เครือข่ายส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กปว.#
  • บริการของ กปว.
    • โครงการ
    • เทคโนโลยี
    • ผู้เชี่ยวชาญ
    • คำปรึกษา/ลูกค้า
    • ผลิตภัณฑ์
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • หน้าหลัก
  • Tuesday, July 1, 2025 เวลา :

เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด

รหัส
2859
ชื่อ
การสร้างมูลค่าเพิ่มลิ้นจี่โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่แช่อิ่มอบแห้ง ชม 299 ครั้ง
เจ้าของ
ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล
เมล์
hataakira@hotmail.com
รายละเอียด

ลิ้นจี่เป็นสินค้าเกษตรที่ส าคัญชนิดหนึ่งของภาคเหนือ โดยแต่ละปีมีผลผลิตประมาณ 59,199 ตัน (หนังสือพิมพ์ คม ชัด ลึก, 2557) ปัญหาที่พบเป็นประจ า คือ ปัญหาลิ้นจี่ล้นตลาดท าให้ราคาลิ้นจี่ตกต่ า ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ ประสบปัญหาขาดทุน และปัญหาต่อเนื่องต่างๆ ตามมา เช่น ขาดเงินทุนหมุนเวียน ไม่มีเงินไปช าระปัจจัยการผลิตต่างๆ ฯลฯ ในส่วนของจังหวัดพะเยา ผลผลิตลิ้นจี่ ปี 2557 มีผลผลิตประมาณ 10,000 ตัน พื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ของจังหวัด พะเยา ส่วนใหญ่อยู่ที่อ าเภอแม่ใจ ราคาลิ้นจี่ เกรด A ช่วงผลผลิตออกต้นฤดูกาล ประมาณ 30 – 40 บาท/กิโลกรัม (หนังสือพิมพ์บ้านเมือง, 2557) และราคาจะลดลงอย่างรวดเร็ว โดยมีราคาประมาณ 15 – 20 บาท/กิโลกรัม เพราะลิ้นจี่ เน่าเสียได้ง่าย จึงมีอายุการเก็บรักษาสั้น ท าให้เกษตรกรประสบปัญหาขาดทุนกันอย่างถ้วนหน้า ด้วยเหตุนี้จึงมีแนวคิดที่ จะท าการพัฒนาเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและเพิ่มมูลค่าให้กับลิ้นจี่ โดยพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่แช่อิ่มอบแห้ง ผลไม้ แช่อิ่มอบแห้งเป็นการแปรรูปเพื่อเก็บรักษาผลไม้ที่อุณหภูมิห้องได้นาน โดยไม่เกิดการเน่าเสียและขึ้นรา ช่วยแก้ปัญหา ผลผลิตออกมามากเกินความต้องการในการบริโภคผลสด โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้(สายสวาทและมาลี, 2549)

ผลไม้ ล้างน้ าเปล่าให้สะอาด แช่น้ าเชื่อมที่มีความเข้มข้น 40% (นน./นน.), 20 -22 ชั่วโมง แช่น้ าเชื่อมที่มีความเข้มข้น 45% (นน./นน.), 21 – 24 ชั่วโมง แช่น้ าเชื่อมที่มีความเข้มข้น 50% (นน./นน.), 21 – 24 ชั่วโมง ล้างด้วยน้ าอุ่น 30 วินาที อบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส, 8 ชั่วโมง บรรจุภาชนะบรรจุ ในการนี้จะมีการเติมสารเจือปนอาหารเพื่อปรับปรุงคุณภาพผลไม้แช่อิ่มอบแห้ง (มปป., 2557) ได้แก่ 1) โซเดียมเมตาไบซัลไฟด์ มีคุณสมบัติป้องกันไม่ให้เกิดเชื้อรา และรักษาสีผลไม้ให้เป็นแบบธรรมชาติ 2) กรดซิตริก มีคุณสมบัติปรับปรุงสีผลไม้ให้ขาวขึ้น 3) แคลเซียมคลอไรด์ มีคุณสมบัติเพิ่มความคงตัวให้กับลักษณะเนื้อสัมผัส ท าให้ผลิตภัณฑ์มีเนื้อแน่นขึ้น

คำสำคัญ
แช่อิ่ม  
บันทึกโดย
นายสมปอง   ใจประเสริฐ  มหาวิทยาลัยพะเยา

รายละเอียดผู้รับบริการ

ไม่พบข้อมูลผู้รับบริการ




สงวนลิขสิทธิ์ © 2568 กลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม(ธท.) กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)
มีปัญหาแจ้งได้ที่ ekapong at mhesi.go.th