53872
ผู้ถาม : นางปวีณา แมน ที่อยู่ Phnom Penh
วันที่ถาม : 25/03/2565
คำถาม : ขั้นตอนการบรรจุ
สัดส่วนของเครื่องผสม|334|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
53772
ผู้ถาม : นางปวีณา แมน ที่อยู่ Kannika Modern Farm , Phnom Penh, Cambodia
วันที่ถาม : 19/03/2565
คำถาม : สวัสดีค่ะอาจารย์ ดิฉันเป็นเกษตรกรปลูกมะม่วงอยู่ที่กัมพูชาค่ะ ตอนนี้ราคามะม่วงโดนกดมากยิ่งถ้าจะส่งกลับไทย โรงงานให้ราคาต่ำมากๆค่ะ ดิฉันสนใจอยากแปรรูปเป็นมะม่วงแช่อิ่มค่ะ แต่มีปัญหาเรื่องการเก็บได้ไม่นาน ดีใจมากที่อ่านเจอเรื่องนี้ค่ะ แต่ไม่เข้าใจเรื่อง% ต่างๆค่ะ เช่นน้ำเชื่อมความเข้มข้น30% หมายถึงน้ำตาลเท่าไร น้ำเท่าไรคะ|334|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
53620
ผู้ถาม : ลักษณา แย้มบุตร ที่อยู่ 45/37 ถนนศรีวิชัย 59 ซอย 1 ม.2
ต.มะขามเตี้ย อ.เมืองฯ จ.สุราษฑร์ธานี
84000 0839673323
วันที่ถาม : 21/02/2565
คำถาม : ขอคำปรึกษาและคำแนะนำค่ะ
มีผลิตผลมะม่วงเบาพอประมาณอยากจัดจำหน่ายด้วยวิธีการหลายรูปแบบ คือ
1. ขายสดส่งต่างจังหวัด ต้องบรรจุอย่างไรเพื่อคงความสดไม่นิ่ม (ไม่เกิน3วันถึงลูกค้่)
2.แปรรูปด้วยการดองเกลือแบบธรรมชาติ เพื่อวางจำหน่ายโดยไม่แช่ตู้เย็นและส่งจำหน่ายต่างจังหวัด มีวิธีการอย่างไรเพื่อให้สินค้าคงรสชาติเดิมไม่เสีย การใช้บรรจุภัณฑ์อย่างไรที่เหมาะสม
3.แปรรูปด้วยการแช่อิ่มแบบธรรมชาติ เพื่อส่งจำหน่ายต่างจังหวัด ซึ่งใช้ระยะเวลานาน 2- 3 วันจึงจะถึงผู้ซื้อ มีวิธีการอย่างไรบ้างคะ ต้องมีสารปรุงแต่งอย่างอื่นเพิ่มเติมหรือไม่ (ปกติถ้าไม่ใส่ตู้เย็นไว้หลายวันจะเป็นส่าเหล้าค่ะ) วการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมและวิธีการบรรจุเพื่อเก็บได้นานตามที่มีจำหน่ายในท้องตลาด
ค้นหาจากแหล่งเรียนรู้ในสื่ออินเตอร์เน็ต หลายแหล่งที่ค้นหายังมีรายละเอียดไม่ชัดเจนค่ะ
|334|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
49990
ผู้ถาม : นาย โสภณ อีดยี ที่อยู่ 95ถเก้าเส้ง ต. บ่อย่าง อ .เมือง จ . สงขลา 90000
วันที่ถาม : 28/02/2564
คำถาม : การเก็บรักษา มะม่วงแช่อิ่มให้นาน แบบดองเกลือด้วย ในการขนส่งทีสะดวกและยาวนาน ไม่ให้เกิดปัญหาการทีหลัง|334|M
คำตอบ : ส่งต่อให้กับนักวิจัย มทร.ศรีวิชัย สงขลา
การดำเนินงานจากเครือข่าย
46412
ผู้ถาม : ภีรดา สีเผือก ที่อยู่ 27/1 ต.ท่าอิบุญ อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
วันที่ถาม : 27/04/2563
คำถาม : สนใจเพาะเลี้ยงปลาหลดเชิงพานิชย์ค่ะ ไม่ทราบว่ามีการอบรมหรือขายพ่อแม่พันธุ์มั้ยคะ
หรือสามารถหาความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงได้อย่างไรบ้างคะ|284|M
คำตอบ : ส่งข้อมูลให้ จนท.คลินิก มทร.อีสาน สุรินทร์ เจ้าของเทคโนโลยีเพื่อดำเนินการต่อ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
คลินิกเทคโนโลยี มทร.อีสาน วข.สุรินทร์
สามารถติดต่อและรับคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญได้ครับ คือ รศ.ดร.กฤติมา เสาวกูล อาจารย์ประจำวิชาสาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
เบอร์โทรศัพท์ 086-2496450
หรือประสานมาทาง จนท.คลินิกเทคโนโลยี น.ส.ปิยนุช อนุชานุรักษ์ 093-3644115 ครับ
ขอบคุณครับ วันที่บริการ 15/06/2563สามารถติดต่อสอบถามได้ที่
คลินิกเทคโนโลยี มทร.อีสาน วข.สุรินทร์
ติดต่อผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.กฤติมา เสาวกูล เบอร์โทรศัพท์ 086-2496450 อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
หรือติดต่อผู้ประสานงานคลินิกฯ น.ส.ปิยนุช อนุชานุรักษ์ 093-3644115 วันที่บริการ 16/06/2563ลักษณะทั่วไป
ปลาหลด (Macronathus siamensis) เป็นปลาน้ำจืดพื้นบ้านของไทยที่อาศัยอยู่ใน ห้วย หนอง คลอง บึง ตามแหล่งน้ำธรรมชาติ แพร่กระจายทั่วประเทศ เป็นปลาที่มีความอดทนสูง อาศัยในโคลนตมได้นาน ชอบอาศัยตามพื้นท้องน้ำ และฝังตัวอยู่ในทรายตอนกลางวัน มีนิสัยชอบหากินในเวลากลางคืนเป็นปลากินเนื้อ กินอาหารจำพวกตัวอ่อนแมลง หนอน ไส้เดือน สัตว์เล็กๆ และเศษเนื้อเน่าเปื่อย ปลาหลดมีรูปร่างคล้ายปลาไหล ปลายปากยื่นยาวและสามารถยืดหดได้ มีสีเทาและสีดำ ปากเล็ก ฟันเล็กและคม มีช่องเหงือกเปิดอยู่ใต้หัว
ปลาหลดเป็นที่นิยมรับประทานในรูปของปลาสด ตากแห้ง หรือทำเค็มโดยปกติจะมีการซื้อขายในตลาดเป็นจำนวนมากอยู่
ปัจจุบันปลาหลดที่มีจำหน่ายตามตลาดเป็นปลาหลดที่จับได้จากแหล่งน้ำธรรมชาติ ทำให้ปลาหลดเริ่มหายากมากขึ้น และมีราคาค่อนข้างสูงขึ้นกิโลกรัมละ 70 80 บาท (ตามท้องตลาดขายขีดละ 12 17 บาท) ในช่วงฤดูฝนจะหาซื้อได้ง่าย เมื่อพ้นระยะนี้ไปแล้วปลาหลดจะลดจำนวนลงเป็นอย่างมาก จะหาซื้อลำบาก ราคาค่อนข้างสูงโดยมีราคาประมาณ 120 200 บาท ด้วยเหตุดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงได้มีการศึกษาชีววิทยาของปลาหลดเป็นเบื้องต้น ศึกษาวิธีการสำหรับนำมาเพาะเลี้ยง หรือขยายพันธุ์ให้แพร่หลายยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มพูนอาหารประเภทโปรตีน และยังเป็นรายได้แก่ผู้ประกอบการเลี้ยงปลาหรือจับปลาขายเป็นอาชีพอีกด้วย
โดยการส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถทำการเพาะเลี้ยงปลาหลดได้อย่างมีประสิทธิภาพภายในชุมชนของเกษตรกรเองไม่ต้องเดินทางไปทำงานต่างถิ่น ช่วยให้สามารถมีรายได้และช่วยพัฒนาชุมชนที่อาศัยอยู่ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อชุมชน หรือชุมชนใกล้เคียงและทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ส่งผลให้ประเทศชาติมีการพัฒนาที่ดี
การเพาะพันธุ์
นำปลาหลดพ่อแม่พันธุ์ที่รวบรวมได้จากธรรมชาติ มาคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่มีความสมบรูณ์พร้อมที่จะผสมพันธุ์ ซึ่งมีข้อสังเกตได้ในตัวเต็มไว ดังนี้ คือ เพศเมียมีลักษณะลำตัวอ้วนป้อม และโตกว่าเพศผู้ลักษณะแตกต่างที่เห็นได้ชัด คือ ในปลาเพศเมียจะมีติ่งเพศ เมื่อบีบท้องแรงๆ จะมีติ่งเพศยื่นออกมา ในปลาเพศผู้จะไม่มีลักษณะดังกล่าว ลักษณะของช่องเพศ ปลาเพศเมียเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์จะมีเยื่อวุ้นปกคลุมช่องเพศ ท้องจะอูมเป่งและนิ่ม ช่องเพศและติ่งเพศจะขยายตัวมีสีแดงเรื่อๆ เพศผู้ ถ้ากดเบาๆ ตรงส่วนท้อง จะมีน้ำเชื่อสีขาวไหลออกมา เมื่อคัดเพศแล้วทำการผสมพันธุ์ โดยการฉีดฮอร์โมนกระตุ้นการวางไข่ ดังนี้
เพศเมีย ทำการฉีด 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 ใช้ซุปรีแฟกค์ (Superfact) ความเข้มข้น 25 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม (Motilium) 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม พักไว้ 6 ชั่วโมง แล้วจึงฉีดเข็มที่ 2
ครั้งที่ 2 ใช้ซุปรีแฟกค์ความเข้มข้น 50 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
เพศผู้ทำการฉีดเพียงครั้งเดียว
โดยฉีดพร้อมเพศเมีย เข็มที่ 2 โดยใช้ซุปรีแฟกค์ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
นำพ่อแม่พันธุ์ที่ฉีดฮอร์โมนเรียบร้อยแล้ว ปล่อยพ่อแม่พันธุ์ลงในถังเดียวกันเพื่อให้ผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติ โดยมีพู่ฟางไว้สำหรับให้ไข่ติด และแยกพ่อแม่พันธุ์ปลาหลดออกในตอนเช้า และนำไข่ไปพักในบ่อฟักต่อไป ลูกปลาหลดจะฟักออกเป็นตัวภายใน 40 48 ชั่วโมง
การอนุบาลลูกปลาหลด
การอนุบาลลูกปลาหลดมีผู้ศึกษาไว้น้อยมากและศึกษามานานแล้ว ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาพบว่าอาหารที่เหมาะสมสำหรับการอนุบาลลูกปลาหลดที่อายุ 1 14 วัน ควรให้ไรแดงจะมีการเจริญเติบโตและมีอัตราการรอดดีที่สุด หลังจากนั้นจะให้ไรแดง หนองแดง หรือไส้เดือนเป็นอาหาร
การเลี้ยงปลาหลด
การเลี้ยงปลาหลดสามารถเลี้ยงได้ทั้งในบ่อดินและบ่อซีเมนต์ หากเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ควรมีขนาด 4 x 4 เมตร ความสูงประมาณ 50 70 เซนติเมตร ผิวบ่อฉาบให้เรียบ และทำให้ลาดเอียง ปริมาณครึ่งบ่อเพื่อให้ทรายปนดินเหนียวไว้ก้นบ่อ ใส่ผักบุ้งไว้ส่วนหนึ่งไม่ต้องมากนัก ความสูงของน้ำให้ท่วมบริเวณดินทราย ประมาณ 40 เซนติเมตร ปล่อยปลาขนาดความยาว 3 4 นิ้ว จำนวน 2,000 2,500 ตัว ควรวางโพรงไม่ไผ่หรือท่อน้ำเก่าๆ ให้ปลาได้หลบอาศัยในการเลี้ยงในบ่อดิน ต้องมีการเตรียมบ่อที่ดีเช่นเดียวกับการเลี้ยงปลาชนิดอื่น อาจมีการกันบนขอบบ่อโดยการใช้มุ้งเขียวล้อมรอบไว้ อาหารในการเลี้ยง คือ หอยเชอรี่ นำมาทุบแล้วสับให้ละเอียดนำไปวางไว้บริเวณชายพื้นรอยต่อทรายกับปูนซีเมนต์ กองไว้ให้อาหาร 2 3 วัน เมื่อเหยื่อเริ่มเน่า ปลาหลดจะเข้ามากิน และอาจกินตั้งแต่สดๆได้ พิจารณาดูว่าปลากินเหยื่อหมดใน 2 3 วันหรือไม่
อาหารปลาหลด
จะให้เหยื่อในการเลี้ยงเช่นเดียวกับปลาไหล คือ เหยื่อหลักดังนี้
1. หอยเชอรี่ นำมาทุบแยกเปลือกเนื้อหอยแล้วสับให้ละเอียด นำมาวางไว้บริเวณชายพื้นรอยต่อทรายกับผิวปูนซีเมนต์ กองไว้ให้อาหาร 2 3 ครั้ง เมื่อเหยื่อเริ่มเน่าปลาหลดจะเข้ามากิน และอาจกินตั้งแต่สดๆ ได้ พิจารณาว่าปลาหลดกินเหยื่อหมดใน 2 3 วันหรือไม่ ถ้าหมดควรเพิ่มให้ ถ้าเหลือควรลดลง พยายามอย่ากระทบกระเทือนปลาจะตกใจหนี
2. ไส้เดือน จะเป็นอาหารที่ปลาหลดโปรดปรานมากที่สุด เมื่อนำไส้เดือนให้ จะให้ช่วงเย็น ค่ำ พอไส้เดือนเคลื่อนตัวตามผิวทราย ปลาหลด 1 ตัวจะกินไส้เดือน 1 2 ตัว ก็จะอิ่ม และมีลักษณะความสมบรูณ์ของตัวปลามาก เช่น ปลาจะอ้วน เกล็ดเป็นเงางาม
3. ระยะเวลาของการเลี้ยง ปลาหลดเป็นปลาที่จัดว่าโตเร็ว การเลี้ยงจะใช้เวลา 6 7 เดือน ก็จะได้ขนาดที่จำหน่ายประมาณ 30 40 ตัวต่อกิโลกรัม และอายุ 1 ปีขึ้นไปก็จะให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ได้
สนใจติดต่อข้อมูล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
145 หมู่ 15 ถ.สุรินทร์-ปราสาท อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000
รศ.ดร.กฤติมา เสาวกูล โทร 0862496450
krittima2562@gmail.com วันที่บริการ 28/09/2563ลักษณะทั่วไป
ปลาหลด (Macronathus siamensis) เป็นปลาน้ำจืดพื้นบ้านของไทยที่อาศัยอยู่ใน ห้วย หนอง คลอง บึง ตามแหล่งน้ำธรรมชาติ แพร่กระจายทั่วประเทศ เป็นปลาที่มีความอดทนสูง อาศัยในโคลนตมได้นาน ชอบอาศัยตามพื้นท้องน้ำ และฝังตัวอยู่ในทรายตอนกลางวัน มีนิสัยชอบหากินในเวลากลางคืนเป็นปลากินเนื้อ กินอาหารจำพวกตัวอ่อนแมลง หนอน ไส้เดือน สัตว์เล็กๆ และเศษเนื้อเน่าเปื่อย ปลาหลดมีรูปร่างคล้ายปลาไหล ปลายปากยื่นยาวและสามารถยืดหดได้ มีสีเทาและสีดำ ปากเล็ก ฟันเล็กและคม มีช่องเหงือกเปิดอยู่ใต้หัว
ปลาหลดเป็นที่นิยมรับประทานในรูปของปลาสด ตากแห้ง หรือทำเค็มโดยปกติจะมีการซื้อขายในตลาดเป็นจำนวนมากอยู่
ปัจจุบันปลาหลดที่มีจำหน่ายตามตลาดเป็นปลาหลดที่จับได้จากแหล่งน้ำธรรมชาติ ทำให้ปลาหลดเริ่มหายากมากขึ้น และมีราคาค่อนข้างสูงขึ้นกิโลกรัมละ 70 80 บาท (ตามท้องตลาดขายขีดละ 12 17 บาท) ในช่วงฤดูฝนจะหาซื้อได้ง่าย เมื่อพ้นระยะนี้ไปแล้วปลาหลดจะลดจำนวนลงเป็นอย่างมาก จะหาซื้อลำบาก ราคาค่อนข้างสูงโดยมีราคาประมาณ 120 200 บาท ด้วยเหตุดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงได้มีการศึกษาชีววิทยาของปลาหลดเป็นเบื้องต้น ศึกษาวิธีการสำหรับนำมาเพาะเลี้ยง หรือขยายพันธุ์ให้แพร่หลายยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มพูนอาหารประเภทโปรตีน และยังเป็นรายได้แก่ผู้ประกอบการเลี้ยงปลาหรือจับปลาขายเป็นอาชีพอีกด้วย
โดยการส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถทำการเพาะเลี้ยงปลาหลดได้อย่างมีประสิทธิภาพภายในชุมชนของเกษตรกรเองไม่ต้องเดินทางไปทำงานต่างถิ่น ช่วยให้สามารถมีรายได้และช่วยพัฒนาชุมชนที่อาศัยอยู่ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อชุมชน หรือชุมชนใกล้เคียงและทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ส่งผลให้ประเทศชาติมีการพัฒนาที่ดี
การเพาะพันธุ์
นำปลาหลดพ่อแม่พันธุ์ที่รวบรวมได้จากธรรมชาติ มาคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่มีความสมบรูณ์พร้อมที่จะผสมพันธุ์ ซึ่งมีข้อสังเกตได้ในตัวเต็มไว ดังนี้ คือ เพศเมียมีลักษณะลำตัวอ้วนป้อม และโตกว่าเพศผู้ลักษณะแตกต่างที่เห็นได้ชัด คือ ในปลาเพศเมียจะมีติ่งเพศ เมื่อบีบท้องแรงๆ จะมีติ่งเพศยื่นออกมา ในปลาเพศผู้จะไม่มีลักษณะดังกล่าว ลักษณะของช่องเพศ ปลาเพศเมียเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์จะมีเยื่อวุ้นปกคลุมช่องเพศ ท้องจะอูมเป่งและนิ่ม ช่องเพศและติ่งเพศจะขยายตัวมีสีแดงเรื่อๆ เพศผู้ ถ้ากดเบาๆ ตรงส่วนท้อง จะมีน้ำเชื่อสีขาวไหลออกมา เมื่อคัดเพศแล้วทำการผสมพันธุ์ โดยการฉีดฮอร์โมนกระตุ้นการวางไข่ ดังนี้
เพศเมีย ทำการฉีด 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 ใช้ซุปรีแฟกค์ (Superfact) ความเข้มข้น 25 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม (Motilium) 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม พักไว้ 6 ชั่วโมง แล้วจึงฉีดเข็มที่ 2
ครั้งที่ 2 ใช้ซุปรีแฟกค์ความเข้มข้น 50 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
เพศผู้ทำการฉีดเพียงครั้งเดียว
โดยฉีดพร้อมเพศเมีย เข็มที่ 2 โดยใช้ซุปรีแฟกค์ความเข้มข้น 20 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ร่วมกับโมทีเลี่ยม 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
นำพ่อแม่พันธุ์ที่ฉีดฮอร์โมนเรียบร้อยแล้ว ปล่อยพ่อแม่พันธุ์ลงในถังเดียวกันเพื่อให้ผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติ โดยมีพู่ฟางไว้สำหรับให้ไข่ติด และแยกพ่อแม่พันธุ์ปลาหลดออกในตอนเช้า และนำไข่ไปพักในบ่อฟักต่อไป ลูกปลาหลดจะฟักออกเป็นตัวภายใน 40 48 ชั่วโมง
การอนุบาลลูกปลาหลด
การอนุบาลลูกปลาหลดมีผู้ศึกษาไว้น้อยมากและศึกษามานานแล้ว ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาพบว่าอาหารที่เหมาะสมสำหรับการอนุบาลลูกปลาหลดที่อายุ 1 14 วัน ควรให้ไรแดงจะมีการเจริญเติบโตและมีอัตราการรอดดีที่สุด หลังจากนั้นจะให้ไรแดง หนองแดง หรือไส้เดือนเป็นอาหาร
การเลี้ยงปลาหลด
การเลี้ยงปลาหลดสามารถเลี้ยงได้ทั้งในบ่อดินและบ่อซีเมนต์ หากเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ควรมีขนาด 4 x 4 เมตร ความสูงประมาณ 50 70 เซนติเมตร ผิวบ่อฉาบให้เรียบ และทำให้ลาดเอียง ปริมาณครึ่งบ่อเพื่อให้ทรายปนดินเหนียวไว้ก้นบ่อ ใส่ผักบุ้งไว้ส่วนหนึ่งไม่ต้องมากนัก ความสูงของน้ำให้ท่วมบริเวณดินทราย ประมาณ 40 เซนติเมตร ปล่อยปลาขนาดความยาว 3 4 นิ้ว จำนวน 2,000 2,500 ตัว ควรวางโพรงไม่ไผ่หรือท่อน้ำเก่าๆ ให้ปลาได้หลบอาศัยในการเลี้ยงในบ่อดิน ต้องมีการเตรียมบ่อที่ดีเช่นเดียวกับการเลี้ยงปลาชนิดอื่น อาจมีการกันบนขอบบ่อโดยการใช้มุ้งเขียวล้อมรอบไว้ อาหารในการเลี้ยง คือ หอยเชอรี่ นำมาทุบแล้วสับให้ละเอียดนำไปวางไว้บริเวณชายพื้นรอยต่อทรายกับปูนซีเมนต์ กองไว้ให้อาหาร 2 3 วัน เมื่อเหยื่อเริ่มเน่า ปลาหลดจะเข้ามากิน และอาจกินตั้งแต่สดๆได้ พิจารณาดูว่าปลากินเหยื่อหมดใน 2 3 วันหรือไม่
อาหารปลาหลด
จะให้เหยื่อในการเลี้ยงเช่นเดียวกับปลาไหล คือ เหยื่อหลักดังนี้
1. หอยเชอรี่ นำมาทุบแยกเปลือกเนื้อหอยแล้วสับให้ละเอียด นำมาวางไว้บริเวณชายพื้นรอยต่อทรายกับผิวปูนซีเมนต์ กองไว้ให้อาหาร 2 3 ครั้ง เมื่อเหยื่อเริ่มเน่าปลาหลดจะเข้ามากิน และอาจกินตั้งแต่สดๆ ได้ พิจารณาว่าปลาหลดกินเหยื่อหมดใน 2 3 วันหรือไม่ ถ้าหมดควรเพิ่มให้ ถ้าเหลือควรลดลง พยายามอย่ากระทบกระเทือนปลาจะตกใจหนี
2. ไส้เดือน จะเป็นอาหารที่ปลาหลดโปรดปรานมากที่สุด เมื่อนำไส้เดือนให้ จะให้ช่วงเย็น ค่ำ พอไส้เดือนเคลื่อนตัวตามผิวทราย ปลาหลด 1 ตัวจะกินไส้เดือน 1 2 ตัว ก็จะอิ่ม และมีลักษณะความสมบรูณ์ของตัวปลามาก เช่น ปลาจะอ้วน เกล็ดเป็นเงางาม
3. ระยะเวลาของการเลี้ยง ปลาหลดเป็นปลาที่จัดว่าโตเร็ว การเลี้ยงจะใช้เวลา 6 7 เดือน ก็จะได้ขนาดที่จำหน่ายประมาณ 30 40 ตัวต่อกิโลกรัม และอายุ 1 ปีขึ้นไปก็จะให้เป็นพ่อแม่พันธุ์ได้
สนใจติดต่อข้อมูล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
145 หมู่ 15 ถ.สุรินทร์-ปราสาท อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000
รศ.ดร.กฤติมา เสาวกูล โทร 0862496450 วันที่บริการ 28/09/2563 วันที่บริการ 12/10/2563
43363
ผู้ถาม : คุณสุจินต์ สว่างศรี ที่อยู่ -
วันที่ถาม : 28/03/2562
คำถาม : เตาอิวาเตะ
คำตอบ : เบื้องต้นแจ้ง คุณสุจินต์ ให้ติดต่อกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เพื่อสอบถามรายละเอียดความต้องการโดยตรงแล้วค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
43360
ผู้ถาม : คุณตังค์ ที่อยู่ -
วันที่ถาม : 27/03/2562
คำถาม : เครื่องบดเมล็ดพืช
คำตอบ : เบื้องต้นส่งเรื่องประสานงานให้ ส่วนงานเครื่องจักร สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ติดต่อกลับคุณตังค์แล้วค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
43330
ผู้ถาม : อนุชา พูลพิมมะ ที่อยู่ 100/4ม.15ต.บ้านพระอ.เมือง.จ.ปราจีนบุรี 25230
วันที่ถาม : 23/03/2562
คำถาม : เครื่องวัดออกซิเจนในน้ำ|1776|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
42183
ผู้ถาม : สมนึก ชัยสรรค์ ที่อยู่ 116 ม.6 บ้านท่าช้าง ต.บากเรือ อ.มหาชนะชัย
จ.ยโสธร 35130
วันที่ถาม : 23/09/2561
คำถาม : ข้อมูลการเลี้ยงปลาหลด|284
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
42083
ผู้ถาม : ฐปนรรฆ์ จำปาหอม ที่อยู่ 149ม5บ้านโป่งช้างต.หนองปรืออ.หนองปรือจ.กาญจนบุรี
วันที่ถาม : 06/08/2561
คำถาม : เครื่องเหลาทางมะพร้าว|490|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
41084
ผู้ถาม : อรนิศวร์ จารุวัฒน์วงษ์ ที่อยู่ วิสาหกิจชุมชน อุ่นรัก สานฝัน กรีนะฟาร์ม
222 หมู่14 ต. บ้านไร่ อ.เทพสถิต
วันที่ถาม : 06/02/2561
คำถาม : สอบถามราคาเครื่องทอดสุญญากาศ ราคาเท่าไหร่คะ|1661|M
คำตอบ :
สวัสดีคะคุณอรนิศวร์ ในเบื้องต้น ดิฉันขอให้รายละเอียดคร่าวๆประมาณนี้นะคะ ในเรื่องของการสร้างเครื่องดิฉันอยากให้ทางคุณอรนิศวร์สอบถามรายละเอียดที่ชัดเจนกับ ฝ่ายวิศวะกรรม หรือ ฝ่ายกองการตลาด สำนักจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
โทร. 0-2577-9436-38 หรือ Call Center 0-2577-9300 e-mail : marketing_tistr@tistr.or.th หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมอย่างไร ติดต่อดิฉันได้ที่อีเมล์นี้นะคะ Chonticha.m@most.go.th ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
41068
ผู้ถาม : นพรัตน์ จงนอก ที่อยู่ ขอนแก่น 204/5 ในเมือง 0873745972
วันที่ถาม : 18/01/2561
คำถาม : เครื่องแกะและร่อนกระเทียม|381|M
คำตอบ :
สวัสดีคะคุณนพรัตน์ ดิฉันขออนุญาตให้ข้อมูลนะคะ ได้สอบถามไปยัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร ซึ่งพบว่า อ.สุวรรณ์ คงสาคร เจ้าของผลงาน ได้เกษียณไปแล้วค่ะ และไม่ได้มีใครนำมาทำต่อ และไม่มีทำจำหน่ายค่ะ
แต่มีเครื่องแกะกระเทียมของบริษัทเอกชน จำหน่าย คุณพิชิตชัย สามารถดูรายละเอียดได้ที่ลิ้งค์นี้ค่ะ http://www.arkarnsin.com/category_new_buy.php?idcatalog2=VV022&id=VV0220855&idpo=121&idname2=%A1%C3%D0%E0%B7%D5%C2%C1 ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
40181
ผู้ถาม : มรกต เหลืองอภิรมย์ ที่อยู่ 264 หมู่9 ตำบลชัยพฤกษ์ อำเภอเมือง
วันที่ถาม : 16/07/2560
คำถาม : สนใจทำข้าวเคลือบสมุนไพรคะ เปิดสอนที่ไหนบ้างคะ|1692|M
คำตอบ :
สวัสดีคะคุณมรกต ดิฉันแนะนำให้คุณมรกต ติดต่อกับ เกศินี จันทรโสภณและคณะ ที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี หรือโทร.0-4535-2000ต่อ1400,1426 ได้เลยนะคะ ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย
40045
ผู้ถาม : รอบียะห์ อาแซ ที่อยู่ 40/4
ม.1ตำบลพร่อน
อเมือง
จ.ยะลา
95160
วันที่ถาม : 24/05/2560
คำถาม : ต้องการทำมะม่วงแช่อิ่มเพื่อเป็นอาชีพให้แก่ชุมชนคะ
ต้องการวิธีการเลือกทะม่วง
วิธีการเก๋บรักศามะม่วงอุณหภูมิ
ควรหมักในบรรจุวัสดุแบบใหนคะพาสติกหรือว่าโอ่งดีคะ
ฯลฯ
รบกวนด้วยคะ|334|M
คำตอบ :
สวัสดีคะคุณรอบียะห์ ในส่วนของรายละเอียดเรื่องการทำมะม่วงแช่อิ่ม และเรื่องบรรจุภัณฑ์ ดิฉันแนะนำให้ติดต่อกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โทร. 0 2577 9000 ต่อ 9135, 9131-9131 เพื่อสอบถามในรายละเอียด นะคะ เพราะมะม่วงแต่ละสายพันธุ์มีกระบวนการและกรรมวิธีที่แตกต่างกัน ค่ะ ขอบคุณค่ะ
การดำเนินงานจากเครือข่าย