ข้อมูลเกษตรกรหัวใจอินทรีย์
จังหวัดเชียงราย


นายภัสวัฒน์ เมืองยศ
รหัสเกษตรกร 17228

อ่าน 21 ครั้ง
ข้าพเจ้า ภัสวัฒน์ เมืองยศ
ขอปฏิญาณตนว่า
1.ข้าพเจ้าจะซื่อสัตย์ต่ออาชีพเกษตรอินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิด เพื่อสุขภาวะที่ดีของตนเอง ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
2.ข้าพเจ้าเข้าร่วมทำงานกับ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนเชียงราย เจริญก้าวหน้าในทุกๆด้าน
3.ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตามกฎระเบียบของ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนเชียงราย อย่างเคร่งครัด
ที่ตั้ง :
201 หมู่ที่ 2 ตำบล ดอยฮาง  อ.เมืองเชียงราย จังหวัด เชียงราย
สังกัดศูนย์/กลุ่ม ไม่สังกัดกลุ่ม
เบอร์โทร : 0823871XXX
Young Smart Farmer ไช่ ไม่ใช่
จำนวนโรงเรือนปลูกผัก 0 โรง
วันที่เป็นสมาชิก SDGsPGS : 30/01/2565

ผู้เพิ่มข้อมูล ภัสวัฒน์ เมืองยศ

ข้อมูลแปลง

พื้นที่ทั้งหมด 8.51 ไร่ พื้นที่เกษตรอินทรีย์ 1 แปลง 8.51 ไร่

ชื่อแปลง : สวนสมาธิ
[เปิดดู : 88 ครั้ง ]
รหัสแปลง : 14206พื้นที่ : 8.51 ไร่
  • ตรวจครั้งที่ 1 วันที่ตรวจ 09/03/2565
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยไม่มีเงื่อนไข
  • ตรวจครั้งที่ 2 วันที่ตรวจ 03/03/2566
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยไม่มีเงื่อนไข
  • ตรวจครั้งที่ 3 วันที่ตรวจ 07/03/2567
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยไม่มีเงื่อนไข


    ผู้บริโภคทุกท่านเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการมีส่วนร่วม

    เชิญทุกท่านเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมเกษตรอินทรีย์ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

    ชื่อแปลง : สวนสมาธิ 88



    ภาพวาดแปลงที่ขอรับการตรวจ

    ข้อมูลการตรวจห้องปฏิบัติการ

    ไม่มีผลการตรวจห้องปฏิบัติการ

    ข้อมูลแปลง

    รายการตรวจผลการตรวจ
    ที่ตั้งละติจูด : 19.903900 ลองติจูด : 99.783223
    ประเภทกรรมสิทธิ์ ญาติ พี่น้อง
    การจัดการพื้นที่ ตัวเอง
    ประเภทการขอรับรอง ผลไม้อินทรีย์,สมุนไพรอินทรีย์,
    ผลการตรวจสถานที่เก็บผลผลิต
    ที่เก็บอุปกรณ์
    มีห้องเก็บอุปกรณ์เป็นระเบียบเรียบร้อย
    ผลิตภัณฑ์ที่ขอรับรอง เชียงดา 100 กก./ปี,เลือดมังกร 30 กก./ปี,ตะไคร้ 300 กก./ปี,ใบเตย 60 กก./ปี,ขิง 100 กก./ปี,กระชาย 100 กก./ปี,เลมอน 50 กก./ปี,เก๊กฮวย 30 กก./ปี,โรสแมรี่ 10 กก./ปี
    ปัจจัยการผลิต ปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง 300 กก./ปี ใช้ใบไม้จากสวนและมูลวัวจากฟาร์มวัว ใช้เวลาหมักทั้งหมด 90 วัน,จุลินทรีย์หน่อกล้วย 50 กก./ปี ใช้หน่อกล้วยในสวนและกากน้ำตาล หมัก 1 สัปดาห์,ปุ๋ยมูลไส้เดือนพันธุ์ AF 150 กก./ปี เลี้ยงในบ่อซีเมนต์ เลี้ยงด้วยมูลวัวในฟาร์ม 90 วัน
    วันที่ทำเกษตรอินทรีย์ 01/01/2555
    ใช้สารเคมีครั้งสุดท้าย ไม่เคยใช้ แปลงนี้เป็นสวนป่าตั้งแต่ปี 2555 และมีการปรับเปลี่ยนมาทำเกษตรผสมผสานในปี 2563
    แหล่งน้ำที่ใช้ น้ำฝน, น้ำบาดาล,
    ผู้บันทึกข้อมูล   ภัสวัฒน์ เมืองยศ วันที่บันทึกข้อมูล 01/02/2565

    ที่ตั้งแปลง



    รายละเอียดประวัติแปลง

      ระบบจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 20 กิจกรรมล่าสุด
    วันที่ปฏิบัติการปฏิบัติวันที่บันทึก
    5/21/2024งานปลูกไม้ประดับ พวงชมพู 2 ต้น ยางอินเดีย 1 ต้น5/21/2024
    5/18/2024ปลูกเลมอนเพิ่ม 3 ต้น5/19/2024
    5/15/2024ใส่ปุ๋ยหมักกับไม้ยืนต้น5/19/2024
    4/30/2024ทำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง ขี้วัว 10 กระสอบ ใบไม้แห้ง 30 ตะกร้า5/19/2024
    4/28/2024งานตัดแต่งกิ่งต้นไม้5/21/2024
    4/18/2024งานใส่ปุ๋ยหมัก5/21/2024
    4/10/2024งานปรับภูมิทัศน์รอบสวน5/21/2024
    4/4/2024งานแปรรูปชาสวนสมาธิ5/21/2024
    3/31/2024งานตัดหญ้ารอบสวนสมาธิ5/21/2024
    3/22/2024งานเก็บใบไม้สำหรับเตรียมทำปุ๋ยหมัก5/21/2024
    3/16/2024งานขยายพันธุ์พืช ปักชำ / ตอนกิ่ง / เพาะเมล็ด5/21/2024
    3/10/2024งานกำจัดวัชพืช5/21/2024
    3/3/2024งานปลูกไม้ผล คือ มะม่วง 4 ต้น ละมุด 1 ต้น ฝรั่งกิมจู 2 ต้น5/21/2024
    2/27/2024งานตัดหญ้ารอบสวน5/21/2024
    2/18/2024งานทำปุ๋ยหมัก5/21/2024
    2/14/2024งานใส่ปุ๋ยขี้วัวรอบสวน5/21/2024
    2/11/2024งานปลูกไม้พุ่มและไม้คลุมดิน5/21/2024
    1/23/2024งานพรวนดิน กำจัวัชพืช5/21/2024
    1/10/2024งานขยายพันธุ์พืช5/21/2024
    12/29/2023ประชุม ระเบียบวาระการประชุม SDGsPGS เชียงราย12/29/2023

    รายละเอียดต้นทุนแปลง

      ระบบจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 20 กิจกรรมล่าสุด
    วันที่ปฏิบัติรายละเอียดจำนวนวันที่เพิ่ม
    02/05/2567 ค่าจ้างแรงงาน รวมแรงงานตัวเอง
    ค่าแรงตัดหญ้า
    500 21/05/2567
    05/04/2567 ค่าปุ๋ย/มูลสัตว์
    มูลวัว
    900 21/05/2567
    09/03/2567 ค่าสารชีวภัณฑ์
    เชื้อ BT
    150 21/05/2567
    08/02/2567 ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เช่น ท่อ สายส่งน้ำ สปริงเกิล
    ท่อน้ำ PE
    1000 21/05/2567

    รายละเอียดการใช้ปัจจัยการผลิต

      ระบบจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 20 กิจกรรมล่าสุด
    วันที่ปฏิบัติ | วันที่เพิ่มชื่อปัจจัยการผลิตแหล่งผลิตปริมาณที่ใช้วิธีการใช้วัตถุประสงค์ที่ใช้
    ไม่พบข้อมูล

    ประวัติการตรวจประเมินแปลง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS

    หมายเลขตรวจ : 16986 วันที่ตรวจ : 03/03/2566 เวลา 9.00-10.30

    หัวหน้าทีมตรวจแปลง :

    ปารดา ศรีเลาว์

    ทีมผู้ตรวจแปลง

    เมรินทร์ ประเสริฐสังข์, เทวินฏฐ์ อัครศิลาชัย,

    ผู้บันทึกข้อมูล

    ปารดา ศรีเลาว์

    สรุปผลการตรวจประเมินแปลง

    ข้อที่ 1 MUST – เกษตรกรต้องแจ้งพื้นที่ทำการเกษตรที่ตัวเองครอบครองให้ผู้ตรวจทราบ ไม่ว่าจะใช้ประโยชน์หรือไม่ใช้ประโยชน์/เช่า/มีหรือไม่มีโฉนดที่ดินก็ตาม
    ข้อที่ 2 MUST แปลงเกษตรทุกแปลงจะต้องทำในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนทั้งหมด ภายในระยะเวลา 3 ปี อนุญาตให้ทดลองทำบางแปลงได้ใน 3 ปีแรก
    ข้อที่ 3 RECOMMEND เกษตรกรควรวัดค่าและปรับค่า pH ของดินตามประเภทของพืชที่ต้องการปลูก ควรนำดินและน้ำไปทำการตรวจวัดธาตุอาหารในดิน หรือสารเคมีตกค้างทุกปี
    ข้อที่ 4 MUST - พืชที่ปลูกในแปลงเคมีจะต้อง “ไม่ขอรับรอง” อนุญาตให้เป็นแปลงคู่ขนานได้ แต่พืชที่ขอรับรองในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนจะต้องไม่เหมือนกับแปลงเคมี เกษตรกรต้องจัดแยกผลผลิตจากแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนชัดเจน ทั้งระยะปรับเปลี่ยนและระยะที่ได้รับการรับรองแล้วให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ มี QR code ติดกับผลผลิต
    ข้อที่ 5 MUST - คันแดนแปลงเกษตรกรรมยั่งยืน จะต้องแยกจากแปลงเคมีอย่างชัดเจนอย่างน้อยระยะห่าง 3 - 5 เมตร และถ้าแปลงข้างเคียงมีความเสี่ยงการปนเปื้อนสารเคมี เกษตรกรจะต้องจัดทำแนวกันชน (ปรับคันดินและปลูกพืช) ป้องกันการปนเปื้อน ทั้งนี้ พืชตามแนวกันชนไม่ขอรับรอง
    ข้อที่ 6 MUST - ห้ามปลูกข้าวในแปลงเกษตรเกษตรกรรมยั่งยืนที่ขอรับรองมากกว่า 2 รุ่นต่อปี ควรพักดินหรือปลูกพืชเป็นปุ๋ยพืชสดเพื่อปรับปรุงดิน
    ข้อที่ 7 RECOMMEND - เกษตรกรควรปลูกข้าวและพืชผักไว้กินเอง เพื่อความมั่นคงทางด้านอาหาร และสุขภาพที่ดีของครอบครัว
    ข้อที่ 8 RECOMMEND - เกษตรกรอาจขายข้าวเปลือกที่ปลูกในแปลงนา หรือแปลงรกร้างว่างเปล่า ที่ไม่มีการใช้สารเคมีเกษตรใดๆ (โดยไม่มีความเสี่ยง) เป็นเกษตรกรรมยั่งยืน SDGsPGS ได้หลังจากผ่านการรับรองจากคณะกรรมการระดับจังหวัด ทั้ง 22 ข้อ เป็นเวลา 36 เดือน
    ข้อที่ 9 RECOMMEND - ในกรณีของผักผลไม้และสมุนไพร เกษตรกรอาจขายผลผลิตที่ปลูกในแปลงสวน หรือแปลงรกร้างว่างเปล่า ที่ไม่มีการใช้สารเคมีเกษตรใดๆ (โดยไม่มีความเสี่ยง) เป็นเกษตรเกษตรกรรมยั่งยืน SDGsPGS ได้หลังจากผ่านการรับรองจากคณะกรรมการระดับจังหวัด ทั้ง 22 ข้อ เป็นเวลา 36 เดือน
    ข้อที่ 10 RECOMMEND ปศุสัตว์ที่เลี้ยงในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนสามารถรับรองเป็นปศุสัตว์อินทรีย์ได้หากอาหารที่เลี้ยงเป็นอาหารอินทรีย์ หากเป็นอาหารระยะปรับเปลี่ยน ให้รับรองเป็นปศุสัตว์ “อารมณ์ดี” หรือระยะปรับเปลี่ยนสู่ปศุสัตว์อินทรีย์ตามระยะเวลาปรับเปลี่ยนด้วยอาหารเป็นเวลา 36 เดือน
    ข้อที่ 11 RECOMMEND หลีกเลี่ยงการใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีการคลุกสารเคมีและไม่ทราบแหล่งที่มาชัดเจน เกษตรกรควรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว/ผัก/ผลไม้ไว้ใช้เอง รวมถึงทราบแหล่งที่มาชัดเจน ในกรณีที่ไม่สามารถหาเมล็ดพันธุ์ที่ไม่คลุกสารเคมีได้ และถ้าจำเป็นต้องใช้เมล็ดพันธุ์ที่คลุกสารเคมีให้นำเมล็ดพันธุ์ไปล้างน้ำอุ่น น้ำหมักชีวภาพ หรือสารชีวภัณฑ์ที่ไม่ละเมิดมาตรฐาน ก่อนนำไปเพาะปลูก
    ข้อที่ 12 MUST - ห้ามเกษตรกรใส่ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ฮอร์โมนเร่ง สารเคมีสังเคราะห์ ห้ามใช้ปัจจัยการผลิตหรือปุ๋ยอินทรีย์ยี่ห้อที่ไม่ทราบส่วนผสมและไม่มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์รับรอง ก่อนได้รับอนุญาตจากกลุ่มและเครือข่ายในพื้นที่นั้น
    ข้อที่ 13 MUST -ห้ามเผาตอซังและอินทรียวัตถุในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนที่ขอรับรอง
    ข้อที่ 14 MUST -ห้ามใช้ถังฉีดสารเคมีการเกษตรทั่วไปร่วมกับแปลงเกษตรกรรมยั่งยืน
    ข้อที่ 15 RECOMMEND - ให้ระมัดระวัง อย่าให้สารเคมีที่ใช้ในบ้านเรือน มาปนเปื้อนในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืน
    ข้อที่ 16 MUST – ห้ามนำผลผลิตจากแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนไปปะปนกับผลผลิตแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนระยะปรับเปลี่ยนและแปลงเกษตรทั่วไป ต้องจัดแยกผลผลิตแต่ละสถานะออกจากกันอย่างชัดเจน (ระยะเคมีทั่วไป/ระยะปรับเปลี่ยน/ระยะเกษตรกรรมยั่งยืน) ให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
    ข้อที่ 17 MUST - เกษตรกรที่ใช้รถเกี่ยวอุ้มหรือเกี่ยวนวดจะต้องทำความสะอาดรถเกี่ยวอุ้มก่อนนาไปใช้ และแยกข้าวที่ใช้ล้างเครื่องรถเกี่ยวอุ้ม หรือเกี่ยวนวด จำนวน 3 กระสอบแรก (ข้าวล้างเครื่อง) ไม่ถือว่าเป็นข้าวเกษตรกรรมยั่งยืน
    ข้อที่ 18 MUST - ห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีและภาชนะที่อาจมีสารเคมีปนเปื้อนมาใช้เพื่อจัดเก็บและขนส่งผลผลิตเกษตรเกษตรกรรมยั่งยืน ถุงและภาชนะที่ใช้ต้องสะอาด เหมาะที่จะใช้บรรจุปัจจัยการผลิต/ขนส่งอาหาร
    ข้อที่ 19 RECOMMEND - เกษตรกรควรมีโอกาสตรวจเลือดเพื่อวัดระดับสารเคมีในร่างกายว่าอยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัยหรือมีความเสี่ยงหรือไม่ เพื่อนำไปปรับพฤติกรรมในการผลิตและบริโภคให้สอดคล้องกับหลักความมั่นคงทางอาหาร โภชนาการและเกษตรกรรมที่ยั่งยืน
    ข้อที่ 20 RECOMMEND - เกษตรกรที่เป็นสมาชิกโครงการฯ จะต้องร่วมกันพัฒนากลุ่ม ร่วมกันลงหุ้น เข้าร่วมประชุมมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่มทุกครั้ง การขาดการเข้าร่วมประชุมมากกว่า 3 ครั้งเกษตรกรอาจถูกตัดสิทธิการเป็นสมาชิกของกลุ่มได้
    ข้อที่ 21 MUST – เกษตรกรต้องจัดทำบันทึกฟาร์ม บัญชีฟาร์ม สมุดเยี่ยมฟาร์ม โดยละเอียด จะต้องนำมาให้ผู้ตรวจแปลงพิจารณาว่ามีความเสี่ยงจากการปนเปื้อนสารเคมีสังเคราะห์ในปัจจัยการผลิตและกิจกรรมที่ทำหรือไม่ นอกจากนี้ยังมีความสำคัญอย่างยิ่งในการใช้เป็นหลักฐานขอรับรองมาตรฐานระดับสากลควบคู่กันไปด้วย
    ข้อที่ 22 MUST – เกษตรกรยินยอมให้มีการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดแปลงและผลการตรวจแปลงเท่าที่จำเป็น ภายในเครือข่ายฯ และคณะกรรมการรับรองระดับจังหวัดที่ขับเคลื่อนมาตรฐานเกษตรกรรมยั่งยืน SDGsPGS เท่านั้น ไม่อนุญาตให้เปิดเผยข้อมูลเป็นสาธารณะและเพื่อการค้าขายข้อมูลโดยเด็ดขาด




    ภาพและวีดีโอประกอบการตรวจประเมินแปลง

    ผลการกลั่นกรองของคณะทำงานกลั่นกรองระดับจังหวัด

    ผ่านการกลั่นกรอง SDGsPGS "อินทรีย์ "
    วันที่ประชุมกลั่นกรอง 20/04/2566


    ผลการรับรองคณะกรรมการรับรองระดับจังหวัด

    ผ่านการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS "อินทรีย์"
    วันที่รับรอง 26/04/2566




    ข้อมูลแผนการผลิตเกษตรอินทรีย์ ประจำปี 2567

    สนใจสินค้าสามารถโทรสั่งซื้อได้ที่ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนเชียงราย
    ประเภทชื่อแปลงวันที่เริ่มปลูกจำนวน(กก.)
    ไม่พบข้อมูลแผนการผลิต