หนังสือสำคัญรับรองแปลงเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS
จังหวัด เชียงราย
SDGsPGS Organic Certification Statement Chiang Rai Province




ดร.อนุรักษ์ เรืองรอบ
นายกสมาคมการค้าเกษตรกรรมยั่งยืนไทย

นายเทวินฏฐ์ อัครศิลาชัย
ประธานสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดเชียงราย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย มุ่งไธสง
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ประธานคณะกรรมการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS จังหวัดเชียงราย

QR Code ตรวจสอบย้อนกลับ(Traceability)

Serial No. : SDGsPGS-12541


นางเรียง จันทาพูน
รหัสเกษตรกร 11065

546 หมู่ 17 ต.บ้านดู่  อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
ชื่อแปลง : ทิพย์ไทยสมุนไพร 1
รหัสแปลง : 8731 เนื้อที่ 10 ไร่

ผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
SDGsPGS

ประเภทการรับรอง
อินทรีย์(Organic)


ผลการตรวจแปลง(iPGS)

วันที่ตรวจแปลง 27/07/2564
กลั่นกรองระดับจังหวัด

วันที่ประชุมกลั่นกรอง 15/06/2565
รับรองระดับจังหวัด

วันที่ประชุมรับรอง 30/06/2565

รับรองตั้งแต่วันที่ : 30/06/2565
ถึงวันที่ : 30/06/2566

ละติจูด : 19.827251
ลองติจูด : 19.827251
เอกสารฉบับนี้ออกโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สั่งพิมพ์ ณ วันที่ 08/07/2567

แรงบันดาลใจในการทำเกษตรอินทรีย์

เนื่องจากพ่อป่วยเป็นมะเร็งตับพอทราบระยะสุดท้ายซึ่งรักษาได้มาระยะหนึ่ง พอพ่อเสียเลยหันกลับมาดูว่าเพราะสาเหตุอะไรที่ทำให้พ่อเป็นมะเร็งตับ สาเหตุหนึ่งทราบคือการใช้สารเคมี และอาหารการกิน ปี 2540 วันที่ 19 เดือนธันวาคม เป็นปีที่พ่อจากไปจึงตั้งใจที่จะที่ลดการใช้สารเคมีเพื่อสุขภาพดีของผู้ผลิตและผู้บริโภคและเห็นแม่บ้านว่างงานจึงคิดตั้งกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรขึ้นมาเพื่อหารายได้เสริมจุนเจือครอบครัวอีกทางหนึ่ง จึงทำยาสมุนไพรและเรียนแพทย์แผนไทยและเภสัชตามลำดับ แต่กลุ่มแม่บ้านสมาชิกตั้งต้นมี 40 กว่าคน คนเยอะเรื่องเยอะ ทะยอยกันลาออก จึงเปลี่ยนมาเป็นวิสาหกิจชุมชนของคนที่มีความคิดเห็นเหมือนกัน มีสมาชิก 7-8 คน ทำสมุนไพรตามออเดอร์ที่สั่ง และรักษาผู้ป่วยที่หมดทางเลือก แต่ใจสู้ ด้วยการทานสมุนไพร เข้าคอสล้างพิษตับและรักษาตามอาการของผู้ป่วย และส่วนมากผู้ป่วยที่มาหาจะอยู่ในระยะสุดท้ายช่วยผ่อนการเจ็บปวดให้น้อยลง ไม่ทรมาน ส่วนผู้ป่วยระยะแรกๆ ก็หายเป็นปกติ การทานอาหารที่เราทำเลือกอาหารทึ่เราคัดสรร ปลูกเอง ไม่ใช้สารเคมี ซึ่งช่วงโควิดระบาดทำให้พักการรับผู้ป่วย ผักที่ปลูกเหลือกินก็แบ่งขายในชุมชน และเลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี ห่านและ ไก่พื้นเมือง

พืชที่ผ่านการรับรอง

มะยงชิด 1 ต้น,ทุเรียนหมอนทอง 1 ต้น,ไผ่ผิวดีด 3 กอ,ไผ่รวก 8 กอ,คอแลน 5 ต้น,มะขามป้อม 6 ต้น,ปาล์มน้ำมัน 7 ต้น, ไผ่ซางป่า 2 กอ,มะไฟ 3 ต้น,มะกอกป่า 1 ต้น,สะตอ 8 ต้น,ไผ่หก 6 กอ, ยางพารา 270 ต้น,กระท้อน 8 ตัน,ขนุน 2 ต้น,ลองกอง 80 ต้น,เงาะโรงเรียน 25 ต้น, มะม่วง 10 ต้น,ข่าป่า 2 แปลง,ไผ่กิมซุง 2 กอ,มะเฟือง 32 ต้น,

ภาพและวีดีโอประกอบการตรวจประเมินแปลง