ข้อมูลเกษตรกรหัวใจอินทรีย์
จังหวัดปราจีนบุรี


นางสาวรุ่งอรุณ เลิศปัญญาธร
รหัสเกษตรกร 6144

อ่าน 97 ครั้ง
ข้าพเจ้า รุ่งอรุณ เลิศปัญญาธร
ขอปฏิญาณตนว่า
1.ข้าพเจ้าจะซื่อสัตย์ต่ออาชีพเกษตรอินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิด เพื่อสุขภาวะที่ดีของตนเอง ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
2.ข้าพเจ้าเข้าร่วมทำงานกับ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนปราจีนบุรี เจริญก้าวหน้าในทุกๆด้าน
3.ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตามกฎระเบียบของ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนปราจีนบุรี อย่างเคร่งครัด
ที่ตั้ง :
142 หมู่ 7 ตำบล บ้านนา  อ.กบินทร์บุรี จังหวัด ปราจีนบุรี
สังกัดศูนย์/กลุ่ม กบินทร์
เบอร์โทร : 0851412XXX
Young Smart Farmer ไช่ ไม่ใช่
จำนวนโรงเรือนปลูกผัก 0 โรง
วันที่เป็นสมาชิก SDGsPGS : 19/05/2562

ผู้เพิ่มข้อมูล ปริศนา จันทร์แก้ว

ข้อมูลแปลง

พื้นที่ทั้งหมด 1,500.00 ไร่ พื้นที่เกษตรอินทรีย์ 1 แปลง 1,500.00 ไร่

ชื่อแปลง : ไดมอนด์ กรีน ฟาร์ม ปราจีนบุรี
[เปิดดู : 212 ครั้ง ]
รหัสแปลง : 4374พื้นที่ : 1500 ไร่
  • ตรวจครั้งที่ 1 วันที่ตรวจ 05/07/2562
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยไม่มีเงื่อนไข
  • ตรวจครั้งที่ 2 วันที่ตรวจ 27/06/2563
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยมีเงื่อนไข
  • ตรวจครั้งที่ 3 วันที่ตรวจ 09/06/2564
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยไม่มีเงื่อนไข
  • ตรวจครั้งที่ 4 วันที่ตรวจ 18/09/2564
  • ผลการตรวจแปลง :
    รับรองโดยไม่มีเงื่อนไข


    ผู้บริโภคทุกท่านเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการมีส่วนร่วม

    เชิญทุกท่านเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมเกษตรอินทรีย์ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

    ชื่อแปลง : ไดมอนด์ กรีน ฟาร์ม ปราจีนบุรี 212



    ภาพวาดแปลงที่ขอรับการตรวจ

    ข้อมูลการตรวจห้องปฏิบัติการ

    ไม่มีผลการตรวจห้องปฏิบัติการ

    ข้อมูลแปลง

    รายการตรวจผลการตรวจ
    ที่ตั้งละติจูด : 14.005593 ลองติจูด : 101.912474
    ประเภทกรรมสิทธิ์ ญาติ พี่น้อง
    การจัดการพื้นที่ ตัวเอง
    ประเภทการขอรับรอง ผักอินทรีย์,ผลไม้อินทรีย์,ข้าวอินทรีย์,สมุนไพรอินทรีย์,
    ผลการตรวจสถานที่เก็บผลผลิต
    ที่เก็บอุปกรณ์
    มีการจัดการเป็นระเบียบเรียบร้อยดีมาก
    ผลิตภัณฑ์ที่ขอรับรอง มะม่วงหาวมะนาวโห่ 920 ต้น ผลผลิต 3,000ก.ก.ต่อปี, มะนาว 156 ต้น ผลผลิต 1,000ก.ก.ต่อปี, โกโก้ 300 ต้น กล้วยน้ำว้า 300 ต้น ผลผลิต 1,000ก.ก.ต่อปี, มะรุม 50 ต้น, หอมแบ่ง 500 ต้น, พริกอินเดีย 20 ต้น ผลผลิต 500ก.ก.ต่อปี, มัลเบอรี่(หม่อน) 160 ต้น, กรีนโอ๊ค 2500 ต้น, เรดโอ๊ค 2500 ต้น, กรีนคอส 2500 ต้น, เรสคอส 2500 ต้น, เบบี้คอส 2500 ต้น, ฟิลเล่ 2500 ต้น, คะน้า และ กวางตุ้ง ผลผลิต 1,000ก.ก.ต่อปี, เมล่อน 700 ต้น, เห็ดถั่งเช่าสีทอง 100ก.ก., กะเพา 50 ต้น, โหระพา 50 ต้น, จิงจูฉ่าย 500 ต้น, อินทผาลัม 100 ต้,น หญ้าหวาน 100 ต้น, อโวกาโก้ 20 ต้น, เจียวกู่หลาน 50 ต้น, ไผ่ส่างหม่น หน่อไม้ไผ่ตง ผลผลิต 3,000ก.ก.ต่อปี, มะม่วง ผลผลิต 1,000ก.ก.ต่อปี, ฟักข้าว ผลผลิต 500ก.ก.ต่อปี, กระเจี้ยบเขียว ผลผลิต 200ก.ก.ต่อปี, มะเขือ ผลผลิต 500ก.ก.ต่อปี, ผักบุ้ง ผลผลิต 2,000ก.ก.ต่อปี, มะระจีน ผลผลิต 1,000ก.ก.ต่อปี, มะละกอ ผลผลิต 1,000ก.ก.ต่อปี, มะเขือเทศ มะเขือยาว ถั่วฝักยาว ผักกาดเขียว ขึ้นฉ่าย ตะไคร้ ผักกูด ลูกหม่อน กล้วยหอม ขนุน ทุเรียน​ อัญชัน
    ปัจจัยการผลิต จุลินทรีย์ (ทำเอง), ฝาง, รำ, แกลบ, ขี้เถ้า, กากน้ำตาล, มูลวัว, มูลไก่, ขุยมะพร้าว,สารชีวภัณฑ์ 4,000ลิตร​ ปุ๋ยเม็ดชีวภาพ 2,000 ก.ก. ปุ๋ยหมักอินทรีย์ 1,000 ลิตร ขี้วัว 2000 ก.ก. แกลบฟางข้าว 500 ก.ก ขุยมะพร้าว 500ก.ก
    วันที่ทำเกษตรอินทรีย์ 01/01/2547
    ใช้สารเคมีครั้งสุดท้าย -
    แหล่งน้ำที่ใช้ น้ำฝน, สระน้ำในไร่,
    ผู้บันทึกข้อมูล   ปริศนา จันทร์แก้ว วันที่บันทึกข้อมูล 14/01/2563

    ที่ตั้งแปลง



    รายละเอียดประวัติแปลง

      ระบบจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 20 กิจกรรมล่าสุด
    วันที่ปฏิบัติการปฏิบัติวันที่บันทึก
    5/25/2022ส่งผักชีลาวเข้าครัวกลาง 30 กก.5/5/2022
    4/28/2022ส่งผักคะน้าเข้าครัวกลาง 11 กก.5/5/2022
    4/28/2022ส่งผักกวางตุ้งเข้าครัวกลาง 42 กก.5/5/2022
    4/22/2022หยอดเชื้อถั่งเช่า5/4/2022
    4/16/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 40 กก.5/5/2022
    4/15/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 30 กก.5/5/2022
    4/12/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 45 กก.5/5/2022
    4/10/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 40 กก.5/5/2022
    4/9/2022ทำเชื้อเหลวเพาะเชื้อถั่งเข่า 5/4/2022
    4/7/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 40 กก.5/5/2022
    4/5/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 30 กก. มะนาว 10 กก.5/5/2022
    4/4/2022ปลูกผักสลัด5/4/2022
    4/4/2022ส่งผักชีลาวเข้าครัวกลาง 27 กก. ผักชีไทย 8 กก.5/5/2022
    4/2/2022ส่งผักกาดขาวเข้าครัวกลาง 20 กก.5/5/2022
    3/30/2022ส่งผักสลัดเข้าครัวกลาง 6 กก. 5/5/2022
    3/25/2022ซื้อเม็ดกระเจี๊ยบ 100฿ ข้าวไรซ์เบอรี่ 500 ฿ สำหรับงานถั่งเช่า5/4/2022
    2/4/2022ซื้อเสียง 1600฿ เมล็ดผัก 370฿ ซ่อมเครื่องตัดหญ้า 60฿5/4/2022
    12/1/2021ต้นมันฝรั่ง 98฿ สำหรับงานเลี้ยงถั่งเช่า ซ่อนเร้น 800฿สำหรับทำดินปลูก5/4/2022
    11/14/2021ต้นมันฝรั่ง 65฿ ถุงมิอ 718 สำหรับงานเลี้ยงถั่งเช่า เมล็ดผักสวนครัว 170 ฿ 5/4/2022
    11/1/2021เก็บดอกพยอมและนำไปตากในโรงตากแสงอาทิตย์สำหรับทำชา 5/4/2022

    รายละเอียดต้นทุนแปลง

      ระบบจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 20 กิจกรรมล่าสุด
    วันที่ปฏิบัติรายละเอียดจำนวนวันที่เพิ่ม
    29/07/2563 ค่าเมล็ดพันธุ์ กล้าพันธุ์
    ซื้อกล้าหนุมานประสานกาย 600 ต้น
    1200 06/08/2563
    29/07/2563 ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เช่น ท่อ สายส่งน้ำ สปริงเกิล
    หัวน้ำหยด 1000 หัว
    7114 06/08/2563
    05/07/2563 ค่าเมล็ดพันธุ์ กล้าพันธุ์
    ต้นกล้าหนุมานประสานกาย 200 ต้น
    2000 06/08/2563
    06/05/2562 ค่าอาหารเครื่องดื่มจากการจ้า่ง
    ค่าอาหารเลี้ยงรับรองผู้ตรวจแปลง 2 มื้อ
    400 16/07/2562
    16/05/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    1000 16/07/2562
    18/05/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    1000 16/07/2562
    19/05/2562 ค่าขนส่ง
    ค่าน้ำมันรถกระบะ ไปซื้อน้ำทันรถไถ
    420 16/07/2562
    19/05/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    2000 16/07/2562
    21/05/2562 ค่าซ่อมบำรุง เครื่องมือเครื่องใช้ทางการเกษตร
    ซ่อมรถไถ
    500 16/07/2562
    21/05/2562 ค่าซ่อมบำรุง เครื่องมือเครื่องใช้ทางการเกษตร
    ปะยาง
    400 16/07/2562
    21/05/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    2000 16/07/2562
    23/05/2562 ค่าขนส่ง
    ค่าน้ำมันรถ
    1000 16/07/2562
    26/05/2562 ค่าจัดซื้อปั้มน้ำ
    ค่าปั๊มน้ำ
    12000 16/07/2562
    30/05/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    2000 16/07/2562
    30/05/2562 ค่าขนส่ง
    ค่าน้ำมันรถกระบะ
    1000 16/07/2562
    06/06/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    1000 16/07/2562
    10/06/2562 ค่าน้ำมันจากการใช้เครื่องจักรการเกษตร
    ค่าน้ำมันรถไถ
    2000 16/07/2562
    24/02/2562 ค่าเมล็ดพันธุ์ กล้าพันธุ์
    ซื้อต้นพันธุ์โกโก้
    6000 16/07/2562
    03/06/2562 ค่าเมล็ดพันธุ์ กล้าพันธุ์
    จ่ายค่าต้นกล้วย
    2400 16/07/2562
    04/07/2562 ค่าขนส่ง
    ค่าแก๊สรถยนต์ ไปแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ ที่ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 9
    510 16/07/2562

    รายละเอียดการใช้ปัจจัยการผลิต

      ระบบจะแสดงข้อมูลเฉพาะ 20 กิจกรรมล่าสุด
    วันที่ปฏิบัติ | วันที่เพิ่มชื่อปัจจัยการผลิตแหล่งผลิตปริมาณที่ใช้วิธีการใช้วัตถุประสงค์ที่ใช้
    ไม่พบข้อมูล

    ประวัติการตรวจประเมินแปลง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS

    หมายเลขตรวจ : 16101 วันที่ตรวจ : 18/09/2564 เวลา 11.10-12.40

    หัวหน้าทีมตรวจแปลง :

    จิรายุ ศรีชัยยงพานิช

    ทีมผู้ตรวจแปลง

    จิรายุ ศรีชัยยงพานิช, ทองคำ สารคุณ, ปริศนา จันทร์แก้ว, พลัฏฐ์ชัย หงษ์สมดี, อรไพลิน บางพระ,

    ผู้บันทึกข้อมูล

    สามารถ วงษาเวียง

    สรุปผลการตรวจประเมินแปลง

    ข้อที่ 1 MUST – เกษตรกรต้องแจ้งพื้นที่ทำการเกษตรที่ตัวเองครอบครองให้ผู้ตรวจทราบ ไม่ว่าจะใช้ประโยชน์หรือไม่ใช้ประโยชน์/เช่า/มีหรือไม่มีโฉนดที่ดินก็ตาม
    ข้อที่ 2 MUST แปลงเกษตรทุกแปลงจะต้องทำในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนทั้งหมด ภายในระยะเวลา 3 ปี อนุญาตให้ทดลองทำบางแปลงได้ใน 3 ปีแรก
    ข้อที่ 3 RECOMMEND เกษตรกรควรวัดค่าและปรับค่า pH ของดินตามประเภทของพืชที่ต้องการปลูก ควรนำดินและน้ำไปทำการตรวจวัดธาตุอาหารในดิน หรือสารเคมีตกค้างทุกปี
    ข้อที่ 4 MUST - พืชที่ปลูกในแปลงเคมีจะต้อง “ไม่ขอรับรอง” อนุญาตให้เป็นแปลงคู่ขนานได้ แต่พืชที่ขอรับรองในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนจะต้องไม่เหมือนกับแปลงเคมี เกษตรกรต้องจัดแยกผลผลิตจากแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนชัดเจน ทั้งระยะปรับเปลี่ยนและระยะที่ได้รับการรับรองแล้วให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ มี QR code ติดกับผลผลิต
    ข้อที่ 5 MUST - คันแดนแปลงเกษตรกรรมยั่งยืน จะต้องแยกจากแปลงเคมีอย่างชัดเจนอย่างน้อยระยะห่าง 3 - 5 เมตร และถ้าแปลงข้างเคียงมีความเสี่ยงการปนเปื้อนสารเคมี เกษตรกรจะต้องจัดทำแนวกันชน (ปรับคันดินและปลูกพืช) ป้องกันการปนเปื้อน ทั้งนี้ พืชตามแนวกันชนไม่ขอรับรอง
    ข้อที่ 6 MUST - ห้ามปลูกข้าวในแปลงเกษตรเกษตรกรรมยั่งยืนที่ขอรับรองมากกว่า 2 รุ่นต่อปี ควรพักดินหรือปลูกพืชเป็นปุ๋ยพืชสดเพื่อปรับปรุงดิน
    ข้อที่ 7 RECOMMEND - เกษตรกรควรปลูกข้าวและพืชผักไว้กินเอง เพื่อความมั่นคงทางด้านอาหาร และสุขภาพที่ดีของครอบครัว
    ข้อที่ 8 RECOMMEND - เกษตรกรอาจขายข้าวเปลือกที่ปลูกในแปลงนา หรือแปลงรกร้างว่างเปล่า ที่ไม่มีการใช้สารเคมีเกษตรใดๆ (โดยไม่มีความเสี่ยง) เป็นเกษตรกรรมยั่งยืน SDGsPGS ได้หลังจากผ่านการรับรองจากคณะกรรมการระดับจังหวัด ทั้ง 22 ข้อ เป็นเวลา 36 เดือน
    ข้อที่ 9 RECOMMEND - ในกรณีของผักผลไม้และสมุนไพร เกษตรกรอาจขายผลผลิตที่ปลูกในแปลงสวน หรือแปลงรกร้างว่างเปล่า ที่ไม่มีการใช้สารเคมีเกษตรใดๆ (โดยไม่มีความเสี่ยง) เป็นเกษตรเกษตรกรรมยั่งยืน SDGsPGS ได้หลังจากผ่านการรับรองจากคณะกรรมการระดับจังหวัด ทั้ง 22 ข้อ เป็นเวลา 36 เดือน
    ข้อที่ 10 RECOMMEND ปศุสัตว์ที่เลี้ยงในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนสามารถรับรองเป็นปศุสัตว์อินทรีย์ได้หากอาหารที่เลี้ยงเป็นอาหารอินทรีย์ หากเป็นอาหารระยะปรับเปลี่ยน ให้รับรองเป็นปศุสัตว์ “อารมณ์ดี” หรือระยะปรับเปลี่ยนสู่ปศุสัตว์อินทรีย์ตามระยะเวลาปรับเปลี่ยนด้วยอาหารเป็นเวลา 36 เดือน
    ข้อที่ 11 RECOMMEND หลีกเลี่ยงการใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีการคลุกสารเคมีและไม่ทราบแหล่งที่มาชัดเจน เกษตรกรควรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว/ผัก/ผลไม้ไว้ใช้เอง รวมถึงทราบแหล่งที่มาชัดเจน ในกรณีที่ไม่สามารถหาเมล็ดพันธุ์ที่ไม่คลุกสารเคมีได้ และถ้าจำเป็นต้องใช้เมล็ดพันธุ์ที่คลุกสารเคมีให้นำเมล็ดพันธุ์ไปล้างน้ำอุ่น น้ำหมักชีวภาพ หรือสารชีวภัณฑ์ที่ไม่ละเมิดมาตรฐาน ก่อนนำไปเพาะปลูก
    ข้อที่ 12 MUST - ห้ามเกษตรกรใส่ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ฮอร์โมนเร่ง สารเคมีสังเคราะห์ ห้ามใช้ปัจจัยการผลิตหรือปุ๋ยอินทรีย์ยี่ห้อที่ไม่ทราบส่วนผสมและไม่มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์รับรอง ก่อนได้รับอนุญาตจากกลุ่มและเครือข่ายในพื้นที่นั้น
    ข้อที่ 13 MUST -ห้ามเผาตอซังและอินทรียวัตถุในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนที่ขอรับรอง
    ข้อที่ 14 MUST -ห้ามใช้ถังฉีดสารเคมีการเกษตรทั่วไปร่วมกับแปลงเกษตรกรรมยั่งยืน
    ข้อที่ 15 RECOMMEND - ให้ระมัดระวัง อย่าให้สารเคมีที่ใช้ในบ้านเรือน มาปนเปื้อนในแปลงเกษตรกรรมยั่งยืน
    ข้อที่ 16 MUST – ห้ามนำผลผลิตจากแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนไปปะปนกับผลผลิตแปลงเกษตรกรรมยั่งยืนระยะปรับเปลี่ยนและแปลงเกษตรทั่วไป ต้องจัดแยกผลผลิตแต่ละสถานะออกจากกันอย่างชัดเจน (ระยะเคมีทั่วไป/ระยะปรับเปลี่ยน/ระยะเกษตรกรรมยั่งยืน) ให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
    ข้อที่ 17 MUST - เกษตรกรที่ใช้รถเกี่ยวอุ้มหรือเกี่ยวนวดจะต้องทำความสะอาดรถเกี่ยวอุ้มก่อนนาไปใช้ และแยกข้าวที่ใช้ล้างเครื่องรถเกี่ยวอุ้ม หรือเกี่ยวนวด จำนวน 3 กระสอบแรก (ข้าวล้างเครื่อง) ไม่ถือว่าเป็นข้าวเกษตรกรรมยั่งยืน
    ข้อที่ 18 MUST - ห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีและภาชนะที่อาจมีสารเคมีปนเปื้อนมาใช้เพื่อจัดเก็บและขนส่งผลผลิตเกษตรเกษตรกรรมยั่งยืน ถุงและภาชนะที่ใช้ต้องสะอาด เหมาะที่จะใช้บรรจุปัจจัยการผลิต/ขนส่งอาหาร
    ข้อที่ 19 RECOMMEND - เกษตรกรควรมีโอกาสตรวจเลือดเพื่อวัดระดับสารเคมีในร่างกายว่าอยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัยหรือมีความเสี่ยงหรือไม่ เพื่อนำไปปรับพฤติกรรมในการผลิตและบริโภคให้สอดคล้องกับหลักความมั่นคงทางอาหาร โภชนาการและเกษตรกรรมที่ยั่งยืน
    ข้อที่ 20 RECOMMEND - เกษตรกรที่เป็นสมาชิกโครงการฯ จะต้องร่วมกันพัฒนากลุ่ม ร่วมกันลงหุ้น เข้าร่วมประชุมมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่มทุกครั้ง การขาดการเข้าร่วมประชุมมากกว่า 3 ครั้งเกษตรกรอาจถูกตัดสิทธิการเป็นสมาชิกของกลุ่มได้
    ข้อที่ 21 MUST – เกษตรกรต้องจัดทำบันทึกฟาร์ม บัญชีฟาร์ม สมุดเยี่ยมฟาร์ม โดยละเอียด จะต้องนำมาให้ผู้ตรวจแปลงพิจารณาว่ามีความเสี่ยงจากการปนเปื้อนสารเคมีสังเคราะห์ในปัจจัยการผลิตและกิจกรรมที่ทำหรือไม่ นอกจากนี้ยังมีความสำคัญอย่างยิ่งในการใช้เป็นหลักฐานขอรับรองมาตรฐานระดับสากลควบคู่กันไปด้วย
    ข้อที่ 22 MUST – เกษตรกรยินยอมให้มีการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดแปลงและผลการตรวจแปลงเท่าที่จำเป็น ภายในเครือข่ายฯ และคณะกรรมการรับรองระดับจังหวัดที่ขับเคลื่อนมาตรฐานเกษตรกรรมยั่งยืน SDGsPGS เท่านั้น ไม่อนุญาตให้เปิดเผยข้อมูลเป็นสาธารณะและเพื่อการค้าขายข้อมูลโดยเด็ดขาด




    ภาพและวีดีโอประกอบการตรวจประเมินแปลง



    ผลการกลั่นกรองของคณะทำงานกลั่นกรองระดับจังหวัด

    ผ่านการกลั่นกรอง SDGsPGS "อินทรีย์ "
    วันที่ประชุมกลั่นกรอง 23/04/2565


    ผลการรับรองคณะกรรมการรับรองระดับจังหวัด

    ผ่านการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS "อินทรีย์"
    วันที่รับรอง 17/05/2565




    ข้อมูลแผนการผลิตเกษตรอินทรีย์ ประจำปี 2567

    สนใจสินค้าสามารถโทรสั่งซื้อได้ที่ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนปราจีนบุรี
    ประเภทชื่อแปลงวันที่เริ่มปลูกจำนวน(กก.)
    ไม่พบข้อมูลแผนการผลิต