เพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้เมื่อโดนอัดด้วยความร้อน จะมีสารในเนื้อของวัสดุยึดตัวมันเอง จึงทำให้สามารถยึดเกาะเป็นแท่งได้ โดยที่ไม่ต้องใช้ตัวประสาน โดยที่เครื่องอัดต้องเป็นเครื่องอัดชนิดอัดร้อน ซึ่งราคาค่อนข้างสูง
- การอัดเย็น เป็นการอัดวัสดุที่เผาถ่านมาแล้ว แล้วนำมาผสมกับแป้งมันหรือวัสดุประสานอื่นๆ โดยทั่วไปจะเป็นแป้งมัน ถ้าวัสดุใดมีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว เมื่อผ่านการเผาแล้ว ต้องมีเครื่องบดให้ละเอียดก่อน แล้วค่อยนำมาผสมกับแป้งมันและนำในอัตราส่วนตามที่ต้องการ
วัสดุที่ใช้ในการผลิตถ่านอัดแท่ง
วัตถุดิบในการผลิตถ่านอัดแท่ง มีหลากหลายชนิด เช่น ซังข้าวโพด กะลามะพร้าว แกลบ ขี้เลื้อย ฟางข้าว ชานอ้อย ต้นมันสำปะหลัง เหง้ามันสำปะหลัง หญ้าคา หญ้าขจรจบ ไมยราบ ผักตบชวา ใบจามจุรี กะลาปาล์ม ต้นฝ้าย ต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากทานตะวัน เปลือกทุเรียน เศษถ่านหุงต้มที่เหลือใช้จากการใช้แล้ว ฯลฯ (ข้อมูลจาก กรมพัฒนาและการส่งเสริมพลังงาน,2535)
ส่วนผสมของถ่านอัดแท่ง
ผงถ่าน 10 กิโลกรัม
แป้งมัน 0.5 กิโลกรัม
น้ำ 3 ลิตร
(ปริมาณน้ำสามารถปรับได้ ขึ้นอยู่กับความชื้นของวัสดุ)
เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
- เครื่องบด (สำหรับวัสดุที่มีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว ซังข้าวโพด ฯลฯ)
- เครื่องผสม สามารถใช้เครื่องผสมทั่วไปได้ หรือผสมมือก็ได้
- เครื่องอัดแท่งถ่าน ถือเป็นหัวใจหลักมี 2 ชนิด คือ แบบอัดร้อนและแบบอัดเย็น
คุณสมบัติของถ่านอัดแท่ง
- ให้ความร้อนสูง เนื่องจากเป็นถ่านที่ได้รับการเผาไหม้เต็มที่
- ปลอดภัยไม่มีสารตกค้างและไม่ทำลายสุขภาพ เพราะถ่านได้ถูกเผาไหม้ด้วยอุณหภูมิเกิน 800 องศา
- ทนทานสามารถใช้งานได้นานกว่าถ่านไม้ธรรมดาถึง 2.5 3 เท่า
- ประหยัดเพราะใช้ได้นาน ไม่แตก และไม่ดับเมื่อติดแล้ว ทำให้ไม่มีการเสียเปล่า เนื่องจากถ่านจะเผาไหม้จนกว่าจะกลายเป็นขี้เถ้า
- ไม่แตกประทุอย่างถ่านไม้ทั่วไป
- ไม่มีควัน เนื่องจากความชื้นน้อยมาก
- ไม่มีกลิ่น เพราะผลิตจากวัสดุธรรมชาติ 100% ไม่ผสมสารเคมีใดๆ
- ไม่ดับกลางคัน แม้ว่าจะใช้ในที่ที่อากาศถ่ายเทน้อย ทำให้ไม่ต้องเปลี่ยนถ่านบ่อยๆ
- ให้ความร้อนสูงสม่ำเสมอ ไม่วูบวาบเนื่องจากความหนาแน่นของถ่านไม่เท่ากันทุกส่วน
ราคาของถ่านอัดแท่ง
ราคาของถ่านอัดแท่งจะขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุที่ใช้ผลิตถ่านอัดแท่ง ราคาโดยทั่วไปจะอยู่ประมาณกิโลกรัมละ 15 20 บาท ซึ่งจะดูแพงกว่าถ่านไม้ แต่ถ้าเปรียบเทียบคุณภาพและระยะเวลาการเผาไหม้ ถือว่าคุ้มค่ากว่าถ่านไม้
จากผลการวิจัย สรุปได้ว่า การนำดินเหนียวที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 50 มาผสมแทนแป้งมัน ไม่มีผลต่อคุณภาพแท่งถ่านมากนัก ซึ่งถือว่าเป็นการลดต้นทุนการผลิตลงได้มาก และอัตราส่วนที่เหมาะสมจะอยู่ประมาณ 10% ของปริมาณผงถ่าน
การพัฒนาส่วนผสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต
ถึงแม้ว่า ถ่านอัดแท่งในปัจจุบัน อาจยังมองเป็นเรื่องไกลตัวสำหรับหลายคน เพราะส่วนใหญ่นิยมใช้แก๊สหุงต้ม แต่ในอนาคตไม่ไกลข้างหน้า ถ้าวันหนึ่งไม้หมดหรือไม่เพียงพอ ปัญหาจะตามมาอย่างแน่นอน ดังนั้นเพื่อเป็นการนำวัสดุที่เหลือใช้ให้กลับมามีประโยชน์และคุณค่าอีกครั้ง และเพื่อนำเสนอใต้เบื้องพระยุคลบาทของพระองค์ท่าน เราควรตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และหาพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนพลังงานหลักที่มีราคาสูง
ถ่านอัดแท่ง จึงน่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม ถึงแม้เครื่องจักรจะมีราคาสูง แต่ในปัจจุบันมีงานวิจัยและพัฒนาด้านเครื่องอัดถ่านสำหรับชุมชน รวมทั้งพัฒนาด้านส่วนผสมในการลดต้นทุน ซึ่งก็น่าจะทำให้ถ่านอัดแท่งกลับมามีความน่าสนใจในการประกอบอาชีพอยู่ไม่น้อย ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะลงมือทำก่อนเท่านั้นเอง
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อที่
อ.อุกฤษฏ์ โข่ศรี 08-3140-7086 ,E-mail : maiolto:khosree@hotmail.com
หรือ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
พูดถึงเรื่องพลังงานทางด้านเชื้อเพลิง ถ่าน ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ในครัวเรือน ในการประกอบอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ฯลฯ โดยเฉพาะอาชีพค้าขายประเภทดังกล่าว เช่น ไก่ย่าง เป็นต้น ที่ต้องใช้ถ่านเป็นประจำ
เมื่อหลายปีก่อน คนเราจะคุ้นเคยและเคยชินกับถ่านไม้เท่านั้น ซึ่งได้จากการนำแท่งฟื้นไม้ มาเผาเป็นถ่าน แต่ด้วยพระอัจฉริยภาพอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเล็งเห็นเกี่ยวกับการขาดแคลนไม้ในอนาคต รวมทั้งพลังงานด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านน้ำมัน พระองค์ทรงมีพระราชดำริ ให้วิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนน้ำมันตั้งแต่ราคาน้ำมันยังถูกๆ แต่ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระองค์ท่าน จึงเกิดโครงการในพระราชดำริต่างๆมากมายในปัจจุบัน ในด้านการผลิตถ่าน พระองค์ทรงมีพระราชดำริในการนำวัสดุเหลือใช้ เช่น ผักตบชวา มาอัดเป็นแท่งเชื้อเพลิง ซึ่งเรียกว่า เชื้อเพลิงเขียว และถ่านจากแกลบ ซึ่งปัจจุบันโครงการส่วนพระองค์ในสวนจิตรดา ก็มีโครงการเกี่ยวกับการผลิตถ่านอัดแท่ง ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเยี่ยมชม เพื่อจะได้นำความรู้ไปพัฒนาสำหรับการประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเองเพื่อความเป็นอยู่ที่พอเพียงต่อไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับถ่านอัดแท่ง
กรรมวิธีการผลิต
หลักการผลิตถ่านอัดแท่งมี 2 วิธี คือ
- การอัดร้อน เป็นการอัดวัสดุโดยที่วัสดุไม่จำเป็นต้องเป็นถ่านมาก่อน เมื่ออัดเป็นแท่งเสร็จแล้ว ค่อยนำเข้าเตาให้เป็นถ่านอีกครั้งหนึ่ง วัสดุที่สามารถผลิตโดยวิธีการอัดร้อน ขณะนี้มี 2 ชนิด คือ แกลบ และขี้เลื้อย เพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้เมื่อโดนอัดด้วยความร้อน จะมีสารในเนื้อของวัสดุยึดตัวมันเอง จึงทำให้สามารถยึดเกาะเป็นแท่งได้ โดยที่ไม่ต้องใช้ตัวประสาน โดยที่เครื่องอัดต้องเป็นเครื่องอัดชนิดอัดร้อน ซึ่งราคาค่อนข้างสูง
- การอัดเย็น เป็นการอัดวัสดุที่เผาถ่านมาแล้ว แล้วนำมาผสมกับแป้งมันหรือวัสดุประสานอื่นๆ โดยทั่วไปจะเป็นแป้งมัน ถ้าวัสดุใดมีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว เมื่อผ่านการเผาแล้ว ต้องมีเครื่องบดให้ละเอียดก่อน แล้วค่อยนำมาผสมกับแป้งมันและนำในอัตราส่วนตามที่ต้องการ
วัสดุที่ใช้ในการผลิตถ่านอัดแท่ง
วัตถุดิบในการผลิตถ่านอัดแท่ง มีหลากหลายชนิด เช่น ซังข้าวโพด กะลามะพร้าว แกลบ ขี้เลื้อย ฟางข้าว ชานอ้อย ต้นมันสำปะหลัง เหง้ามันสำปะหลัง หญ้าคา หญ้าขจรจบ ไมยราบ ผักตบชวา ใบจามจุรี กะลาปาล์ม ต้นฝ้าย ต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากทานตะวัน เปลือกทุเรียน เศษถ่านหุงต้มที่เหลือใช้จากการใช้แล้ว ฯลฯ (ข้อมูลจาก กรมพัฒนาและการส่งเสริมพลังงาน,2535)
ส่วนผสมของถ่านอัดแท่ง
ผงถ่าน 10 กิโลกรัม
แป้งมัน 0.5 กิโลกรัม
น้ำ 3 ลิตร
(ปริมาณน้ำสามารถปรับได้ ขึ้นอยู่กับความชื้นของวัสดุ)
เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
- เครื่องบด (สำหรับวัสดุที่มีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว ซังข้าวโพด ฯลฯ)
- เครื่องผสม สามารถใช้เครื่องผสมทั่วไปได้ หรือผสมมือก็ได้
- เครื่องอัดแท่งถ่าน ถือเป็นหัวใจหลักมี 2 ชนิด คือ แบบอัดร้อนและแบบอัดเย็น
คุณสมบัติของถ่านอัดแท่ง
- ให้ความร้อนสูง เนื่องจากเป็นถ่านที่ได้รับการเผาไหม้เต็มที่
- ปลอดภัยไม่มีสารตกค้างและไม่ทำลายสุขภาพ เพราะถ่านได้ถูกเผาไหม้ด้วยอุณหภูมิเกิน 800 องศา
- ทนทานสามารถใช้งานได้นานกว่าถ่านไม้ธรรมดาถึง 2.5 3 เท่า
- ประหยัดเพราะใช้ได้นาน ไม่แตก และไม่ดับเมื่อติดแล้ว ทำให้ไม่มีการเสียเปล่า เนื่องจากถ่านจะเผาไหม้จนกว่าจะกลายเป็นขี้เถ้า
- ไม่แตกประทุอย่างถ่านไม้ทั่วไป
- ไม่มีควัน เนื่องจากความชื้นน้อยมาก
- ไม่มีกลิ่น เพราะผลิตจากวัสดุธรรมชาติ 100% ไม่ผสมสารเคมีใดๆ
- ไม่ดับกลางคัน แม้ว่าจะใช้ในที่ที่อากาศถ่ายเทน้อย ทำให้ไม่ต้องเปลี่ยนถ่านบ่อยๆ
- ให้ความร้อนสูงสม่ำเสมอ ไม่วูบวาบเนื่องจากความหนาแน่นของถ่านไม่เท่ากันทุกส่วน
ราคาของถ่านอัดแท่ง
ราคาของถ่านอัดแท่งจะขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุที่ใช้ผลิตถ่านอัดแท่ง ราคาโดยทั่วไปจะอยู่ประมาณกิโลกรัมละ 15 20 บาท ซึ่งจะดูแพงกว่าถ่านไม้ แต่ถ้าเปรียบเทียบคุณภาพและระยะเวลาการเผาไหม้ ถือว่าคุ้มค่ากว่าถ่านไม้
จากผลการวิจัย สรุปได้ว่า การนำดินเหนียวที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 50 มาผสมแทนแป้งมัน ไม่มีผลต่อคุณภาพแท่งถ่านมากนัก ซึ่งถือว่าเป็นการลดต้นทุนการผลิตลงได้มาก และอัตราส่วนที่เหมาะสมจะอยู่ประมาณ 10% ของปริมาณผงถ่าน
การพัฒนาส่วนผสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต
ถึงแม้ว่า ถ่านอัดแท่งในปัจจุบัน อาจยังมองเป็นเรื่องไกลตัวสำหรับหลายคน เพราะส่วนใหญ่นิยมใช้แก๊สหุงต้ม แต่ในอนาคตไม่ไกลข้างหน้า ถ้าวันหนึ่งไม้หมดหรือไม่เพียงพอ ปัญหาจะตามมาอย่างแน่นอน ดังนั้นเพื่อเป็นการนำวัสดุที่เหลือใช้ให้กลับมามีประโยชน์และคุณค่าอีกครั้ง และเพื่อนำเสนอใต้เบื้องพระยุคลบาทของพระองค์ท่าน เราควรตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และหาพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนพลังงานหลักที่มีราคาสูง
ถ่านอัดแท่ง จึงน่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม ถึงแม้เครื่องจักรจะมีราคาสูง แต่ในปัจจุบันมีงานวิจัยและพัฒนาด้านเครื่องอัดถ่านสำหรับชุมชน รวมทั้งพัฒนาด้านส่วนผสมในการลดต้นทุน ซึ่งก็น่าจะทำให้ถ่านอัดแท่งกลับมามีความน่าสนใจในการประกอบอาชีพอยู่ไม่น้อย ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะลงมือทำก่อนเท่านั้นเอง
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อที่
อ.อุกฤษฏ์ โข่ศรี 08-3140-7086 ,E-mail : maiolto:khosree@hotmail.com
หรือ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
คำสำคัญ
บันทึกโดย
รายละเอียดผู้รับบริการ
53591
ผู้ถาม : เนตรนภา แทนนคร ที่อยู่ 186 ม.14 ต.งิ้ว อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา 30240
วันที่ถาม : 03/01/2565
คำถาม : รายละเอียดค่าใช้จ่ายสำหรับผู้เริ่มต้น เกี่ยวกับเครื่องมือ และวัสดุดิบที่นำมาใช้|384|M
คำตอบ : ปัจจุบันอาจารย์ที่รับผิดชอบ มีการผลิตเตาเผาถ่านขนาดความจุ 1000 ลิตร หรือสามารถเผ่าถ่านได้ 200 กิโลกรัม/ครั้ง หรือหากสนใจเครื่องอัดถ่านสามารถสอบถามผู้เชี่ยวชาญได้โดยตรงครับ ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์พรศิลป์ อุบาลี โทร 088 562 9995 E-mail : TTT_U_Balee@hotmail.com
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 03/01/2565
คำถาม : รายละเอียดค่าใช้จ่ายสำหรับผู้เริ่มต้น เกี่ยวกับเครื่องมือ และวัสดุดิบที่นำมาใช้|384|M
คำตอบ : ปัจจุบันอาจารย์ที่รับผิดชอบ มีการผลิตเตาเผาถ่านขนาดความจุ 1000 ลิตร หรือสามารถเผ่าถ่านได้ 200 กิโลกรัม/ครั้ง หรือหากสนใจเครื่องอัดถ่านสามารถสอบถามผู้เชี่ยวชาญได้โดยตรงครับ ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์พรศิลป์ อุบาลี โทร 088 562 9995 E-mail : TTT_U_Balee@hotmail.com
การดำเนินงานจากเครือข่าย
46557
ผู้ถาม : กันยารัชต์ วรนันท์ปัญญา ที่อยู่ 288หมู่2ต.ลานข่อยอ.ป่าพะยอมจ.พัทลุง93210
วันที่ถาม : 17/06/2563
คำถาม : อยากแปรรูปแก้วมังกรสีขาวแดงในแปลงที่ปลูก|1370|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 17/06/2563
คำถาม : อยากแปรรูปแก้วมังกรสีขาวแดงในแปลงที่ปลูก|1370|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
45499
ผู้ถาม : วิชุดา นารอด ที่อยู่ 43/1หมู่2ต.ช้างทูน อ.บ่อไร่ จ.ตราด
วันที่ถาม : 18/12/2562
คำถาม : การนำของเหลือใช้มาทำเกษตรอินทรีย์|1724|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 18/12/2562
คำถาม : การนำของเหลือใช้มาทำเกษตรอินทรีย์|1724|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
44106
ผู้ถาม : ชื่นฤทัย เอกธรรมทัศน์ ที่อยู่ 68/930 ม.8 ซ.รัตนาธิเบศร์ 28
ต.บางกระสอ
วันที่ถาม : 12/07/2562
คำถาม : ทราบราคา ปริมาณ สัดส่วนการใช้ |1581|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 12/07/2562
คำถาม : ทราบราคา ปริมาณ สัดส่วนการใช้ |1581|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
43856
ผู้ถาม : ฮุ้ง ที่อยู่ 403/1-5
Mittrapab Rd.
วันที่ถาม : 20/06/2562
คำถาม : เครื่องกลั่นสุราพกพา ยังทำอยู๋มั้ยคะ และถ้ายังทำอยู่สอบถามราคา และวิธีการใช้งานด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ|761|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 20/06/2562
คำถาม : เครื่องกลั่นสุราพกพา ยังทำอยู๋มั้ยคะ และถ้ายังทำอยู่สอบถามราคา และวิธีการใช้งานด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ|761|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
41946
ผู้ถาม : นงนุช ประดับราช ที่อยู่ บ้าน
วันที่ถาม : 18/06/2561
คำถาม : อยากถนอมอาหาร ผลไม้|334|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 18/06/2561
คำถาม : อยากถนอมอาหาร ผลไม้|334|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
41570
ผู้ถาม : พนาธร ที่อยู่ สหกรณ์การเกษตรห้วยคต คลิกดูรายละเอียดสหกรณ์
วันที่ถาม : 30/05/2561
คำถาม : ต้องการแปรรูปสับปะรด เนื่องจากราคาตกต่ำ
คำตอบ : ให้ข้อมูล ผชช.วว. พี่อินทราวุธ เพื่อให้คำแนะนำเบื้องต้น
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 30/05/2561
คำถาม : ต้องการแปรรูปสับปะรด เนื่องจากราคาตกต่ำ
คำตอบ : ให้ข้อมูล ผชช.วว. พี่อินทราวุธ เพื่อให้คำแนะนำเบื้องต้น
การดำเนินงานจากเครือข่าย