หนังสือสำคัญรับรองแปลงเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS
จังหวัด สงขลา
SDGsPGS Organic Certification Statement Songkhla Province




ดร.อนุรักษ์ เรืองรอบ
นายกสมาคมการค้าเกษตรกรรมยั่งยืนไทย

นายสนธิกาญจน์ วิโสจสงคราม
ประธานสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดสงขลา

ผศ.ดร.นุกูล อินทรสังขา
ประธานคณะกรรมการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS จังหวัดสงขลา

QR Code ตรวจสอบย้อนกลับ(Traceability)

Serial No. : SDGsPGS-17243


นายสนธิกาญจน์ วิโสจสงคราม
รหัสเกษตรกร 6010

ม.10 บ้านทุ่งเคี่ยม ต.ท่าชะมวง  อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
ชื่อแปลง : ภูมินทร์
รหัสแปลง : 4787 เนื้อที่ 8 ไร่

ผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
SDGsPGS

ประเภทการรับรอง
ระยะปรับเปลี่ยน ปีที่ 6


ผลการตรวจแปลง(iPGS)

วันที่ตรวจแปลง 03/11/2566
กลั่นกรองระดับจังหวัด

วันที่ประชุมกลั่นกรอง 04/04/2566
รับรองระดับจังหวัด

วันที่ประชุมรับรอง 29/04/2566

รับรองตั้งแต่วันที่ : 29/04/2566
ถึงวันที่ : 29/04/2567

ละติจูด : 7.178075290670442
ลองติจูด : 100.21715976297855
เอกสารฉบับนี้ออกโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สั่งพิมพ์ ณ วันที่ 01/08/2567

แรงบันดาลใจในการทำเกษตรอินทรีย์

คืนถิ่น สร้างฐาน สืบสานศาสตร์พระราชา นำพาชุมชน

พืชที่ผ่านการรับรอง

1. เทพทาโร จำนวน 200 ต้น เพื่อการนำมาทำน้ำมันหอม อโรม่า เวชภัณฑ์ สปา ผลิตจากใบ กิ่งก้าน ผล ต่อแปลง ผลผลิต 2 กิโลกรัม ต่อวัน เพื่อการแปรรูป ผลผลิตจากการขยายพันธุ์ ต้นกล้า ปีละ 6,000 ต้น 2. พริกไทย จำนวน 140 ต้น ผลผลิต สัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม 3. ดาหลา จำนวน 180 ก่อ ผลผลิต จากดอกปีละ 1,500 ดอก ผลผลิตจากหน่อขยายพันธ์ ปีละ 2,000 หน่อ ไว้ปลูกขยาย และไว้จำหน่าย 4. กระวาน จำนวน 40 ก่อ ผลผลิตจากหน่อ ปีละ 10 กิโลกรัม และแยกหน่อขยายพันธุ์ เพื่อขยายการปลูก และไว้จำหน่าย 5. หน่อแดง แร้วหอม ขิงแห้ง อย่างละ 25 ก่อ 6. ไพล 450 ต้น ผลผลิตใช้ทำยาสมุนไพรไทย น้ำมันระเหย ผลผลิตปีละ 30 กิโลกรัม ผลผลิตจากการขยายกล้าไม้ ปีละ 1,000 ต้น 7. กาแฟโรบัสต้า 140 ต้น 8. โกโก้ 52 ต้น 9. มะม่วงเบา 30 ต้น 10. มะพร้าวกะทิ 44 ต้น 11. ม่าว 20 ต้น 12. ไผ่สางหม่น 60 ต้น 13. ไผ่หลามกาบแดง 20 ต้น 14. กะพ้อ 400 ต้น 15. ผลไม้ เช่น ทุเรียนสาริกา 2 ต้น ทุเรียนหมอนทอง 6 ต้น มังคุด 12 ต้น ส้มโอทับทิมสยาม 3 ต้น ละไม 4 ต้น จำปะดะ 8 ต้น ทุเรียนป่า 9 ต้น จำปุริ่ง 3 ต้น ชะมวง 4 ต้น มะนาว 6 ต้น ย่านาง 20 ต้น 16. สละสุมาลี 10 ต้น 17. กล้วยน้ำว้า 20 ต้น 18. กล้วยเล็บมือนาง 30 ต้น 19. ผักกูด 300 ต้น 20. ขี้เหล็ก 3 ต้น 21. สะตอ 3 ต้น 22. เหรียง 10 ต้น 23. กระทือ 25 ต้น 24. ผักเหรียง 20 ต้น 25. ไม้ป่ายางพารา 520 ต้น ไม้เศรษฐกิจ ยางนา 60 ต้น หลุมพอ 40 ต้น ยางเสี้ยน 12 ต้น ยางมันหมู 12 ต้น ตะเคียนทอง 40 ต้น ตำเสา 16 ต้น ประดู่ป่า 10 ต้น พะยูง 10 ต้น มะหาด 10 ต้น กะยาก 6 ต้น ตะเตียนหิน 20 ต้น เคี้ยม 30 ต้น ขนุนป่า 2 ต้น จันกระพ้อ 10 ต้น การะบูน 2 ต้น มะฮอกกานี 40 ต้น พะยอม 50 ต้น นาคบุก 3 ต้น 26. สมุนไพรพื้นบ้าน พื้นถิ่น เช่น ลูกโทะ 10 ต้น ลูกแหม 40 ต้น ตะขบ 4 ต้น นมแมว 4 ต้น นมควาย 2 ต้น หว้า 4 ต้น 27. สมุนไพรพื้นบ้าน ขมิ้น 40 ต้น ขมิ้นขัน 20 ต้น ข่า 60 ต้น ขิงแห้ง 30 ต้น 28. สมุนไพรพื้นบ้านอื่นๆ เช่น ดีปลีเชือก ว่านสาวหลง กาบหอย หญ้าหนวดแมว ิสเลดพังพร 6 ต้น เป็นต้น 29 พลูท่าแค 300 ต้น 30. ทุเรียนพื้นบ้าน 10 ต้น 31 เอื้ยง 200 ต้น 32 มะม่วงเบา 20 ต้น ประมง 1. ปลานิล 4,000 ตัว 2. ปลาตะเพียน 4,000 ตัว 3. ปลาทับทิม 4,000 ตัว 4. ปลาดุก 5,000 ตัว

ภาพและวีดีโอประกอบการตรวจประเมินแปลง