เครือข่ายส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กปว.#
  • บริการของ กปว.
    • โครงการ
    • เทคโนโลยี
    • ผู้เชี่ยวชาญ
    • คำปรึกษา/ลูกค้า
    • ผลิตภัณฑ์
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • หน้าหลัก
  • Tuesday, July 1, 2025 เวลา :

เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด

รหัส
1519
ชื่อ
การเลี้ยงปลาหมออินทรีย์(ปลาเข็งยักษ์ราชมงคล) ชม 3,995 ครั้ง
เจ้าของ
ผศ.กร.โฆษิต ศรีภูธร
เมล์
-
รายละเอียด

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ http://www.nia.or.th หรือ สนช. หน่วยงานภายใต้ กระทรวงวิทย์ฯ ได้สนับสนุนทุนในการศึกษาวิจัย "การพัฒนาการเลี้ยงปลาหมอไทยสู่เชิงพานิชย์" ให้กับ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร

ด้วยนวัตกรรมปลาหมอไทยอินทรีย์ ตามมาตรฐานและหลักการที่ว่า "พันธุ์ดี...บูรณาการการเลี้ยงดี...ปลาโตไว..กำไรงาม"
เป็นการพัฒนาการเลี้ยงปลาหมอไทยร่วมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เนื่องจากน้ำที่ได้จากการเลี้ยงปลาหมอจะมีธาตุไนโตรเจนสูง จึงนำมาเป็นปุ๋ยได้

สนใจช้อมูลการอบรม หรือสั่งจอง VCD การเลี้ยงและสั่งจองลูกปลา ติดต่อ โทร. 0 4277 1818
 

ขยายภาพ ขยายภาพ
คำสำคัญ
ปลา  
บันทึกโดย
นายเอกพงศ์  มุสิกะเจริญ  สำนักงานปลัดกระทรวง

รายละเอียดผู้รับบริการ

46437
ผู้ถาม : พิชัยภูษิต แสนมา ที่อยู่ 120/13ต.เชียงเครือ อ.เมือง
วันที่ถาม : 09/05/2563
คำถาม : สนใจเลี้ยงปลาหมอ และอยากได้ลูกปลาขอซื้อได้อย่างไรครับ|1519|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
  • การเลี้ยงปลาหมอ ขั้นตอนในการเตรียมสถานที่ แหล่งน้ำ และการดูแลเบื้องต้น สถานที่ในการเลี้ยง ควรเป็นบ่อดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย น้ำไม่รั่วซึม สามารถเก็บกักน้ำได้ 4-6 เดือน แหล่งน้ำ พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แล้งน้ำธรรมชาติ หรือเขตชลประทาน มีน้ำตลอดทั้งปี หากพื้นที่อาศัยปริมาณน้ำฝนอย่างเดียวควรพิจรณา ว่ามีปริมาณน้ำที่เพียงพอ หากเป็นพื้นที่ที่มีน้ำน้อยควรปล่อยปลาในปริมาณน้อย ประมาณ 15-20 ตัวต่อตารางเมตร ในการเตรียมบ่อก่อนปล่อยลูกพันธุ์ปลา กำจัดวัชพืชรอบบริเวณบ่อ , กำจัดศัตรูของลูกปลา , ใช้ตาข่ายในร่อนกั้นรอบบ่อ หว่านปูนขาวขณะดินชื้นในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ กรองน้ำเข้าบ่อเพื่อป้องกันศัตรูของลูกพันธุ์ ควรมีการเปลี่ยนถ่ายน้ำทุก 20-30 วัน เป็นต้น โทรศัพท์ : 089 247 0903 วันที่บริการ 20/05/2563
  • 43596
    ผู้ถาม : สรยา สุภาภาพ ที่อยู่ 188 หมู่9 ต.ดอนกรวย อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี 70130
    วันที่ถาม : 22/04/2562
    คำถาม : ต้องการหาซื้อหัวเต้าเจี้ยว|885|M
    คำตอบ :
    การดำเนินงานจากเครือข่าย
    40912
    ผู้ถาม : ภรรวษา จันทศิลป์ ที่อยู่ 106 Nakawichai Road
    วันที่ถาม : 14/10/2560
    คำถาม : การทำแชมพูสมุนไพร ควรใช้ สมุนไพรสด หรือ ตากแห้ง จึงจะได้ผลดีกว่ากัน และความคงสภาพในการใช้งานเป็นอย่างไรระหว่าง สมุนไพรแห้ง กับ สด และถ้าเราไม่ใส่สารกันบูดเลยจะได้หรือไม่
    คำตอบ :

    สวัสดีคะคุณภรรวษา ดิฉันแนะนำให้คุณติดต่อกับอาจารย์ที่เชี่ยวชาญเรื่องการทำสบู่ จากคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยนเรศวรได้เลยค่ะ ติดต่อคุณจริยา นะคะ โทร.055-968719  ขอบคุณค่ะ 


    การดำเนินงานจากเครือข่าย




    สงวนลิขสิทธิ์ © 2568 กลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม(ธท.) กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)
    มีปัญหาแจ้งได้ที่ ekapong at mhesi.go.th